ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
มารยาทและมารยาทและ
จริยธรรมจริยธรรมทางทาง
วิชาการในการวิชาการในการ
ใช้เทคโนโลยีใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศสารสนเทศ
กลุ่มกลุ่ม FinFin
• 1. ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษา
วิเคราะห์และสังเคราะห์มารยาทและ
จริยธรรมทางวิชาการในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยแยกเป็น
ประเภทต่างๆ รวมทั้งวิเคราะห์ผลกระ
ทบหากมีการละเมิดหรือทำาผิดจริยธร
รมนั้นๆ
• เมื่อพิจารณาถึงมารยาทและจริยธรรม
เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ
สารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property) 
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) 
ละจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
เป็นความเกี่ยวข้องกับการรวบรวมและใช้ข้อมูล
สำาหรับส่วนบุคคล และ เก็บไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปชาวอเมริกันถือว่าในเรื่องสิทธิ์
ความเป็นส่วนตัวมาก โดยเฉพาะข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
หากไม่ได้รับอนุญาตแล้วจะเข้ามาสังเกตและเรียกใช้
ข้อมูลไม่ได้ ทรัพยากรข้อมูลที่มีอยู่ถือว่าเป็นความลับ
ส่วนบุคคลทีเดี่ยวซึ่งตรงกันข้ามกับวัฒนธรรมของชาว
ญี่ปุ่นจะให้ความสำาคัญในเรื่องนี้น้อยกว่าชาวอเมริกัน
มาก เช่น
 เข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการ
บันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการบันทึก-
แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และ
ละจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• ความถูกต้อง (Information Accuracy)
ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียก
ใช้ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่สำาคัญประการหนึ่ง คือ ความ
น่าเชื่อถือได้ของข้อมูล ทั้งนี้ จะขึ้นอยู่กับความถูกต้องใน
การบันทึกข้อมูลด้วย โดยทั่วไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็น
ผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผย
แพร่ ดังนั้น ในการจัดทำาข้อมูลและสารสนเทศให้มี
ความถูกต้องและน่าเชื่อถือนั้น ข้อมูลควรได้รับ
การตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำาเข้าฐาน
ข้อมูล รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัย
อยู่เสมอ นอกจากนี้ ควรให้สิทธิแก่บุคคลในการเข้าไป
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลตนเองด้วย
ละจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
สิทธิความเป็นเจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครอง
ทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้ เช่น
คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา
(ความคิด) ที่จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลงโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในสื่อ
ต่างๆ ได้ เช่น สิ่งพิมพ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น
โดยในการคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับ
เพื่อน เป็นการกระทำาที่จะต้องพิจารณาให้
รอบคอบก่อนว่าโปรแกรมที่จะทำาการคัดลอกนั้น
เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ท่านมีสิทธ์ในระดับใด
ละจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
• การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) 
ธรรมชาติของผู้ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลหรือใช้ข้อมูลนั้น
จะพิจารณาถึงความสามารถที่ใช้คือเอาข้อมูลจาก
ฐานข้อมูลขององค์กรมาใช้ได้อย่างเหมาะสมซึ่ง
ข้อมูลจะถูกจัดลำาดับความสำาคัญไว้ในระดับที่แตกต่างกัน
