ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการให้เหตุผลทางเรขาคณิตสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์(เพิ่มเติม)ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3
ในวิชาคณิตศาสตร์ เรามักพบข้อความที่มีลักษณะ เป็นประโยคเงื่อนไข เช่น1. ถ้าABCDเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก แล้วด้านตรงข้ามของABCDมีความยาวเท่ากัน2. ถ้าเส้นตรงสองเส้นตัดกัน แล้วมุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากัน3. ถ้า     เป็นจำนวนคู่  แล้ว        เป็นจำนวนคู่ประโยคเงื่อนไขประโยคเงื่อนไขดังกล่าว มีรูปแบบเดียวกัน คือ ประกอบด้วยข้อความสองข้อความที่เชื่อมด้วย ถ้า...แล้ว...เรียกข้อความที่ตามหลัง ถ้า ว่า เหตุ และเรียกข้อความตามหลัง แล้ว ว่า ผล
จากประโยคเงื่อนไข “ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ สามคู่แล้วรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน”ถ้าเรานำผลของประโยคเงื่อนไขนี้มาเป็นเหตุและนำเหตุของประโยคเงื่อนไขนี้มาเป็นผลเราจะได้ บทกลับของประโยคเงื่อนไข เป็นประโยคเงื่อนไขใหม่ดังนี้“ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันแล้วรูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ สามคู่”เราสามารถเขียนประโยคเงื่อนไขและบทกลับของประโยคเงื่อนไขข้างต้นให้เป็นประโยคเดียวกัน โดยใช้คำว่า ก็ต่อเมื่อบทกลับของประโยคเงื่อนไข
“ รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ สามคู่ ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน” เมื่อมีประโยคที่เชื่อมด้วย ก็ต่อเมื่อ เราสามารถเขียนประโยคนั้นเป็นประโยคเงื่อนไขสองประโยค เช่น “ สามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ก็ต่อเมื่อรูปสามเหลี่ยมนั้นมีด้านยาวเท่ากันสองด้าน” สามารถเขียนได้เป็น“ถ้ารูปสามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นมีด้านยาวเท่ากันสองด้าน” และ “ถ้ารูปสามเหลี่ยมนั้นมีด้านยาวเท่ากันสองด้าน แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว”ก็ต่อเมื่อ
การให้เหตุผลทางเรขาคณิตมีความเกี่ยวข้องกับ คำอนิยาม บทนิยาม สัจพจน์ และทฤษฎีบทการให้เหตุผลทางเรขาคณิตคำอนิยามเป็นคำที่ใช้เป็นพื้นฐานในคณิตศาสตร์ เพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกันโดยไม่ต้องกำหนดความหมายของคำ เช่น จุด เส้นตรง และ ระนาบ
   บทนิยามเป็นการให้ความหมายที่แน่นอนของคำต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื่อหาสาระนั้นๆหลังจากกำหนดคำอนิยามแล้ว ในรูปของ บทนิยาม เช่นบทนิยามของรังสี  รังสี คือ ส่วนหนึ่งของเส้นตรงซึ่งมีจุดปลายเพียงจุดเดียวบทนิยามของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส   รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสคือรูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก และมีด้านทุกด้านยาวเท่ากันการให้เหตุผลทางเรขาคณิต
สัจพจน์   หมายถึงข้อความที่เป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ -   มีเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท่านั้นที่ผ่านจุดสองจุดที่กำหนดให้ -  เส้นตรงสองเส้นที่ตัดกัน  จะตัดกันที่จุดเพียงจุดเดียวเท่านั้น -  สามารถต่อส่วนของเส้นตรงออกไปทั้งสองข้างได้โดยไม่จำกัดความยาว -  สามารถลากเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท่านั้นให้ผ่านจุดจุดหนึ่งที่ไม่อยู่บน   เส้นตรงที่กำหนดให้ และขนานกันเส้นตรงที่กำหนดให้นั้น
ทฤษฎีบท   ถ้าเส้นตรงสองเส้นตัดกัน  แล้วมุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากันทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ขานดของมุมภายนอกและภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180  องศาทฤษฎีบท  เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน  ก็ต่อเมื่อ  มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
ทฤษฎีบท  เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน  ก็ต่อเมื่อมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขานดเท่ากันทฤษฎีบท  ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180  องศาทฤษฎีบท  ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิด
:ความรู้พื้Ȩาน๶กี่ยวกับการให้๶หตุผล

