ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ธุรกิจ Ecommerce
ประวัติวิทยากร
ณวัฒน์ กุลบ่าง
Email: jc_boondee@hotmail.com
Tel: 094-876-8448
ประวัติการทางาน (2535-2555)
- บมจ.ธนาคารกสิกรไทย - บมจ.คอมฟอร์เซ็นเตอร์
- บจก.อุตสาหกรรมผงธูปไทย - สตาร์ยูเนียน ไบโอฟูเอล
- บจก.เอเชียไบโอแมส - บจก.ไทยล็อกอีเวนท์ อเจนซี่ออกาไนเซอร์
- นิตยสารการค้าอาเซียน - บจก.หยีซิ่ง (ประเทศไทย)
- บจก.เอ็นวีเอเชีย - บจก.เบาสเตด โฮลดิ้ง
- บจก.ดีเอ็ม อินฟอร์เมชั่น - บจก.ยูนิเวิส บางกอกทราเวล
ที่ปรึกษาการตลาด
- บจก.เอ็มพีเม็ก มาร์เก็ตติ้ง - บจก.ฟินิกส์ ออร์โต้ มาร์เก็ตติ้ง
ประวัติวิทยากร
ประวัติการทางาน (2555 - ปัจจุบัน)
ผู้บริหาร กลุ่มธุรกิจในเครือ 468 Group
- บจก. วีสมาร์ท มาร์เก็ตติ้ง : ที่ปรึกษาด้านการตลาดใน และต่างประเทศ
- บจก. สร้างพิเศษ ( Sattahiptraining.com) :พัฒนาบุคลากรและองค์การ
- หจก. อินโนเวชั่น 468 : ออกแบบ Logo ธุรกิจ ด้วยศาสตร์ “ฮวงจุ้ยเบญจธาตุ”
- สถาบัน เดอะแมจิคอิงลิช : อบรมเกียวกับศาสตร์ NLP
- MookataBBQ.com: จาหน่ายอุปกรณ์เตาย่าง BBQ
- Sun&Moon E-book Publishing : จาหน่ายหนังสือ E-Book Online
- บริษัท เด็กดอยโปรเจค กรุ๊ป จากัด : จาหน่ายผลิตภัณฑ์งานฝีมือ Online
- บริษัท เอ้าท์ซอส คอนสตรัคติ้ง จากัด : ซ่อมบารุงระบบงานไฟฟ้า Hood ดูดควัน
ประวัติวิทยากร
ประวัติทางสังคม
- ประธานสมาคมนายจ้างการบริการและการจัดการอาเซียน
- รองเลขาธิการ สภาองค์การนายจ้างแห่งชาติ
- เลขาธิการ (รักษาการ) สภาองค์การนายจ้างอุตสาหการไทย
- อนุกรรมการตรวจพิจารณาประเมินสถานประกอบการดีเด่น กระทรวงแรงงาน
- ประธานชมรมนักธุรกิจ SME’s ไทย
- เลขาธิการ ชมรมหุ่นยนต์บีม แห่งประเทศไทย
วิทยากรพิเศษ
- มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
: อบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้โครงการพัฒนาทักษะด้านอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
- มรภ.สวนสุนันทา ภาควิชามนุษย์ศาสตร์ สาขาวิชาภาษาจีน : ภาษาจีนกับธุรกิจการท่องเที่ยว
- มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะบริหารธุรกิจ: SME ยุคใหม่ใส่ใจสังคมและสิ่งแวดล้อม
- ยุวสมาคมแห่งประเทศไทย ธนบุรี : การบริหารงานสมาคม / การพัฒนาบุคลิกภาพ
การดาเนินธุรกิจ และการแข่งขันของธุรกิจยุ่งใหม่
ตามทัศนะ
อาจแบ่งได้ตามพัฒนาการของกคลื่นความถี่ “ โทรศัพท์มือถือ”
แบ่งเป็น 4 ระยะ
ระยะที่ 1 ยุค 1G ( พ.ศ.2522 )
อ้างอิงจาก เวปเช็คราคาดอทคอม: ยุค 1G เริ่มใช้ครั้งแรกที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
ระยะที่ 1 ยุค 1G ( พ.ศ.2522 )
กระจายตัว / ต่างคนต่างอยู่ / การแข่งขันน้อย
ระยะที่ 1 ยุค 1G ( พ.ศ.2522 )
เทคโนโลยีทางการผลิต และการสื่อสารยังไม่ทันสมัย
ระยะที่ 1 ยุค 1G ( พ.ศ.2522 )
เน้นผู้ผลิตเป็นศูนย์กลาง / ผู้บริโภคมีตัวเลือกน้อย
ระยะที่ 2 ยุค 2G-2.5G (พ.ศ.2533)
ระยะที่ 2 ยุค 2G-2.5G (พ.ศ.2533)
เริ่มมีการขยายตัวทางธุรกิจ / นักธุรกิจรายย่อยเกิดใหม่
เทคโนโลยีทางการผลิต และการสื่อสารทันสมัยขึ้น
ระยะที่ 2 ยุค 2G-2.5G (พ.ศ.2533)
พ.ศ. 2540 วิกฤตต้มยากุ้ง
ระยะที่ 2 ยุค 2G-2.5G (พ.ศ.2533)
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
นักธุรกิจรายใหญ่
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
นักธุรกิจรายเก่า
นักธุรกิจรายใหม่
นักธุรกิจรายใหญ่
ระดมหุ้น เพิ่มทุน
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
นักธุรกิจรายใหญ่
มีการพัฒนาเทคโนโลยี / ลงทุนด้านการสื่อสารมากขึ้น
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
รายเก่า
เงินทุนจากัด / ไม่พัฒนาผลิตภัณฑ์ / ประสบปัญหาเศรษฐกิจ ปี 40
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
รายใหม่
เป็นนักธุรกิจรุ่นใหม่ / มีเครือข่าย Network
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
รายใหม่
รู้จักใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
รายใหม่
ทาการขายสินค้าบนระบบ Social Network
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
รายใหม่
ใช้เงินทุนไม่มาก / นาเข้าเครื่องจักรจากประเทศจีนที่มีต้นทุนต่า
ระยะที่ 3 ยุค 3G (พ.ศ.2544 )
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
ยุคสงครามการตลาดบน Social Ntework
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
โลกไร้พรหมแดน
27 มิ.ย. 46 Hi5 ถือกาเนิดที่ประเทศ อเมริกา
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
โลกไร้พรหมแดน
4 ก.พ. 47 Facebook ถือกาเนิดที่ประเทศ อเมริกา ใช้เฉพาะกลุ่ม
17 ก.ย. 49 Facebook เปิดให้ใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
โลกไร้พรหมแดน
21 มี.ค. 49 Twitter ถือกาเนิดที่ประเทศ อเมริกา
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
โลกไร้พรหมแดน
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
มูลเหตุการณ์ตื่นตัวอย่างมาก ของ SME’s
ในประเทศไทย
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
2554 วิกฤตมหาอุทกภัยน้าท่วมใหญ่ทั่วประเทศ
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
โอกาสจากวิกฤตฯ หลังน้าลด
มาตรการอัดฉีด และเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์อุทกภัยใหญ่
โดยการกระตุ้นให้ประชาชนเกิดการใช้จ่าย
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
โอกาสจากวิกฤตฯ หลังน้าลด
โดยการผลักดันมาตรการหลายอย่างจากภาครัฐ เช่น
มาตรการอัดฉีดเม็ดเงินเข้ามาในระบบเศรษฐกิจ
โดยเฉพาะในระดับฐานราก คือ SME’s
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
โอกาสจากวิกฤตฯ หลังน้าลด
โดยการผลักดันมาตรการหลายอย่างจากภาครัฐ เช่น
เงินกู้ดอกเบี้ยต่า สาหรับ SME’s
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
จัดกิจกรรมพัฒนาผู้ประกอบการ
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
จัดกิจกรรมมหกรรมจาหน่ายสินค้า
ระยะที่ 4 เริ่มยุค 4G (พ.ศ.2552 )
จัดกิจกรรมผลักดันให้เกิดการรวมตัวกันของธุรกิจ SME’s
ธุรกิจ Ecommerce
ทิศทาง
SME’s ไทย ในยุค AEC
รวมตัวเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันสร้างความได้เปรียบ
ทิศทาง SME’s ไทย ในยุค AEC
MOU ร่วมกัน รัฐ-เอกชน-ชุมชน
ทิศทาง SME’s ไทย ในยุค AEC
ประโยชน์จากการรวมตัว
ทิศทาง SME’s ไทย ในยุค AEC
เพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิต และการบริหารจัดการ
ประโยชน์จากการรวมตัว
ทิศทาง SME’s ไทย ในยุค AEC
เกิดการพัฒนาความสามารถด้านนวัตกรรม
ประโยชน์จากการรวมตัว
ทิศทาง SME’s ไทย ในยุค AEC
เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลและองค์ความรู้ของสมาชิก
ประโยชน์จากการรวมตัว
ทิศทาง SME’s ไทย ในยุค AEC
เกิดการขยายตลาดสู่ระดับประเทศและต่างประเทศ
ประโยชน์จากการรวมตัว
ทิศทาง SME’s ไทย ในยุค AEC
เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากรร่วมกัน
เกิดความสามารถในการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบได้ในราคาถูกลง
เกิดการขยายตัวด้านการค้า การลงทุนของสมาชิก
เพิ่มขีดความสามารถ และศักยภาพในการแข่งขันโดยรวม
เพื่อให้เกิดการต่อยอดระหว่างธุรกิจในกลุ่มเดียวกัน และต่างกลุ่ม
ทิศทาง SME’s เพื่อนบ้านใน AEC
และ
ต่างชาติ ในยุค AEC
ก่อนเปิด AEC 5-10 ปี
ทิศทาง SME’s เพื่อนบ้านใน AEC และ ต่างชาติ ในยุค AEC
กลุ่มประเทศในแถบยุโรป กลุ่มประเทศใหญ่ๆ ในเอเชีย
ก่อนเปิด AEC 5-10 ปี
ทิศทาง SME’s เพื่อนบ้านใน AEC และ ต่างชาติ ในยุค AEC
จดทะเบียน ทั้งถูกกฎหมาย และไม่ถูกกฎหมาย เพื่อตั้งถิ่นฐานรองรับการเปิด AEC
หาแหล่งวัตถุดิบ ยึดหัวหาดตามจุดสาคัญๆ ของประเทศ
ก่อนเปิด AEC 5-10 ปี
ทิศทาง SME’s เพื่อนบ้านใน AEC และ ต่างชาติ ในยุค AEC
ให้ความสาคัญ และกระตือรือร้น ที่จะเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน
ก่อนเปิด AEC 5-10 ปี
ทิศทาง SME’s เพื่อนบ้านใน AEC และ ต่างชาติ ในยุค AEC
ประเทศเพื่อนบ้านใน ASEAN สามารถสื่อสารภาษาอย่างน้อย 3 ภาษา
ก่อนเปิด AEC 5-10 ปี
ทิศทาง SME’s เพื่อนบ้านใน AEC และ ต่างชาติ ในยุค AEC
ใช้สื่อออนไลน์เพื่อทาธุรกิจทางการค้า อย่างไร้พรหมแดน ทั่วโลก
ก่อนเปิด AEC 5-10 ปี
ทิศทาง SME’s เพื่อนบ้านใน AEC และ ต่างชาติ ในยุค AEC
สร้างแบรนด์ ให้มีมาตรฐาน เหมือนกันทั่วโลก เพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาด
ธุรกิจ Ecommerce

More Related Content

ธุรกิจ Ecommerce