ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาครูผู้สอนวิทยาศาสตร์
โดยใช้โปรแกรมการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ ระดับ ม.1-3
ประจาปี การศึกษา 2557
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ
กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี
เขต 5
ปี การศึกษา 2557
ยินดีต้อนรับ...กลับมาพบกับครอบครัว
ครั้งที่ 1 ปี การศึกษา 2555
ครั้งที่ 2 ปี การศึกษา 2556
ครั้งที่ 3 ปี การศึกษา 2557
จากวันวาน...ถึงวันนี้
Inspiring Science ดาเนินงานโดยหน่วยงานใด?
ทบทวน...ควรรู้
โดย กลุ่มพัฒนาการศึกษาสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Inspiring Science คืออะไร?
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science คือ รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ได้รับแนวคิดจาก
Upd8 Wikid ของ Sheffield Hallam University ประเทศอังกฤษ โดย
ออกแบบและพัฒนาให้สอดคล้องกับหลักสูตรและบริบทของประเทศ
ไทย เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของครู
ซึ่งเป็ นโปรแกรมที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
Inspiring Science ประกอบด้วยอะไรบ้าง?
ทบทวน...ควรรู้
หน่วยการเรียนรู้
(Unit)
แผนการจัดการเรียนรู้
รายหน่วย(Unit Guide)
แผนการจัดการเรียนรู้
รายคาบ (Episode)
แบบทดสอบรายหน่วย
(Quiz)
ภาระงานรายหน่วย
(Homework)
คู่มือครู
(Teacher Guide)
สื่อประกอบการเรียนรู้
(Powerpoint)
ใบกิจกรรม
(Student Support Sheet)
สื่อวีดิทัศน์
(VDO Clip)
ในแต่ละโฟลเดอร์ ประกอบด้วย
หน่วยการเรียนรู้
แต่ละหน่วยการเรียนรู้
ประกอบด้วยโฟลเดอร์
เนื้อหา 2 ภาษา
ในแต่ละโฟลเดอร์จะประกอบด้วย
Episode ย่อยในหน่วยการเรียนรู้นั้น
ในแต่ละโฟลเดอร์ของ Episode
จะประกอบด้วย ไฟล์ต่างๆ ดังนี้
Unit Guide
คู่มือครูรายหน่วยการเรียนรู้
Teacher Guide
คู่มือครูราย Episode
Student Support Sheet
ใบกิจกรรม
Powerpoint
ประกอบการจัดการเรียนรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
ทบทวน...ควรรู้
การจัดการเรียนรู้ที่ใช้บริบทเป็ นฐาน
(Context-based learning)
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
ทางวิทยาศาสตร์(Inquiry-based learning )
การจัดการเรียนรู้ที่สะท้อนธรรมชาติ
ของวิทยาศาสตร์ (Nature of Science)
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
STEM Education
การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ.2551
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
ทักษะในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนเชิงรุก (Active Learning)
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ.2551
-วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดเพื่อออกแบบการจัด
การเรียนรู้ครบถ้วนตามที่หลักสูตร
กาหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ระดับ ม.ต้น
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Inquiry-based Learning)
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Inquiry-based Learning)
สร้างความสงสัยก่อนชี้แนะอานวยความสะดวก สนับสนุนให้ค้นพบ(สร้าง)ความรู้
เอง
Disequilibrium Accommodations Assimilations
การสอนด้วยแนวคิด Constructivist
สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
เอ๊ะ อ๋อ เออ
ขัดแย้งทางความคิด ยอมรับ ปรับเปลี่ยน
การสอนด้วยแนวคิด Constructivist
ตามหลัก 3 อ. กับ 5E cycle
เอ๊ะ
อ๋อ
เออ
Engagement ขั้นสร้างความสนใจ
Exploration ขั้นสารวจและค้นหา
Explanation ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
Elaboration ขั้นขยายความรู้
Evaluation ขั้นประเมินผล
สโลแกนของครู Inspiring Science
แนะให้ทา นาให้คิด ลิขิตด้วยตนเอง
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้ที่ใช้บริบทเป็ นฐาน (Context-based learning)
คือ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการลง
มือปฏิบัติกิจกรรมในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงหรือจาลองจาก
สถานการณ์จริงในบริบทของท้องถิ่น ชุมชน สังคมของผู้เรียน
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้ที่ใช้บริบทเป็ นฐาน (Context-based learning)
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้ที่สะท้อนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ (Nature of Science)
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEM Education
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEM Education
บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
-แนวคิดเรื่องกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง สมดุลของแรง ชนิดของแรง
ผลของแรงต่อวัตถุ
-ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-วิธีการทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
การแก้ปัญหาในการออกแบบและสร้าง
สะพานแขวนที่มีความสามารถในการรับ
น้าหนักได้มากที่สุด
วิศวกรรม
การออกแบบและทดสอบประสิทธิภาพ
ของสะพานแขวนที่มีความสามารถใน
การรับน้าหนักได้มากที่สุด
คณิตศาสตร์
-การบันทึกผลการทดลองเป็ นค่า
น้าหนัก
-การหาค่าเฉลี่ยและการคานวณ
-ความรู้เรื่องปริมาตร
-การวัดและการตวง
STEM
www.themegallery.com
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science มีแนวคิดในการพัฒนาขึ้นอย่างไร?