ไป ข้อมูลที่มีอิทธิพลต่อการแข่งขันจำาเป็นต้องใช้รหัส
พิเศษก่อนที่ผู้ใช้จะมีสิทธิใช้งาน และ สามารถใช้ได้อย่าง
จำากัด
เช่น บริษัทที่มีประวัติข้อมูลลูกค้าทั้งในอดีตและปัจจุบัน เจ้าของ
บริษัทสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลของลูกค้าเหล่านั้นหรือไม่ และ
บริษัทดังกล่าวจะขายรายชื่อลูกค้าพร้อมกับรายละเอียดส่วนตัว
ให้กับบริษัทอื่นได้หรือไม่ คำาถามเหล่านี้ล้วนเกี่ยวข้องกับ
จริยธรรมของผู้ครอบครองข้อมูลทั้งสิ้น
ละจริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ทำาให้เสียสิทธิทางของบุคคล
แต่ละบุคคลย่อมมีความเป็นส่วนตัวเฉพาะบุคคล ไม่
ต้องการแพร่กระจายข่าวสารข้อมูลหรือเรื่องราวส่วน
ตัวให้ใครรับรู้ หากมีการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล ถือ
ได้ว่าเป็นการไม่เหมาะสมและผิดตามกฏหมาย
2. ทำาให้เกิดอาชญากรรม
อาจก่อให้เกิดอาชญากรรมจากโจรผู้ร้ายใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในการวางแผนการปล้น
วางแผนการโจรกรรม มีการลักลอบใช้ข้อมูลข่าวสาร
มีการโจรกรรมหรือแก้ไขตัวเลขบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
การลอบเข้าไปแก้ไขข้อมูล เช่น การแก้ไขระดับ
คะแนนของนักเรียน การแก้ไขข้อมูลในโรงพยาบาล
เพื่อให้การรักษาพยาบาลคนไข้ผิด ซึ่งเป็นการทำาร้าย
ะทบหากมีการละเมิดหรือทำาผิดจริยธรรม
3. ทำาให้เกิดความวิตกกังวล
ผลกระทบนี้เป็นผลกระทบทางด้านจิตใจของบุคคลที่มี
ความวิตกกังวลว่าการที่จะสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
เพื่อนมนุษย์ หรือการติดต่อธุรกิจทางการค้า ทาง
เทคโนโลยี จะมีความปลอดภัยต่อตนเอง หรือองค์กร
หรือไม่
4. ความเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ
ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดของธุรกิจส่วนใหญ่ฝากไว้ใน
ศูนย์ข้อมูล เช่น ข้อมูลลูกหนี้การค้า ข้อมูลสินค้า และ
บริการต่างๆ หากเกิดการสูญหายของข้อมูล หรือ
ลักลอบบันทึกโดยมิชอบ
ะทบหากมีการละเมิดหรือทำาผิดจริยธรรม
2. ช่วยกันสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์กรณีการก
ระทำาผิดมารยาทหรือจริยธรรมทางวิชาการใน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เกิดขึ้นในสภาพ
จริง โดยวิเคราะห์ในประเด็นต่อไปนี้
1) สรุปสภาพของกรณีที่เกิดขึ้น
2) ประเด็นการกระทำาผิด
3) ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผู้ที่กระทำาผิด
4) ผลกระทบต่อผู้ถูกละเมิด
5) เสนอแนะแนวปฏิบัติที่ดี และแนวทางทางการแก้ไข
เกี่ยวกับกรณีที่เกิดขึ้น
1) สรุปสภาพของกรณีที่เกิดขึ้น
ศุภกิจข้าราชการหน้าใหม่ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีความรู้ในเรื่องคอมพิวเตอร์เป็นอย่างมาก หลังจากรับ
ราชการได้ไม่นาน ศุภกิจเห็นว่าคอมพิวเตอร์ในหน่วย
งานมีระบบปฏิบัติการที่ช้า จึงนำาระบบปฏิบัติการที่ลอก
เลียนจากโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์มาทดลองใช้ ทำาให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางานได้เร็วขึ้น เพื่อนร่วมงานจึง
ขอให้ศุภกิจลงโปรแกรมดังกล่าวในเครื่องคอมพิวเตอร์
ของพวกเขาบ้าง ศุภกิจยินดีและภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือ
เพื่อนข้าราชการ แต่สิ่งที่ศุภกิจทำากลับเป็นสิ่งที่ไม่ถูก
กรณีการกระทำาผิดมารยาทหรือจริยธรรม
ทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เกิดขึ้นในสภาพจริง
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
กรณีการกระทำาผิดมารยาทหรือจริยธรรม
ทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เกิดขึ้นในสภาพจริง
2) ประเด็นการกระทำาผิด
นำาระบบปฏิบัติการที่ลอกเลียนจากโปรแกรมที่มี