More Related Content

:ความรู้พื้Ȩาน๶กี่ยวกับการให้๶หตุผล

  • 2. ในวิชาคณิตศาสตร์ เรามักพบข้อความที่มีลักษณะ เป็นประโยคเงื่อนไข เช่น1. ถ้าABCDเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก แล้วด้านตรงข้ามของABCDมีความยาวเท่ากัน2. ถ้าเส้นตรงสองเส้นตัดกัน แล้วมุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากัน3. ถ้า เป็นจำนวนคู่ แล้ว เป็นจำนวนคู่ประโยคเงื่อนไขประโยคเงื่อนไขดังกล่าว มีรูปแบบเดียวกัน คือ ประกอบด้วยข้อความสองข้อความที่เชื่อมด้วย ถ้า...แล้ว...เรียกข้อความที่ตามหลัง ถ้า ว่า เหตุ และเรียกข้อความตามหลัง แล้ว ว่า ผล
  • 3. จากประโยคเงื่อนไข “ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ สามคู่แล้วรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน”ถ้าเรานำผลของประโยคเงื่อนไขนี้มาเป็นเหตุและนำเหตุของประโยคเงื่อนไขนี้มาเป็นผลเราจะได้ บทกลับของประโยคเงื่อนไข เป็นประโยคเงื่อนไขใหม่ดังนี้“ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันแล้วรูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ สามคู่”เราสามารถเขียนประโยคเงื่อนไขและบทกลับของประโยคเงื่อนไขข้างต้นให้เป็นประโยคเดียวกัน โดยใช้คำว่า ก็ต่อเมื่อบทกลับของประโยคเงื่อนไข
  • 4. “ รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดมุมเท่ากันเป็นคู่ๆ สามคู่ ก็ต่อเมื่อ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน” เมื่อมีประโยคที่เชื่อมด้วย ก็ต่อเมื่อ เราสามารถเขียนประโยคนั้นเป็นประโยคเงื่อนไขสองประโยค เช่น “ สามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ก็ต่อเมื่อรูปสามเหลี่ยมนั้นมีด้านยาวเท่ากันสองด้าน” สามารถเขียนได้เป็น“ถ้ารูปสามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นมีด้านยาวเท่ากันสองด้าน” และ “ถ้ารูปสามเหลี่ยมนั้นมีด้านยาวเท่ากันสองด้าน แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว”ก็ต่อเมื่อ
  • 5. การให้เหตุผลทางเรขาคณิตมีความเกี่ยวข้องกับ คำอนิยาม บทนิยาม สัจพจน์ และทฤษฎีบทการให้เหตุผลทางเรขาคณิตคำอนิยามเป็นคำที่ใช้เป็นพื้นฐานในคณิตศาสตร์ เพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกันโดยไม่ต้องกำหนดความหมายของคำ เช่น จุด เส้นตรง และ ระนาบ
  • 6. บทนิยามเป็นการให้ความหมายที่แน่นอนของคำต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื่อหาสาระนั้นๆหลังจากกำหนดคำอนิยามแล้ว ในรูปของ บทนิยาม เช่นบทนิยามของรังสี รังสี คือ ส่วนหนึ่งของเส้นตรงซึ่งมีจุดปลายเพียงจุดเดียวบทนิยามของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสคือรูปสี่เหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก และมีด้านทุกด้านยาวเท่ากันการให้เหตุผลทางเรขาคณิต
  • 7. สัจพจน์ หมายถึงข้อความที่เป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ - มีเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท่านั้นที่ผ่านจุดสองจุดที่กำหนดให้ - เส้นตรงสองเส้นที่ตัดกัน จะตัดกันที่จุดเพียงจุดเดียวเท่านั้น - สามารถต่อส่วนของเส้นตรงออกไปทั้งสองข้างได้โดยไม่จำกัดความยาว - สามารถลากเส้นตรงเพียงเส้นเดียวเท่านั้นให้ผ่านจุดจุดหนึ่งที่ไม่อยู่บน เส้นตรงที่กำหนดให้ และขนานกันเส้นตรงที่กำหนดให้นั้น
  • 8. ทฤษฎีบท ถ้าเส้นตรงสองเส้นตัดกัน แล้วมุมตรงข้ามมีขนาดเท่ากันทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ขานดของมุมภายนอกและภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศาทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
  • 9. ทฤษฎีบท เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นั้นขนานกัน ก็ต่อเมื่อมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขานดเท่ากันทฤษฎีบท ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้180 องศาทฤษฎีบท ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิด