Design+Bill of Material+Shop drawing ด้วยโปรแกรม SketchUp
- 1. ขั้นตอนการใช้โปรแกรม SketchUp และ LayOut ในการสร้างโมเดล ถอดปริมาณวัสดุ และการเขียน Shopdrawing
นำเสนอโดย
บริษัท บ้านสเกตช์อัพ จำกัด
We make the difference
ติดต่อสอบถามข้อมูลงานอบรมในวันที่ 18 และ 19 ธันวาคม 2557
ได้ที่เบอร์ 086-8063998731
Email : joy_oc@hotmail.com
หรือที่เพจ บ้าน Sketchup
- 2. 1) สร้าง Component ของเหล็กกล่องขึ้นมาดังรูป
2) กำหนดชื่อ "เหล็กกล่องขนาด 100x50x3.2 มม.
โดยกำหนดค่า Attribute ที่ต้องการทำ Report ออกมา
คือ " ความยางเหล็ก และพื้นที่ผิวสำหรับการทาสี "
b_Length = ความยาว
c_Area = พื้นที่ผิวสำหรับทาสี
- 3. 3) สร้าง Component ของแผ่นเหล็กขึ้นมา
4) ตั้งชื่อว่า "แผ่นเหล็กขนาด 200x200x40 มม.
โดยในที่นี้เราสนใจแต่ขนาดพื้นที่ของแผน่เหล็กเท่านั้น
- 5. 7) เปิด File HTML และ Copy ทั้งหมดไปวางใน Excel
8) วางข้อมูลทั้งหมดลงใน Excel และจัดการเรียงข้อมูลใหม่
9) ได้แล้วครับปริมาณแผ่นเหล็กหน้า 4 มม. คือ 0.4 ตร.ม.
10) ความยาวของเหล็กกล่องทั้งหมดคือ 33.1 เมตร
และมีพื้นที่ทาสีทั้งหมด 9.93 ตร.ม.
- 6. 11) ใช้โปรแกรม HyperSnap ตัดภาพใน Excel เพื่อทำเป็นภาพ (JPG) ของตาราง Bill of Materials
12) BOM ของแผ่นเหล็ก
13) BOM ของเหล็กกล่อง
- 7. 14) สร้าง Scene ของภาพสองมิติแบบ Parallel Project ของด้านต่างๆ แล้ว Save ไว้ดังภาพ
15) ใช้คำสั่ง Views เพื่อปรับมุมมองในที่นี้คือภาพ ISO, ภาพด้านบน (Top)
ภาพด้านข้าง (SIDE) และภาพด้านหน้า Front
16) ใช้คำสั่ง Styles เพื่อปรับภาพของโมเดลให้คล้ายกับ 2D CAD แบบมาตรฐาน
(ไม่มีสีครับ ว่ากันว่าถ้ามีสีเหมือนจริงมากไป จะไม่เป็นมาตรฐาน)
- 8. 17) คลิ๊กที่ File และไปที่คำสั่ง Send to LayOut เพื่อส่ง Model ไปสร้างแบบสองมิติ
16) เมื่อเข้าโปรแกรม LayOut ให้เลือกขนาดกระดาษ ในที่นี้เลือกกระดาษ A3
การเลือกขนาดกระดาษมีความสำคัญเพราะจะเป็นตัวกำหนดขนาดและ Scale
ของแบบสองมิติที่จะสร้าง (เปลี่ยนขนาดภายหลังจะยุ่งยากมากๆ)
17) เมื่อเลือกเสร็จแล้วให้กด Open
- 9. 18) วาง View port ต่างๆ ลงบนหน้ากระดาษ A3 โดยเลือกตาม Scene ที่สร้างไว้ในโมเดล SketchUp
18 คลิ๊กที่ SketchUp Model เพื่อปรับ Scale
17) เลือก View port ใดๆ 1 อัน
19) เลือก Scale
ที่ต้องการ
20) ปรับ Scale และจัด View port มุมมองด้านต่างๆ ตามความเหมาะสม
- 10. 21) คลิ๊กที่ Dimensions
22) คลิ๊กที่ Auto Scale เพื่อปรับ
Scale แบบ Auto ตาม Viewport
ที่สร้างไว้แล้ว
23) ปรับหน่วยที่ต้องการ
24) ปรับทศนิยม
25) เลือกำหนด Dimension ตามต้องการ ผู้ใช้โปรแกรม
สามารถเปลี่ยนขนาดและชนิดของ Dimension ได้เองโดยไป
แก้ไขที่ " Shape Style"
- 11. 26) คลิ๊กที่ลูกศรแสดงคำอธิบาย (Text tool)
27) ชี้ไปจุดที่ต้องการ
28) คลิ๊กตรงนี้เพื่อเลือกค่าที่จะแสดง (Attribute)
สำหรับโปรแกรม LayOut 2015 ผู้ใช้สามารถเลือกแสดงข้อมูลใดๆ
ก็ได้ตามค่า Attribute ที่สร้างแบบ Dynamic Component
29) เลือก Name เพื่อแสดงชื่อ
30) กดหนดคำอธิบายในส่วนที่เหลือทั้งหมด
- 12. 31) คลิ๊กที่ Scrapbooks
32) เลือกคำอธิบาย
ที่ต้องการ
33) คลิ๊กแล้วลากไปวาง
ในกระดาษได้เลย
34) วางไว้ตรงจุดที่ต้องการ
จากนั้นพิมพค์ำอธิบายและระบุ Scale
35) ทำกับทุก View port จนครบ
- 13. 36) คลิ๊กไปที่ Customize Auto-Text เพื่อทำการแก้ไข AutoText ได้แก่ ชื่อเรอื่ง ชื่อแบบ หมายเลขหน้า
วันที่ ที่อยู่ หรือชื่อลูกค้า เมื่อกำหนดค่า Auto ไว้แล้ว ทุกครั้งที่เราเพิ่มแผ่นกระดาษของแบบเข้าไป
ข้อมูลเหล่านี้จะแก้ไขแบบ Auto ทั้งหมด
37) ทำการแก้ไขข้อมูลแบบที่ต้องการ
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบ Auto
38) เมื่อทำเสร็จข้อมูลที่หัวกระดาษจะ Update แบบ Auto เช่น หมาลเลขหน้าเป็นต้น
- 14. 39) คลิ๊กบวกเพื่อเพมิ่แผน่ใหม่
40) นำ Viewport ใหม่เข้ามาวางพร้อมคำอธิบาย
41) ไปที่ File และ Insert
43) จัดแต่งหน้าให้เรียบร้อยก็
เป็นอันแล้วเสร็จขั้นตอนการเขียนแบบ
42) Insert ภาพของ BOM ที่เตรียมไวแ้ล้วเข้ามา
- 15. 44) กด " Ctrl+P" เพื่อทำการ Print แบบเป็น File PDF ด้วย PDF PRINTER ที่เรามีอยู่
เลือกกระดาษ A3 แล้วกด Print
45) เสร็จขั้นตอนการเขีนยแบบก่อสร้างสองมิติ
- 22. ตัวอย่างผลงานจริงของวิทยากร
วรัญญู สงกรานต์
วศบ. สิ่งแวดล้อม อดีต ผู้จัดการแผนก VIRTUAL DESIGN & CONSTRUCTION
บริษัท พรีเมียร์เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด มีประสบการณ์ออกแบบและปรึกษาโครงการก่อสร้าง
ระบบบำบัดน้ำเสียขนาดใหญ่มากกว่า 10 โครงการมูลค่ามากกว่า 450 ล้านบาท
ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง CEO บริษัท บ้านสเกตช์อัพ จำกัด และเป็น Admin ของกลุ่ม "วิศวกรไทยใช้ Sketchup"
ที่มีสมาชิกมากกว่า 8,000 คน และยังเป็นเจ้าของ Page " บ้าน SketchUp" ที่เผยแพร่ความรู้การใช้
โปรแกรม SketchUp ในงานวิศวกรรมและบริหารงานก่อสร้าง"