ลิขสิทธิ์มาทดลองใช้ ทำาให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทำางานได้เร็วขึ้น และนำาไปเผยแพร่ให้กับบุคคลอื่น
ภายในองค์กร
กรณีการกระทำาผิดมารยาทหรือจริยธรรม
ทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เกิดขึ้นในสภาพจริง3) ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผู้ที่กระทำาผิด
เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของผู้
อื่น ส่วนราชการอาจถูกฟ้องร้องทางกฎหมายอัน
อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อภาพลักษณ์ของหน่วย
งานได้
โทษตามกฎหมาย การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
ภายใต้พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 “ ในกรณี
ที่บุคคลใดทำาซำ้า ดัดแปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน
หรือให้เช่าต้นฉบับหรือสำาเนาของโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ บุคคลนั้นจะมีความผิดฐานละเมิด
ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ มีโทษปรับตั้งแต่ 20,000 บาท –
200,000 บาท
กรณีการกระทำาผิดมารยาทหรือจริยธรรม
ทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เกิดขึ้นในสภาพจริง
4) ผลกระทบต่อผู้ถูกละเมิด
ทำาให้ผู้ผลิตซอฟต์แวร์ดังกล่าวเกิดความเสียเปรียบทางการ
ค้า และไม่เป็นธรรมต่อผู้เผยแพร่ซอฟต์แวร์ ที่การแข่งขันที่ไม่
เป็นธรรมสำาหรับบริษัทที่ดำาเนินการอย่างถูกต้อง และก่อให้เกิด
ความเสียหายกับตราสินค้า ผ่านทางการแจกจ่ายผลิตภัณฑ์ที่ตำ่า
กว่ามาตรฐาน และทำาให้ลูกค้าได้รับความเสี่ยงด้านไอที รวมถึง
การละเมิดข้อกำาหนดด้านความปลอดภัยและการสูญเสียข้อมูล
กรณีการกระทำาผิดมารยาทหรือจริยธรรม
ทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เกิดขึ้นในสภาพจริง5) เสนอแนะแนวปฏิบัติที่ดี และแนวทางทางการ
แก้ไขเกี่ยวกับกรณีที่เกิดขึ้นเสนอแนะแนวปฏิบัติที่ดี
1.ควรซื้อและใช้ซอฟต์แวร์
ของแท้เท่านั้น   
2.ควรเลือกใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ที่อนุญาตต่อผู้
ใช้ โดยจะถูกระบุไว้ใน
สัญญาการใช้งาน
3.ควรอ่านสัญญาการใช้
งานเสมอ เพื่อให้ทราบถึง
ข้อกำาหนดและเงื่อนไขการ
ใช้ ซึ่งจะแตกต่างกันใน
แต่ละผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์
เสนอแนะแนวทางแก้ไข
1. การปลูกจิตสำานึกให้เคารพใน
ทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่นและความ
พอเพียงภายในองค์กร
2. การปลูกจิตสำานึก และจริยธรรมให้ผู้
ขายคอมพิวเตอร์ และผู้ขายซอฟต์แวร์
แนะนำาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ให้กับลูกค้า ชี้
ให้เห็นถึงข้อดีของซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์
3. วางนโยบายที่ชัดเจนเรื่องการใช้
โปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์ ถูกต้อง
4. สื่อสารนโยบายไม่ละเมิดโปรแกรมฯ
ให้เจ้าหน้าที่ใน หน่วยงานทราบ
5. จัดซื้อโปรแกรมฯจากตัวแทนจำาหน่าย
ที่ได้มาตรฐาน
แหล่งอ้างอิง
1. http://www.sipa.or.th/article_attach/software_license.pdf
2. http://www.dol.go.th/it/index.php?
option=com_content&task=view&id=200
3. http://th.wikipedia.org/wiki/การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
4. http://ccs.sut.ac.th/2012/index.php/helpdesk/2011-
10-12-03-18-44/148-it-161111
5. http://chaiwan2.igetweb.com/index.php?
mo=59&action=page&id=499722
6. http://sw07017.blogspot.com/2009/02/blog-
post_12.html
7. http://kamkaewnarak285.blogspot.com/2013/09/blog-
post.html
1. นางสาวพิชญาภา แสงกุดเลาะ
2. นางอรวรรณ วรชิน
3. นางสาวภัทธีญา อุตมะพันธุ์
สมาชิกภายในกลุ่มฟิน
ThankThank
youyou

More Related Content

มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการใȨารใช้เทคโนโลยีสารสȨทศ