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
ทักษะในศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ Inspiring Science มีอะไรบ้าง?
ทบทวน...ควรรู้
ระดับชั้น ม.1
Cell Expo
Rain maker
Thai Soda
Plant Profits
Ice Cream Cafe
Chiang Mai Rally
Resort Design
Flood News
ระดับชั้น ม.2
Planet Earth
Rock Cycle
Science village
Esan treasure
Temple festival
Emergency
Geo Survey
Super Model
Rope bridge
ระดับชั้น ม.3
Astro Camp
Fishermans Friend
Space Team
Tsunami Volunteer
Thai farm
Bamboo raft
Thai Farmer
Theme Park
Information
Koh Lan trip
หน่วยการเรียนรู้ Inspiring Science จาแนกตามสาระการเรียนรู้
ทบทวน...ควรรู้
หน่วยการเรียนรู้ Inspiring Science จาแนกตามสาระการเรียนรู้
ทบทวน...ควรรู้
Inspiring Science ช่วยพัฒนาอะไรนักเรียนบ้าง?
ทบทวน...ควรรู้
นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในแนวคิดทาง
วิทยาศาสตร์ ส่งผลต่อการยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นเรียน
และระดับประเทศ ทั้ง NTและ O-NET ตลอดจนระดับ
นานาชาติ ทั้ง PISA และ TIMSS
นักเรียนมีแรงบันดาลในการเรียนวิทยาศาสตร์มีเจตคติที่ดี
ต่อการเรียนวิทยาศาสตร์และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์
พัฒนาให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สามารถนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ขยายผล
ในการฝึกอบรม ครั้งที่ 3 ปี 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วัฎจักรหิน (Rock Cycle)
หน่วยการเรียนรู้ที่ขยายผล
ในการฝึกอบรม ครั้งที่ 3 ปี 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สะพานแขวน (Rope Bridge)
หน่วยการเรียนรู้ที่ขยายผล
ในการฝึกอบรม ครั้งที่ 3 ปี 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ทีมสารวจอวกาศ (Space Team)
หน่วยการเรียนรู้ที่ขยายผล
ในการฝึกอบรม ครั้งที่ 3 ปี 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ห้องฉุกเฉิน (Emergency)
ครูผู้สอนนาโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร
เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนวิทยาศาสตร์
ระดับ ม.1-3 (inspiring science)
ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างไร
ครูต้องยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก”
ครูต้องตอบได้ว่า
-ศิษย์ได้เรียนอะไร
-ให้ศิษย์ได้เรียนสิ่งเหล่านั้น ครูต้องทาอะไร ไม่ทาอะไร ครูยิ่ง
มีความสาคัญมากขึ้น และท้าทายครูทุกคนอย่างที่สุดที่จะไม่ทา
หน้าที่ครูผิดทาง คือ ทาให้ศิษย์เรียนไม่สนุก หรือเรียนแบบขาด
ทักษะสาคัญ
Teach Less Learn More
เป็ นผู้กากับการ
แสดง
Director
เป็ นโค้ช
Coach
เป็ นนักแสดง
Actor
เป็ นผู้ฝึก
Trainer
เป็ นผู้อานวย
Facillitator
เป็ นผู้ประเมิน
assessor
เนื้อหาตามตัวชี้วัด ที่ต้องสอนมีมากมาย สอนไม่ค่อยจบ
โรงเรียนมีกิจกรรมและวันหยุดมาก ทาให้เวลาเรียนน้อย
โรงเรียนมีโครงการพิเศษที่ต้องดาเนินการมากมาย
ทั้งเศรษฐกิจพอเพียง ประชาคมอาเซียน
โรงเรียนมาตรฐานสากล สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
โรงเรียนในฝัน และอื่นๆอีกมากมาย
งานมากมายขนาดนี้แล้วถ้าต้องนา
Inspiring Science ไปใช้อีกจะไหวหรือ?
สู่การจัดการเรียนการสอน
นา Inspiring Science ไปบูรณาการได้อย่างไรบ้าง
นา Inspiring Science ไปบูรณาการได้อย่างไรบ้าง
นา Inspiring Science ไปบูรณาการได้อย่างไรบ้าง
ครูสามารถนา Inspiring Science
ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างไรได้บ้าง?
Adopt = เลียนแบบ นาไปใช้ได้เลย
Adapt = นาไปปรับใช้
Apply = ประยุกต์ใช้
Invent = สร้างนวัตกรรมใหม่
Adopt
เลียนแบบ นาไปใช้ได้เลย
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
Adopt = เลียนแบบ นาไปใช้ได้เลย จัดกิจกรรมตามรูปแบบที่กาหนด
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
Adopt = เลียนแบบ นาไปใช้ได้เลย จัดกิจกรรมตามรูปแบบที่กาหนด
Adapt
นาไปปรับใช้
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
Adapt = นารูปแบบของกิจกรรมที่กาหนดไว้ไปปรับใช้ตามบริบท
สภาพปัจจุบัน ความพร้อม และความต้องการของแต่ละโรงเรียน
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
Adapt = นาไปปรับใช้
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
Adapt = นารูปแบบของกิจกรรมที่กาหนดไว้ไปปรับใช้ตามบริบท
สภาพปัจจุบัน ความพร้อม และความต้องการของแต่ละโรงเรียน
Apply
ประยุกต์ใช้
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
Apply = นารูปแบบกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม
Invent
สร้างนวัตกรรมใหม่
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
Invent = สร้างนวัตกรรมใหม่ นารูปแบบของ Inspiring Science
ไปพัฒนาเป็ นหน่วยการเรียนรู้ใหม่ตามบริบทของโรงเรียนและท้องถิ่น
การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
จิ้งหรีด
ตามแนว Inspiring Science
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
Invent = สร้างนวัตกรรมใหม่ นารูปแบบของ Inspiring Science
ไปพัฒนาเป็ นหน่วยการเรียนรู้ใหม่ตามบริบทของโรงเรียนและท้องถิ่น
การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
-อาหารและสารอาหาร
-การทดสอบสารอาหาร
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง สารและสสาร
Invent = สร้างนวัตกรรมใหม่ นารูปแบบของ Inspiring Science
ไปพัฒนาเป็ นหน่วยการเรียนรู้ใหม่ตามบริบทของโรงเรียนและท้องถิ่น
ทบทวน...ควรรู้
ครูสามารถนา Inspiring Science ไปใช้อย่างไรได้บ้าง?
เช่นการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง
-Food Bank ระดับ ม.1
-Food for health ระดับ ม.2
-The Soil in my country ระดับ ม.3
Invent = สร้างนวัตกรรมใหม่ นารูปแบบของ Inspiring Science
ไปพัฒนาเป็ นหน่วยการเรียนรู้ใหม่ตามบริบทของโรงเรียนและท้องถิ่น
Inspiring Science เปรียบเหมือนกับ?
การทาปลาช่อนทอดยา
Inspiring Science เปรียบเหมือนกับ?
ปลาช่อนทอดยา มีวัตถุดิบอะไรบ้าง
และมีการเตรียมวัตถุดิบอะไร
Inspiring Science เปรียบเหมือนกับ?
การทาปลาช่อนทอดยา จากสูตรเดียวกันแต่ละคนก็อาจจะนาไป
ทาออกมาเป็ นอาหารที่มีหน้าตาและรสชาติต่างกันแล้วแต่ผู้ทา
เช่นเดียวกับรูปแบบ
inspiring Science ที่ใช้วิธีการสอนหลายวิธี
www.themegallery.com
www.themegallery.com
เช่น การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
การทาอาหาร กับ การสอน
มีเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
การทางานเป็ นกลุ่ม การใช้คาถาม
แต่ละวิธีการจัดการเรียนรู้มีเทคนิคต่างๆ
Inspiring Science เปรียบเหมือนกับ?
ถ้าไม่มีปลาช่อน อาจเปลี่ยนเป็ นปลาอื่นๆมาทอดยาก็ย่อม
ได้
ปรับเปลี่ยนไปตามบริบท
Inspiring Science เปรียบเหมือนกับ?
เพื่อเป้ าหมายเดียวกันก็คือ ทุกคนได้รับประทานปลาทอดยา
ที่น่ารับประทาน และอร่อยถูกใจคนกิน ซึ่งก็คือ นักเรียนของครู
นั่นเอง
การนิเทศติดตาม
และประเมินผล
คุณครูจัดทารายงานผลการนา
Inspiring Science ไปใช้ตามแบบฟอร์มที่กาหนด
Invent = สร้างนวัตกรรมใหม่
ทบทวน...ควรรู้
สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามข้อมูลข่าวสาร ของ Inspiring Science ได้อย่างไร?
https://www.facebook.com/InspiringScienceThailand/
ทบทวน...ควรรู้
สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามข้อมูลข่าวสาร ของ Inspiring Science ได้อย่างไร?
https://www.facebook.com/InspiringScienceThailand/
ทบทวน...ควรรู้
สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามข้อมูลข่าวสาร ของ Inspiring Science ได้อย่างไร?
https://www.facebook.com/InspiringScienceThailand/
๶กียรติบัตรสาหรับครูที่มีผลงาȨ่าȨกณฑ์ที่กาหȨ
รายละเอียดสาหรับการติดต่อ
ติดต่อคณะทางานโครงการ
Inspiring Science ที่...
inspiring_science@hotmail.com
http://www.inspiringscience.obec.go.th
www.facebook.com/InspiringScienceThailand

More Related Content

การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร