ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
๑
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชา
๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา หน่วยวิทยบริการ คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป
๑. รหัสและชื่อรายวิชา
๑๐๓๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
๒. จานวนหน่วยกิต
๓ (๓-๐-๖)
๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ประจาวิชา พระครูประสุตโพธิคุณ ดร.
๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปี ที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕๖๕
ชั้นปีที่ ๓ สาขาวิชาศาสนา
ชั้นปีที่ ๔ สาขาวิชาศาสนา
๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี
๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
๘. สถานที่เรียน
หน่วยวิทยบริการ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วัดห งษ์ประดิษฐาราม จังห วัดสงข ลา ๘๙๕ ตาบลห าด ใหญ่ อาเภอห าดให ญ่
จังหวัดสงขลา ๙๐๑๑๐
๙. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
พ.ศ.๒๕๖๒
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
๒
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นิสิตทราบความเป็นมาเรื่องของศิลปะทางศาสนา ของแต่ละศาสนาที่สาคัญ
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและซาบซึ้งในศิลปะทางศาสนา
รวมทั้งเห็นคุณค่าความงามและปรัชญาธรรมตามศาสนา
ลักษณะโดยเฉพาะที่ปรากฏในพุทธศาสนาและรู้จักที่จะอนุรักษ์พุทธศิลปะให้เป็ นมรด
กไทย มรดกโลก
วัตถุประสงค์
ก. วัตถุประสงค์การเรียนรู้
หลังเรียนจบรายวิชานี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ
๑.
เพื่อเพิ่มเติมเนื้อหาความเป็นมาของศิลปะทางศาสนาของแต่ละศาสนาให้คลอบคลุมยิ่
งขึ้น
๒. อธิบายความหมาย หลักธรรมคาสอนและปรัชญาธรรม คติธรรม
ที่มีอยู่ในแต่ละศาสนา
๓. อธิบายรูปแบบของปัญหาและวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเชิงศิลปะทางศาสนาได้
๔.
มีความและสามารถวิเคราะห์ข้อเปรียบเทียบระหว่างรูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาเชิงศิ
ลปะทางศาสนาได้
๕.
รู้วิธีและเข้าใจการประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยวิถีทางศิลป
ะของศาสนาเพื่อการแก้ไข
ปัญหาสังคมปัจจุบันได้
ข. วัตถุประสงค์เชิงคุณธรรม
๑.
มีความตะหนักถึงแนวคิดและกระบวนการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจโดยผ่านทาง
ศิลปะของแต่ละศาสนา ทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติ
๒. มีความสามารถในการวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยพุทธวิธี
และศิลปะทางศาสนาต่างๆ
๓.
มีความสามารถในการประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาในทางพระพุทธศาสนา
และศิลปะทางศาสนาของแต่ละศาสนา
๒. วัตถุประสงค์ในการการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
๑. กาลังดาเนินการทาสื่อการเรียนการสอนโดย e-learning
๒. เปลี่ยนแปลงเนื้อหาการเรียนการสอนให้เป็นไปตามหลักฐานเชิงประจักษ์
๓
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ
๑. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษ าวิเค ราะห์ ค วาม คิด ค วามเชื่ อ ทัศ นค ติ ค่านิย ม วิถีชี วิต ข อ ง
แต่ละยุคแต่ละสมัยจน ถึงปัจจุบันที่ก่อให้เกิดศิลปะ ปรัชญา คติธรรม คาสอน
ที่มีอยู่ในศิลปะคาสอนของแต่ละศาสนานั้นๆ เพื่อจะได้ปรัชญา คติธรรม คาสอน
ที่ มี อ ยู่ ใน ศิ ล ป ะ ข อ งส า ส น าม าร้อ ย เรี ย งเพื่ อ ก า รอ ยู่ ร่วม กัน โ ด ย สัน ติ
โดยผ่านศิลปะทางศาสนา
๒. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม/การฝึกง
าน
การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย ๔๕
ชั่วโมงต่อภาคการ
ศึกษา
สอนเสริมตามควา
มต้องการของนิสิตเ
ฉพาะราย
ไม่มีการฝึกปฏิบัติง
านภาคสนาม
การศึกษาด้วยตนเอง ๖
ชั่วโมงต่อสัปดาห์
๓.
จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็น
รายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเวปไซด์คณะพุทธศาสตร์
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ๑
ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
ตารางการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum Mapping)
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ
ผิดชอบ
หลัก
ความรับ
ผิดชอบ
รอง
๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีวินัย
และซื่อสัตย์สุจริต

(๒) ตรงต่อเวลา 
(๓) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม O
๔
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความ
สาคัญ
(๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

(๕) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 
๒. ด้านความรู้
(๑)
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อ
หาสาขาวิชาศาสนาต่างๆ

(๒)
สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านศิลปะทาง
ศาสนารวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ
และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม

(๓) สามารถติดตามความก้าวหน้าแนวคิดใหม่ๆทางด้านศาสนา
พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนาไปประยุกต์ใช้
O
(๔) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้
ความชานาญทางด้านศิลปะของศาสนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง

(๕) มีความรู้
ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหา
วิทยาการใหม่ๆทางด้านคาสอนทางศาสนา

(๖)
มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมในทางศาสนาที่เป็นพื้นฐานของชีวิต
ที่ครอบคลุมทั้งวิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
กฎหมายและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

(๗)
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาศาสนากับความรู้ในศาสตร์อื่
น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
O
๓. ด้านทักษะทางปัญญา
(๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 
(๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ
เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์
และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
O
(๔) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสนาได้อย่างเหมาะสม O
๕
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(๑)
สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลาก
หลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(๒)
สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปัญหา
สถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา
หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน

(๓)
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

(๔)มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานใ
นกลุ่ม
O
๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(๑) สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ
ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ

(๒)
สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อ
สารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย

(๓) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง
และการเขียน
พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
O
(๔) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม O
อธิบายสัญลักษณ์  รับผิดชอบหลัก Oรับผิดชอบรอง วิธีที่ใช้
๑. คุณธรรม จริยธรรม
พัฒนานิสิตให้มีคุณธรรม
จริยธรรมในการปฏิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษยชนและหลักการทางระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้
อง เพื่อให้เกิดความเคารพต่อตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม โดยมีคุณธรรม
จริยธรรม ตามคุณสมบัติในรายวิชา ดังนี้
๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิด
ชอบ
หลัก
ความรับผิด
ชอบ
รอง
๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
๖
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
(๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ
มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต

(๒) ตรงต่อเวลา 
(๓) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม
สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลา
ดับความสาคัญ
O
(๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

(๕) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
ขององค์กรและสังคม

๑.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
 (๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน
 (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน
 (๓) เรียนรู้จากกรณีตัวอย่างประเด็นปัญหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหาการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน
 (๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน
 (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน
๑.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
 (๑) ประเมินโดยผู้สอนและเพื่อน สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
 (๒) ประเมินจากผลงานและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
 (๓) ประเมินคุณธรรม
จริยธรรมของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาโดยหน่วยงานผู้ใช้บัณฑิต
๒. ความรู้
พัฒนาความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนและหลักการทางพระพุทธศาสนากับหลักสิทธิมนุษ
ยชน โดยผ่านศิลปะทางศาสนา รวมทั้งสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในระดับต่างๆ
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ
ผิดชอบ
หลัก
ความรับ
ผิดชอบ
รอง
๒.๑ ความรู้ที่ต้องได้รับ
(๑)
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้
อหาสาขาวิชาศาสนาต่างๆ

(๒)
สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านคัมภีร์ทา
งศาสนารวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ

๗
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม
(๓) สามารถติดตามความก้าวหน้าแนวคิดใหม่ๆทางด้านศาสนา
พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนาไปประยุกต์ใช้
O
(๔) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้
ความชานาญทางด้านศิลปะของศาสนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง

(๕) มีความรู้
ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวง
หาวิทยาการใหม่ๆทางด้านคาสอนทางศาสนา

(๖)
มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมในทางศาสนาที่เป็นพื้นฐานของชีวิ
ตที่ครอบคลุมทั้งวิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
กฎหมายและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

(๗)
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาศาสนากับความรู้ในศาสตร์
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
O
๒.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
 (๑) สอนแบบบรรยายโดยใช้ภาพประกอบ
 (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา
 (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ
 (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ
(๕) ศึกษาดูงาน
๒.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
 (๑) การทดสอบย่อย
 (๒) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
 (๓) ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
 (๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน
๓. ทักษะทางปัญญา
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิดชอ
บ
หลัก
ความรับผิดชอ
บ
รอง
๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
(๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 
(๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ
เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์

(๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ O
๘
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
(๔)
สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสนาได้อย่างเหมาะ
สม
O
๓.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
 (๑) เรียนรู้กรณีศึกษาและร่วมกันอภิปรายกลุ่ม
 (๒) รายวิชาปฏิบัติ ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้
 (๓) มีการศึกษาค้นคว้าในรูปรายงาน โครงงาน และนาเสนอ
 (๔) ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากสภาพจริงเพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง
๓.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
 (๑) การทดสอบย่อย
 (๒) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
 (๓) ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย
 (๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน
๔.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิ
ดชอบ
หลัก
ความรับผิ
ดชอบ
รอง
๔.๑
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพั
ฒนา
(๑)
สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนห
ลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(๒)
สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปั
ญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา
หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน

(๓)
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

(๔)มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงา
นในกลุ่ม
O
๔.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ

(๑)
๙
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ความรับผิดชอบและการเป็ นส
มาชิกที่ดีของกลุ่ม

(๒) กลยุทธ์การสอนที่เน้นการสร้างความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน

(๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์
การจัดการอารมณ์ การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลอื่น
๔.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
 (๑) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของผู้เรียนระหว่างการเรียนการสอน
และการทางานร่วมกับเพื่อน
 (๒) ประเมินจากผลงานของผู้เรียนที่นาเสนอตามที่ได้รับมอบหมาย
๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ
ผิดชอบ
หลัก
ความรับ
ผิดชอบ
รอง
๕.๑ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
(๑) สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ
ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ

(๒)
สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อ
สารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย

(๓) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง
และการเขียน
พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม
O
(๔) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม O
หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล
๑. แผนการสอน
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
๑ แนะนารายวิชา
และวัดผลกิจกรรมการเรียน
การสอน บทนาที่ ๑
- ความหมายของศิลปะทางศาสนา
- องค์ประกอบของศิลปะ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๐
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
-
ขอบเขตของการศึกษาศิลปะทางศาส
นา
- คุณค่าของศิลปะทางศาสนา
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
๒ บทที่ ๒ ศิลปะ กับศาสนา
- มนุษย์กับศาสนา
-
พุทธศิลปะกับการรับใช้พระพุทธศาส
นา
- กาเนิดพุทธศิลป
์ ในพระพุทธศาสนา
-
จุดมุ่งหมายในการสร้างงานพุทธศิลป
์
- หลักธรรมที่มีอิทธิพลต่อการ
สร้างงานพุทธศิลป
์
-
ศิลปะศาสตร์ในการสร้างพระพุทธรูป
- ความสาคัญในการเป็ นสิ่งโอบอุ้ม
งานพุทธศิลป
์
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๓ บทที่ ๓ ศิลปะกับศาสนา
- คริสตศิลปะกับการรับใช้
คริสต์ศาสนา
- กาเนิดคริสตศิลป
์ ในคริสต์ศาสนา
- จุดมุ่งหมายในการสร้างคริสต์ศิลปะ
- ศิลปะศาสตร์ในการสร้างรูปเคารพ
-
ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มงาน
คริสต์ศิลปะ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๔ บทที่ ๔ ศิลปะกับศาสนา
- ศิลปะอิสลามกับการรับใช้ ศาสนา
- กาเนิดศิลปะในศาสนาอิสลาม
-
จุดมุ่งหมายในการสร้างศิลปะทางศา
สนา
-
ศิลปะศาสตร์ในการสร้างศิลปะทางศ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๑
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
าสนาอิสลาม
-
ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มอิสล
ามศิลปะ
๕ บทที่ ๕ ศิลปะกับศาสนา
- พราหมณ์ฮินดู
ศิลปะกับการรับใช้ศาสนา
- กาเนิดศิลปะในศาสนาพราหมณ์-
ฮินดู
-
จุดมุ่งหมายในการสร้างงานศิลปะใน
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
- ศิลปะศาสตร์ในการสร้างรูปเคารพ
-
ความสาคัญของศิลปะทางศาสนาในก
ารเป็นสิ่งโอบอุ้มงานศิลป
์
บทที่ ๖ ศิลปะกับศาสนา
-
ศิลปะทางศาสนาของศาสนาซิกซ์กับ
การรับใช้ ศาสนา
- กาเนิดศิลปะในศาสนาซิกซ์
-
จุดมุ่งหมายในการสร้างศิลปะในศาส
นาซิกซ์
-
ศิลปะศาสตร์ในการสร้างศิลปะทางศ
าสนา
-
ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มศิล
ปะทางศาสนา
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๖ บทที่ ๗
-
วิวัฒนาการของศิลปะในอินเดียของ
พระพุทธศาสนา
- มูลเหตุแห่งพุทธเจดีย์ ๔ ประเภท
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๒
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
- พุทธศิลปะอินเดียในสมัยต่างๆ
- สกุลช่างศิลปะเมารยะ
- สกุลช่างศิลปะกันธาราษฎร์
- สกุลช่างศิลปะมกุรา
- สกุลช่างศิลปะคุปตะ
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
๗ สอบกลางภาค ๓ พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๘ บทที่ ๘
- วิวัฒนาการของพุทธศิลปะในไทย
- พุทธศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
- พุทธศิลปะสมัยสุโขทัย
- พุทธศิลปะสมัยอยุธยา
- พุทธศิลปะสมัยธนบุรี
- พุทธศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๙ บทที่๙
-
วิวัฒนาการของศิลปะของคริสตศาส
นาตั้งแต่อิสราเอล-ปาเลสไตน์
-
มูลเหตุของการเกิดศิลปะทางคริสต์ศ
าสนา
-
ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางคริสต์ศา
สนา
- ศิลปะทางศาสนาคริสตร์มีคติมาจาก
-
ศิลปะของศาสนาคริสต์เข้ามาอยู่ในสั
งคมไทยรูปแบบต่างๆ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๐ บทที่๑๐
-
วิวัฒนาการของศิลปะของศาสนาพรา
หมณ์-ฮินดู ตั้งแต่อินเดีย
จนถึงประเทศไทย
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๓
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
-
มูลเหตุของการเกิดศิลปะของศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
- ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนา
- ศิลปะทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
มีคติมาจาก
- ศิลปะของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ในรูปแบบต่างๆ
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
๑๑ บทที่ ๑๑
-
วิวัฒนาการศิลปะของศาสนาอิสลาม
ตั้งแต่ซาอุดิอารเบียถึงประเทศไทย
-
มูลเหตุแห่งศิลปะที่อยู่ในรูปแบบของ
ศาสนาอิสลาม
-
ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนาอิ
สลาม
-
ศิลปะที่มีอยู่ในศาสนาอิสลามมีคติมา
จาก
-
ศิลปะของศาสนาอิสลามเข้ามาอยู่ใน
สังคมไทยในรูปแบบต่างๆ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๒ บทที่๑๒
-
วิวัฒนาการศิลปะของศาสนาซิกซ์ตั้ง
แต่ประเทศอินเดียถึงประเทศไทย
-
มูลเหตุแห่งศิลปะที่อยู่ในรูปแบบของ
ศาสนาซิกซ์
-
ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนาซิ
กซ์
-
ศิลปะที่มีอยู่ในศาสนาซิกซ์ในรูปแบบ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๔
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
สัปด
าห์ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้
(ถ้ามี)
ผู้สอน
ต่างๆมาจากคติใดบ้าง
-
ศิลปะของศาสนาซิกซ์ที่มีอยู่ในสังคม
ไทยในรูปแบบต่างๆ
๑๓ บทที่ ๑๓
-
จุดยืนทางปรัชญาในการสร้างศิลปะท
างศาสนาสาคัญของโลก
- คติธรรม ความเชื่อ เทวนิยม
อเทวนิยม
- คติจากพระเจ้า คาสอน พิธีกรรม
- โลกหลังความตาย จิตวิญญาณ
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๔ บทที่ ๑๔
-
ศิลปะกับการสร้างจิตสานึกในการศึก
ษาและอนุรักษ์
-
สาเหตุที่ทาให้ศิลปะทางศาสนาชารุดเ
สื่อมโทรมหรือสูญหาย
-
ความสาคัญของการอนุรักษ์ศิลปะทา
งศาสนา
๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๕ สรุปเนื้อหา ๓ บรรยายโดยใช้
Powerpoint/
ยกตัวอย่างประกอ
บ
อภิปรายกลุ่มจากก
รณีศึกษา
ซักถามประเด็นสง
สัยในการบรรยาย
พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๑๖ สอบปลายภาค ๓ นิสิตสอบ พระครูประ
สุตโพธิคุณ
ดร.
๒ แผนการประเมินผลการเรียนรู้
๑๕
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
ที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประ
เมิน
สัดส่วนของการประเมินผล
๑
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
๘
๑๖
๒๐%
๕๐%
๒
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า
การนาเสนอรายงาน
การทางานกลุ่มและผลงาน
การอ่านและสรุปบทความ
การส่งงานตามที่มอบหมาย
ตลอดภาคกา
รศึกษา
๒๐%
๓
การเข้าชั้นเรียน
การมีส่วนร่วม อภิปราย
เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน
ตลอดภาคกา
รศึกษา
๑๐%
หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
๑. เอกสารและตาราหลัก
๑.เอกสารและตาราหลัก
จารุวรรณ พึ่งเทียร, พุทธศิลป
์ ,กรุงเทพ : มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕
ส ม เกี ย ร ติ โล่เพ ช ร รัต น์ , พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ศิ ล ป ะ ส มั ย อ ยุ ธ ย า :
ประวัติศาสตร์ชนชาติไทย กับ ปฏิมากรรมในพ ระพุทธศาสนา , กรุงเทพ ฯ,
อมรินทร์พริ้นติ้ง พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๘
๒.เอกสารและข้อมูลสาคัญ
กีรติ บุญเจือ. (2522). ชุดปัญหาปรัชญา ปรัชญาศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา
พานิช จากัด.
อารี สุทธิพันธุ์ .(2 5 3 5 ). ศิล ป ะ นิ ย ม . (พิ มพ์ ค รั้งที่ 4 ). กรุงเทพ ฯ :
สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ศรีศักร วัลลิโภดม.(2560). พุทธศาสนาและความเชื่อในสังคมไทย. กรุงเทพฯ :
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยพันธุ์.
Adams, D., and Apostolos-Cappadona, D. (2 0 0 2 ) . Art as
religious studies.
Eugene: Ore.
Laeuchli, S. (1980). Religion and Art in Conflict : Introduction to a
Cross- Disciplinary Task. Philadelphia: Fortress.
Mazur, E. M. (2002). Art and the Religious Impulse. Lewisburg:
Bucknell University Press.
Pilgrim,Richard B. (1998). Buddhism and the Arts of Japan. New
York:
Columbia University Press.
๑๖
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การป ระเมิน ป ระสิท ธิผ ลใน ราย วิช านี้ ที่ จัด ทาโด ย นัก ศึก ษ า
ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
-
ประเมินจากความสามารถในการนาเสนอต่อชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ป ร ะ เ มิ น จ า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ก า ร อ ธิ บ า ย
การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ
- ประเมินจากผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้สอนมอบหมาย
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รา
ยวิชา (Curriculum Mapping)
๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
๓. การปรับปรุงการสอน
ห ลังจากผ ลการประเมิน การสอน ในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน
โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ
ต าม ที่ ค าด ห วัง จาก ก าร เรี ย น รู้ใน วิช า ได้จ าก ก าร ส อ บ ถ าม นั ก ศึก ษ า
หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย
และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์
อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่
ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
๕. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จา กผ ล กา รป ร ะเมิน แล ะท วน ส อบ ผ ลสัม ฤ ทธิ์ป ระสิท ธิผ ล รา ย วิช า
ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น
ดังนี้
- ป รั บ ป รุ ง ร า ย วิ ช า ทุ ก ๓ ปี
หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
๑๗
มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา
- เ ป ลี่ ย น ห รื อ ส ลั บ อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น
เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัย
ของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆในอนาคต
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา:
ลงชื่อ พระครูประสุตโพธิคุณ ดร. วันที่รายงาน
ประธานหลักสูตร สาขาวิชาศาสนา:
ลงชื่อ วันที่รายงาน

More Related Content

มคอ๓ ศิลปะทางศาสนา.doc

  • 1. ๑ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา หน่วยวิทยบริการ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา ๑๐๓๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ๒. จานวนหน่วยกิต ๓ (๓-๐-๖) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ประจาวิชา พระครูประสุตโพธิคุณ ดร. ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปี ที่เรียน ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕๖๕ ชั้นปีที่ ๓ สาขาวิชาศาสนา ชั้นปีที่ ๔ สาขาวิชาศาสนา ๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี ๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี ๘. สถานที่เรียน หน่วยวิทยบริการ คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดห งษ์ประดิษฐาราม จังห วัดสงข ลา ๘๙๕ ตาบลห าด ใหญ่ อาเภอห าดให ญ่ จังหวัดสงขลา ๙๐๑๑๐ ๙. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด พ.ศ.๒๕๖๒ หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
  • 2. ๒ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นิสิตทราบความเป็นมาเรื่องของศิลปะทางศาสนา ของแต่ละศาสนาที่สาคัญ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและซาบซึ้งในศิลปะทางศาสนา รวมทั้งเห็นคุณค่าความงามและปรัชญาธรรมตามศาสนา ลักษณะโดยเฉพาะที่ปรากฏในพุทธศาสนาและรู้จักที่จะอนุรักษ์พุทธศิลปะให้เป็ นมรด กไทย มรดกโลก วัตถุประสงค์ ก. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ หลังเรียนจบรายวิชานี้แล้ว ผู้เรียนสามารถ ๑. เพื่อเพิ่มเติมเนื้อหาความเป็นมาของศิลปะทางศาสนาของแต่ละศาสนาให้คลอบคลุมยิ่ งขึ้น ๒. อธิบายความหมาย หลักธรรมคาสอนและปรัชญาธรรม คติธรรม ที่มีอยู่ในแต่ละศาสนา ๓. อธิบายรูปแบบของปัญหาและวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเชิงศิลปะทางศาสนาได้ ๔. มีความและสามารถวิเคราะห์ข้อเปรียบเทียบระหว่างรูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาเชิงศิ ลปะทางศาสนาได้ ๕. รู้วิธีและเข้าใจการประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยวิถีทางศิลป ะของศาสนาเพื่อการแก้ไข ปัญหาสังคมปัจจุบันได้ ข. วัตถุประสงค์เชิงคุณธรรม ๑. มีความตะหนักถึงแนวคิดและกระบวนการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจโดยผ่านทาง ศิลปะของแต่ละศาสนา ทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติ ๒. มีความสามารถในการวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยพุทธวิธี และศิลปะทางศาสนาต่างๆ ๓. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้รูปแบบและวิธีแก้ไขปัญหาในทางพระพุทธศาสนา และศิลปะทางศาสนาของแต่ละศาสนา ๒. วัตถุประสงค์ในการการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา ๑. กาลังดาเนินการทาสื่อการเรียนการสอนโดย e-learning ๒. เปลี่ยนแปลงเนื้อหาการเรียนการสอนให้เป็นไปตามหลักฐานเชิงประจักษ์
  • 3. ๓ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ ๑. คาอธิบายรายวิชา ศึกษ าวิเค ราะห์ ค วาม คิด ค วามเชื่ อ ทัศ นค ติ ค่านิย ม วิถีชี วิต ข อ ง แต่ละยุคแต่ละสมัยจน ถึงปัจจุบันที่ก่อให้เกิดศิลปะ ปรัชญา คติธรรม คาสอน ที่มีอยู่ในศิลปะคาสอนของแต่ละศาสนานั้นๆ เพื่อจะได้ปรัชญา คติธรรม คาสอน ที่ มี อ ยู่ ใน ศิ ล ป ะ ข อ งส า ส น าม าร้อ ย เรี ย งเพื่ อ ก า รอ ยู่ ร่วม กัน โ ด ย สัน ติ โดยผ่านศิลปะทางศาสนา ๒. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกง าน การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการ ศึกษา สอนเสริมตามควา มต้องการของนิสิตเ ฉพาะราย ไม่มีการฝึกปฏิบัติง านภาคสนาม การศึกษาด้วยตนเอง ๖ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ๓. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็น รายบุคคล - อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเวปไซด์คณะพุทธศาสตร์ - อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา ตารางการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ ผิดชอบ หลัก ความรับ ผิดชอบ รอง ๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม (๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต  (๒) ตรงต่อเวลา  (๓) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม O
  • 4. ๔ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความ สาคัญ (๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  (๕) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  ๒. ด้านความรู้ (๑) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อ หาสาขาวิชาศาสนาต่างๆ  (๒) สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านศิลปะทาง ศาสนารวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม  (๓) สามารถติดตามความก้าวหน้าแนวคิดใหม่ๆทางด้านศาสนา พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนาไปประยุกต์ใช้ O (๔) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชานาญทางด้านศิลปะของศาสนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง  (๕) มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหา วิทยาการใหม่ๆทางด้านคาสอนทางศาสนา  (๖) มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมในทางศาสนาที่เป็นพื้นฐานของชีวิต ที่ครอบคลุมทั้งวิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ กฎหมายและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย  (๗) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาศาสนากับความรู้ในศาสตร์อื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง O ๓. ด้านทักษะทางปัญญา (๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ  (๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์  (๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ O (๔) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสนาได้อย่างเหมาะสม O
  • 5. ๕ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (๑) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลาก หลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ  (๒) สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปัญหา สถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน  (๓) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  (๔)มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานใ นกลุ่ม O ๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (๑) สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ  (๒) สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อ สารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย  (๓) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง และการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม O (๔) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม O อธิบายสัญลักษณ์  รับผิดชอบหลัก Oรับผิดชอบรอง วิธีที่ใช้ ๑. คุณธรรม จริยธรรม พัฒนานิสิตให้มีคุณธรรม จริยธรรมในการปฏิบัติตนตามหลักสิทธิมนุษยชนและหลักการทางระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้เกิดความเคารพต่อตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม โดยมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณสมบัติในรายวิชา ดังนี้ ๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิด ชอบ หลัก ความรับผิด ชอบ รอง ๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
  • 6. ๖ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา (๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต  (๒) ตรงต่อเวลา  (๓) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลา ดับความสาคัญ O (๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  (๕) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  ๑.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม  (๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน  (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน  (๓) เรียนรู้จากกรณีตัวอย่างประเด็นปัญหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้ผู้เรียนฝึกการแก้ปัญหาการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน  (๑) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอน  (๒) การเป็นต้นแบบที่ดีของผู้สอน ๑.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม  (๑) ประเมินโดยผู้สอนและเพื่อน สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน  (๒) ประเมินจากผลงานและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย  (๓) ประเมินคุณธรรม จริยธรรมของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาโดยหน่วยงานผู้ใช้บัณฑิต ๒. ความรู้ พัฒนาความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนและหลักการทางพระพุทธศาสนากับหลักสิทธิมนุษ ยชน โดยผ่านศิลปะทางศาสนา รวมทั้งสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในระดับต่างๆ ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ ผิดชอบ หลัก ความรับ ผิดชอบ รอง ๒.๑ ความรู้ที่ต้องได้รับ (๑) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้ อหาสาขาวิชาศาสนาต่างๆ  (๒) สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางสังคมโดยใช้แนวคิดทางด้านคัมภีร์ทา งศาสนารวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ 
  • 7. ๗ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาในสังคม (๓) สามารถติดตามความก้าวหน้าแนวคิดใหม่ๆทางด้านศาสนา พร้อมทั้งเข้าใจวิธีการนาไปประยุกต์ใช้ O (๔) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชานาญทางด้านศิลปะของศาสนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง  (๕) มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวง หาวิทยาการใหม่ๆทางด้านคาสอนทางศาสนา  (๖) มีความรู้ความเข้าใจหลักธรรมในทางศาสนาที่เป็นพื้นฐานของชีวิ ตที่ครอบคลุมทั้งวิทยาศาสตร์มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ กฎหมายและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย  (๗) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาศาสนากับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง O ๒.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้  (๑) สอนแบบบรรยายโดยใช้ภาพประกอบ  (๒) สอนโดยใช้กรณีศึกษา  (๓) เรียนรู้โดยการปฏิบัติ  (๔) เรียนรู้แบบร่วมมือ (๕) ศึกษาดูงาน ๒.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้  (๑) การทดสอบย่อย  (๒) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน  (๓) ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย  (๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน ๓. ทักษะทางปัญญา ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิดชอ บ หลัก ความรับผิดชอ บ รอง ๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (๑) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ  (๒) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์  (๓) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ O
  • 8. ๘ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ (๔) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางศาสนาได้อย่างเหมาะ สม O ๓.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา  (๑) เรียนรู้กรณีศึกษาและร่วมกันอภิปรายกลุ่ม  (๒) รายวิชาปฏิบัติ ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้  (๓) มีการศึกษาค้นคว้าในรูปรายงาน โครงงาน และนาเสนอ  (๔) ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากสภาพจริงเพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง ๓.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา  (๑) การทดสอบย่อย  (๒) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน  (๓) ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย  (๔) ประเมินจากการนาเสนอผลงาน ๔.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับผิ ดชอบ หลัก ความรับผิ ดชอบ รอง ๔.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพั ฒนา (๑) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนห ลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ  (๒) สามารถให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการแก้ปั ญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทางาน  (๓) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  (๔)มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงา นในกลุ่ม O ๔.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ  (๑)
  • 9. ๙ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ความรับผิดชอบและการเป็ นส มาชิกที่ดีของกลุ่ม  (๒) กลยุทธ์การสอนที่เน้นการสร้างความสัมพันธ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้สอน  (๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ การจัดการอารมณ์ การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลอื่น ๔.๓ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ  (๑) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของผู้เรียนระหว่างการเรียนการสอน และการทางานร่วมกับเพื่อน  (๒) ประเมินจากผลงานของผู้เรียนที่นาเสนอตามที่ได้รับมอบหมาย ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ Curriculum Mapping ทั้ง ๕ ด้าน ความรับ ผิดชอบ หลัก ความรับ ผิดชอบ รอง ๕.๑ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (๑) สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ  (๒) สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารที่มีคุณภาพและเหมาะสมต่อการสื่อ สารทั้งกับบุคคลและกลุ่มคนในสถานการณ์ที่หลากหลาย  (๓) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง และการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม O (๔) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม O หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๑. แผนการสอน สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน ๑ แนะนารายวิชา และวัดผลกิจกรรมการเรียน การสอน บทนาที่ ๑ - ความหมายของศิลปะทางศาสนา - องค์ประกอบของศิลปะ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 10. ๑๐ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน - ขอบเขตของการศึกษาศิลปะทางศาส นา - คุณค่าของศิลปะทางศาสนา รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย ๒ บทที่ ๒ ศิลปะ กับศาสนา - มนุษย์กับศาสนา - พุทธศิลปะกับการรับใช้พระพุทธศาส นา - กาเนิดพุทธศิลป ์ ในพระพุทธศาสนา - จุดมุ่งหมายในการสร้างงานพุทธศิลป ์ - หลักธรรมที่มีอิทธิพลต่อการ สร้างงานพุทธศิลป ์ - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างพระพุทธรูป - ความสาคัญในการเป็ นสิ่งโอบอุ้ม งานพุทธศิลป ์ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๓ บทที่ ๓ ศิลปะกับศาสนา - คริสตศิลปะกับการรับใช้ คริสต์ศาสนา - กาเนิดคริสตศิลป ์ ในคริสต์ศาสนา - จุดมุ่งหมายในการสร้างคริสต์ศิลปะ - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างรูปเคารพ - ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มงาน คริสต์ศิลปะ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๔ บทที่ ๔ ศิลปะกับศาสนา - ศิลปะอิสลามกับการรับใช้ ศาสนา - กาเนิดศิลปะในศาสนาอิสลาม - จุดมุ่งหมายในการสร้างศิลปะทางศา สนา - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างศิลปะทางศ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 11. ๑๑ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน าสนาอิสลาม - ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มอิสล ามศิลปะ ๕ บทที่ ๕ ศิลปะกับศาสนา - พราหมณ์ฮินดู ศิลปะกับการรับใช้ศาสนา - กาเนิดศิลปะในศาสนาพราหมณ์- ฮินดู - จุดมุ่งหมายในการสร้างงานศิลปะใน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างรูปเคารพ - ความสาคัญของศิลปะทางศาสนาในก ารเป็นสิ่งโอบอุ้มงานศิลป ์ บทที่ ๖ ศิลปะกับศาสนา - ศิลปะทางศาสนาของศาสนาซิกซ์กับ การรับใช้ ศาสนา - กาเนิดศิลปะในศาสนาซิกซ์ - จุดมุ่งหมายในการสร้างศิลปะในศาส นาซิกซ์ - ศิลปะศาสตร์ในการสร้างศิลปะทางศ าสนา - ความสาคัญในการเป็นสิ่งโอบอุ้มศิล ปะทางศาสนา ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๖ บทที่ ๗ - วิวัฒนาการของศิลปะในอินเดียของ พระพุทธศาสนา - มูลเหตุแห่งพุทธเจดีย์ ๔ ประเภท ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 12. ๑๒ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน - พุทธศิลปะอินเดียในสมัยต่างๆ - สกุลช่างศิลปะเมารยะ - สกุลช่างศิลปะกันธาราษฎร์ - สกุลช่างศิลปะมกุรา - สกุลช่างศิลปะคุปตะ รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย ๗ สอบกลางภาค ๓ พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๘ บทที่ ๘ - วิวัฒนาการของพุทธศิลปะในไทย - พุทธศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ - พุทธศิลปะสมัยสุโขทัย - พุทธศิลปะสมัยอยุธยา - พุทธศิลปะสมัยธนบุรี - พุทธศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๙ บทที่๙ - วิวัฒนาการของศิลปะของคริสตศาส นาตั้งแต่อิสราเอล-ปาเลสไตน์ - มูลเหตุของการเกิดศิลปะทางคริสต์ศ าสนา - ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางคริสต์ศา สนา - ศิลปะทางศาสนาคริสตร์มีคติมาจาก - ศิลปะของศาสนาคริสต์เข้ามาอยู่ในสั งคมไทยรูปแบบต่างๆ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๐ บทที่๑๐ - วิวัฒนาการของศิลปะของศาสนาพรา หมณ์-ฮินดู ตั้งแต่อินเดีย จนถึงประเทศไทย ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 13. ๑๓ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน - มูลเหตุของการเกิดศิลปะของศาสนา พราหมณ์-ฮินดู - ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนา - ศิลปะทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีคติมาจาก - ศิลปะของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ในรูปแบบต่างๆ รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย ๑๑ บทที่ ๑๑ - วิวัฒนาการศิลปะของศาสนาอิสลาม ตั้งแต่ซาอุดิอารเบียถึงประเทศไทย - มูลเหตุแห่งศิลปะที่อยู่ในรูปแบบของ ศาสนาอิสลาม - ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนาอิ สลาม - ศิลปะที่มีอยู่ในศาสนาอิสลามมีคติมา จาก - ศิลปะของศาสนาอิสลามเข้ามาอยู่ใน สังคมไทยในรูปแบบต่างๆ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๒ บทที่๑๒ - วิวัฒนาการศิลปะของศาสนาซิกซ์ตั้ง แต่ประเทศอินเดียถึงประเทศไทย - มูลเหตุแห่งศิลปะที่อยู่ในรูปแบบของ ศาสนาซิกซ์ - ปัจจัยของการเกิดศิลปะทางศาสนาซิ กซ์ - ศิลปะที่มีอยู่ในศาสนาซิกซ์ในรูปแบบ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร.
  • 14. ๑๔ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา สัปด าห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน ต่างๆมาจากคติใดบ้าง - ศิลปะของศาสนาซิกซ์ที่มีอยู่ในสังคม ไทยในรูปแบบต่างๆ ๑๓ บทที่ ๑๓ - จุดยืนทางปรัชญาในการสร้างศิลปะท างศาสนาสาคัญของโลก - คติธรรม ความเชื่อ เทวนิยม อเทวนิยม - คติจากพระเจ้า คาสอน พิธีกรรม - โลกหลังความตาย จิตวิญญาณ ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๔ บทที่ ๑๔ - ศิลปะกับการสร้างจิตสานึกในการศึก ษาและอนุรักษ์ - สาเหตุที่ทาให้ศิลปะทางศาสนาชารุดเ สื่อมโทรมหรือสูญหาย - ความสาคัญของการอนุรักษ์ศิลปะทา งศาสนา ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๕ สรุปเนื้อหา ๓ บรรยายโดยใช้ Powerpoint/ ยกตัวอย่างประกอ บ อภิปรายกลุ่มจากก รณีศึกษา ซักถามประเด็นสง สัยในการบรรยาย พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๑๖ สอบปลายภาค ๓ นิสิตสอบ พระครูประ สุตโพธิคุณ ดร. ๒ แผนการประเมินผลการเรียนรู้
  • 15. ๑๕ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา ที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประ เมิน สัดส่วนของการประเมินผล ๑ สอบกลางภาค สอบปลายภาค ๘ ๑๖ ๒๐% ๕๐% ๒ วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนาเสนอรายงาน การทางานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคกา รศึกษา ๒๐% ๓ การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคกา รศึกษา ๑๐% หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. เอกสารและตาราหลัก ๑.เอกสารและตาราหลัก จารุวรรณ พึ่งเทียร, พุทธศิลป ์ ,กรุงเทพ : มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕ ส ม เกี ย ร ติ โล่เพ ช ร รัต น์ , พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ศิ ล ป ะ ส มั ย อ ยุ ธ ย า : ประวัติศาสตร์ชนชาติไทย กับ ปฏิมากรรมในพ ระพุทธศาสนา , กรุงเทพ ฯ, อมรินทร์พริ้นติ้ง พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๘ ๒.เอกสารและข้อมูลสาคัญ กีรติ บุญเจือ. (2522). ชุดปัญหาปรัชญา ปรัชญาศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช จากัด. อารี สุทธิพันธุ์ .(2 5 3 5 ). ศิล ป ะ นิ ย ม . (พิ มพ์ ค รั้งที่ 4 ). กรุงเทพ ฯ : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. ศรีศักร วัลลิโภดม.(2560). พุทธศาสนาและความเชื่อในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยพันธุ์. Adams, D., and Apostolos-Cappadona, D. (2 0 0 2 ) . Art as religious studies. Eugene: Ore. Laeuchli, S. (1980). Religion and Art in Conflict : Introduction to a Cross- Disciplinary Task. Philadelphia: Fortress. Mazur, E. M. (2002). Art and the Religious Impulse. Lewisburg: Bucknell University Press. Pilgrim,Richard B. (1998). Buddhism and the Arts of Japan. New York: Columbia University Press.
  • 16. ๑๖ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา ๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การป ระเมิน ป ระสิท ธิผ ลใน ราย วิช านี้ ที่ จัด ทาโด ย นัก ศึก ษ า ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ - ประเมินจากความสามารถในการนาเสนอต่อชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ป ร ะ เ มิ น จ า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ก า ร อ ธิ บ า ย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ - ประเมินจากผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้สอนมอบหมาย - แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รา ยวิชา (Curriculum Mapping) ๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ๓. การปรับปรุงการสอน ห ลังจากผ ลการประเมิน การสอน ในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ต าม ที่ ค าด ห วัง จาก ก าร เรี ย น รู้ใน วิช า ได้จ าก ก าร ส อ บ ถ าม นั ก ศึก ษ า หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม ๕. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จา กผ ล กา รป ร ะเมิน แล ะท วน ส อบ ผ ลสัม ฤ ทธิ์ป ระสิท ธิผ ล รา ย วิช า ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ป รั บ ป รุ ง ร า ย วิ ช า ทุ ก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
  • 17. ๑๗ มคอ .๓ วิชา ๑๐๓ ๓๑๒ ศิลปะทางศาสนา - เ ป ลี่ ย น ห รื อ ส ลั บ อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัย ของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆในอนาคต ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา: ลงชื่อ พระครูประสุตโพธิคุณ ดร. วันที่รายงาน ประธานหลักสูตร สาขาวิชาศาสนา: ลงชื่อ วันที่รายงาน