ݺߣ
Submit Search
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
920 views
P
Pitchayakarn Nitisahakul
Follow
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
Read less
Read more
1 of 18
Download now
Downloaded 10 times
More Related Content
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
1.
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program) อ.ตฤณ
แจ่มถิน สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
2.
แผน IEP • แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น •
เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้ เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเขา • ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก • โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผลเด็ก
3.
การเขียนแผน IEP • คัดแยกเด็กพิเศษ •
ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร • ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ จะทาให้ทราบว่าจะต้องเริ่มช่วยเหลือ เด็กจากจุดไหน ในทักษะใด • เด็กสามารถทาอะไรได้ / เด็กไม่สามารถทาอะไรได้ • แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP
4.
IEP ประกอบด้วย • ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก •
ระบุว่าเด็กมีความจาเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง • การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน • เป้าหมายระยะยาวประจาปี / ระยะสั้น • ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทาการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน • วิธีการประเมินผล
5.
ประโยชน์ต่อเด็ก • ได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน • ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน •
ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม • ถ้าเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนจะไม่ถูกจัดเข้าชั้นเรียนเฉยๆ
6.
ประโยชน์ต่อครู • เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกับความสามารถ และความต้องการของเด็ก • เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนและวิธีการสอนให้เหมาะ กับเด็ก •
ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไป • เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงาน พัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก • ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ
7.
ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง • ได้มีส่วนร่วมในการจัดทาแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด็กได้ พัฒนาความสามารถได้สูงสุดตามศักยภาพ •
ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร • เกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่าง ต่อเนื่อง และใกล้ชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน
8.
ขั้นตอȨารจัึϸาแผนการศึกษารายบุคคล
9.
1. การรวบรวมข้อมูล • รายงานทางการแพทย์ •
รายงานการประเมินด้านต่างๆ • บันทึกจากผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง
10.
2. การจัดทาแผน • ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง •
กาหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น • กาหนดโปรแกรมและกิจกรรม • จะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
11.
การกาหนดจุดมุ่งหมาย • ระยะยาว • ระยะสั้น
12.
จุดมุ่งหมายระยะยาว • กำหนดให้ชัดเจน แม้จะกว้ำง –น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้ –น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดีขึ้น –น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นๆได้
13.
• ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก • เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทาได้ในระยะ
2-3 วัน หรือ 2-3 สัปดาห์ จุดมุ่งหมายระยะสั้น
14.
จุดมุ่งหมายระยะสั้น (ต่อ) • จะสอนใคร •
พฤติกรรมอะไร • เมื่อไหร่ ที่ไหน (ที่พฤติกรรมนั้นจะเกิด) • พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
15.
• ใคร • อะไร •
เมื่อไหร่ / ที่ไหน • ดีขนำดไหน
16.
3. การใช้แผน • เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์
ครูจะนาไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น • นามาทาเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม • แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก • จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
17.
3. การใช้แผน (ต่อ)
ต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและ ความสามารถ โดยคานึงถึง 1. ขั้นตอนพัฒนาการของเด็กปกติ 2. ตัวชี้วัดพื้นฐานที่เกี่ยวกับปัญหาของพัฒนาการเด็ก 3. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมของเด็กและผู้ใหญ่ที่มีผลต่อการ แสดงออกของเด็ก
18.
4. การประเมินผล • โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง
หรือย่อยกว่านั้น • ควรมีการกาหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัดผล ** การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรม อาจใช้วิธีวัดและกาหนดเกณฑ์แตกต่างกัน**
Download