ݺߣ
Submit Search
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
•
Download as PPTX, PDF
•
2 likes
•
11,774 views
Chinnawat Charoennit
Follow
หลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Read less
Read more
1 of 21
Download now
Downloaded 137 times
More Related Content
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
1.
Earth System Science
2.
ทำไมเรำต้องศึกษำวิทยำศำสตร์โลกทั้งระบบ ? วิทยำศำสตร์โลกทั้งระบบคืออะไร ? องค์ประกอบต่างๆ
ในธรรมชาติล้วนมีความสัมพันธ์กัน เพื่อให้เข้าใจถึง รูปแบบความสัมพันธ์ ปรากฏการณ์ รวมทั้งแนวโน้มต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ไม่ว่า จะเป็นชีวิตและความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตในโลก เราจึงต้องเรียนรู้ เกี่ยวกับสิ่ง เหล่านี้ดังนั้นการเรียนรู้ดังกล่าว เราเรียกว่า “การศึกษาวิทยาศาสตร์โลกทั้ง ระบบ”
3.
Behavior of Human DisadvantageAdvantage
4.
Behavior of Human มนุษย์มีส่วนสาคัญในการทาให้ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป
ทั้งใน ด้านบวก และลบ ในการศึกษาของเราจะทาให้ทราบว่า สิ่งใดควรทา สิ่งใด ไม่ควรทา เพื่อรักษาสภาพสมดุลและหลีกเลี่ยงผลกระทบในทางลบที่ อาจจะตามมาภายหลัง
5.
ขอบเขตของระบบ ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ เราจะต้อง กาหนดของเขตของสิ่งที่เราสนใจและต้องการศึกษาก่อน วิธีการที่แสดงถึง รูปแบบความสัมพันธ์ได้ง่ายและชัดเจนที่สุด
คือ การสร้างแผนภาพความสัมพันธ์
7.
เมื่อธรรมชำติเกิดกำรเปลี่ยนแปลง และเสียสมดุล องค์ประกอบในธรรมชาติล้วนมีความสัมพันธ์กัน เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง จะก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงและมีผลกระทบต่อองค์ประกอบอื่นๆ หาก เป็นการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยธรรมชาติก็สามารถปรับตัว กลับสู่สภาพสมดุลอีกครั้ง
แต่หากเป็นการเปลี่ยนแปลง ที่มากเกินความสามารถในการรองรับธรรมชาติ ก็อาจจะ ทาให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ที่รุนแรงได้
8.
ตัวอย่างการเสียสมดุล
9.
ยกตัวอย่ำงกำรเปลี่ยนแปลงและ กำรเสียสมดุลของธรรมชำติ
10.
กำรชะล้ำงพังทลำยของดิน - รากของดินจะช่วยยึดหน้า ดินและชะลอน้าที่ไหลผ่าน หน้าดิน ดังนั้นหากมีการตัด ไม้ไปใช้ประโยชน์มากเกิน พอดี
เมื่อฝนตกลงมาจะทา ให้หน้าดินถูกน้าฝนชะล้าง ออกไป
12.
ปัญหำดินเค็ม - พื้น ที่
ส่ว น ใ ห ญ่ ใ น ภ า ค อี ส า น (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จะมีชั้นหิน เกลืออยู่ใต้ดิน แต่เดิมพื้นที่ดังกล่าวมี ป่าไม้ปกคลุม ทาให้ปัญหาดินเค็มไม่ ปรากฏออกมาชัดเจนนัก แต่เมื่อมี การถางป่าบ่อยๆ ขึ้น ดินจึงเสียความ ชุ่มชื้น จึงต้องดึงน้าจากใต้ดินขึ้นมา โดยน้าจะดึงเอาเกลือขึ้นมาด้วย เมื่อ น้าชั้นบนระเหยไป จึงเหลือเพียง คราบเกลือที่อยู่บนพื้นดิน
14.
ตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การใช้ประโยชน์จาก ธรรมชาตินั้น ถ้าเราไม่เข้าใจความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ
แล้ว อาจจะทาให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งอื่นๆ และธรรมชาติก็จะเสียสมดุลใน ที่สุด
15.
ปัญหำสิ่งแวดล้อมไม่มีพรมแดน ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) คือ
ความผันแปรของสภาวะอากาศของโลกหรือภูมิภาค ใดๆ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อันเนื่องมาจากธรรมชาติ หรือจากการ กระทาของมนุษย์
19.
ใบงำนที่ 1
21.
Homework ให้นักเรียนสรุปความรู้เกี่ยวกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ ภาวะโลกร้อน 1. ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อนเกิดขึ้นจากสาเหตุ ใด 2. ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อนอาจก่อให้เกิด ผลกระทบใดบ้าง 3.
นักเรียนคิดว่าปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อนจะมี ผลกระทบต่อชุมชนหรือท้องถิ่นของนักเรียนอย่างไร 4. นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมในการช่วยลดหรือบรรเทาปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อนได้อย่างไรบ้าง
Download