ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ควยปามม
ที่มาและความสาคัญ
ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมี
กล่าวถึงในพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ใน
บริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคยเป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ใน
จดหมายเหตุของราชทูตจากศรีลังกาที่เข้ามาของพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุด
เป็นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษามังคุดว่ามีลักษณะทางพฤกษศาสตร์มีประโยชน์อย่างไร
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
รายงานชิ้นนี้จะศึกษาเกี่ยวกับมังคุด
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้รู้ถึงว่ามังคุดมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์มีประโยชน์อย่างไร
มังคุด เป็ นผลไม้ที่อยู่คู่คนไทยมานาน แต่จะมีสักกี่คนที่รู้จักมังคุดได้เป็ นอย่าง
ดี ซึ่งมังคุดมีชื่อเรียกต่าง ๆ และมีความเป็ นมา ดังนี้
มังคุด ชื่อภาษาอังกฤษคือ mangosteen มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Garcinia
mangostana Linn. มีชื่อเรียกในภาษามลายูว่ามังกุสตาน manggustan
ภาษาอินโดนีเซียเรียกมังกีส ภาษาพม่าเรียกมิงกุทธี ภาษาสิงหลเรียกมังกุส เป็นพันธุ์ไม้ไม่
ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีถิ่นกาเนิดอยู่ที่หมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ
แพร่กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึงไปสู่
กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา เอกวาดอร์ ไปจนถึงฮาวาย
ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมีกล่าวถึงในพระราช
นิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคย
เป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของราชทูตจากศรีลังกาที่เข้ามา
ของพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต
ประโยชน์ของมังคุด สรรพคุณเพียบ
มังคุดเป็นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิยมมาก ได้รับขนานนามว่าเป็น "ราชินีของ
ผลไม้" อาจเป็นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่หัวขั้วของผลคล้าย
มงกุฎของพระราชินี ส่วนเนื้อในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่หวานอร่อย
เนื้อมังคุด
มีการนามังคุดมาประกอบอาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหาร
หวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุดแช่อิ่ม ในจังหวัด
นครศรีธรรมราชมีการทามังคุดคัด ด้วยการแกะเนื้อมังคุดห่ามออกมาเสียบไม้รับประทาน
ในขณะที่ส่วนใหญ่จะนิยมรับประทางมังคุดสุกเป็นผลไม้ ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยต่อต้าน
อนุมูลอิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้กับร่างกาย มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและการเกิด
ริ้วรอย ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใสอีก
นอกจากนี้ ยังช่วยป้องกันอาการไข้ (ไข้ระดับต่า) ช่วยเสริมสร้างกระดูกและ
ฟันให้แข็งแรง ช่วยเพิ่มพลังงานแก่ร่างกาย เพิ่มความกระปรี้กระเปร่า ยับยั้งการ
เจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดสิว ออกฤทธิ์ต้านสิวอักเสบได้ดี และมีส่วน
ช่วยป้องกันการเกิดโรคซึมเศร้า ลดความเครียด
การรับประทานมังคุดเป็ นประจา จะช่วยส่งเสริมให้มีสุขภาพจิตดี
อารมณ์ดีอยู่เสมอ ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกาย และลดไขมันที่ไม่ดีใน
เส้นเลือด มีส่วนช่วยป้องกันการเกิดเนื้องอกในร่างกาย มีสวนช่วยป้องกันการเกิด
โรคเบาหวาน ด้วยคุณสมบัติในการลดและควบคุมระดับน้าตาลอีกด้วย
เนื้อมังคุด มีเส้นกากใยสูง ช่วยเรื่องการขับถ่ายและมีวิตามินเกลือแร่สูงมาก
เช่น กรดอินทรีย์ น้าตาล แคลเซียม ฟอสฟอรัส และเหล็ก
ขั้นตอนการดาเนินงาน
1.สร้าง ID PLAN
2.ศึกษาเกี่ยวกับ การเกิดปิโตรเลียม
3.เรียบเรียงข้อมูล
4.ตรวจสอบข้อมูล
5.นาเสนอและเผยแพร่
ได้ทราบ – มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของมังคุด
--ประโยชน์ของมังคุด สรรพคุณของมังคุด
เช่น เนื้อมังคุด
มีการนามังคุดมาประกอบอาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหาร
หวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุดแช่อิ่ม ในจังหวัด
นครศรีธรรมราชมีการทามังคุดคัด ด้วยการแกะเนื้อมังคุดห่ามออกมาเสียบไม้
รับประทาน ในขณะที่ส่วนใหญ่จะนิยมรับประทางมังคุดสุกเป็นผลไม้ ซึ่งมีประโยชน์
ในการช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้กับร่างกาย มีส่วนช่วยใน
การชะลอวัยและการเกิดริ้วรอย ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใสอีก
มังคุด เป็นผลไม้ที่อยู่คู่คนไทยมานาน แต่จะมีสักกี่คนที่รู้จักมังคุดได้เป็นอย่างดี
ซึ่งมังคุดมีชื่อเรียกต่าง ๆ และมีความเป็นมา ดังนี้
มังคุด ชื่อภาษาอังกฤษคือ mangosteen มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Garcinia
mangostana Linn. มีชื่อเรียกในภาษามลายูว่ามังกุสตาน manggustan
ภาษาอินโดนีเซียเรียกมังกีส ภาษาพม่าเรียกมิงกุทธี ภาษาสิงหลเรียกมังกุส เป็นพันธุ์ไม้ไม่
ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีถิ่นกาเนิดอยู่ที่หมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ
แพร่กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึงไปสู่
กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา เอกวาดอร์ ไปจนถึงฮาวาย
ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมีกล่าวถึงในพระราช
นิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคย
เป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของราชทูตจากศรีลังกาที่เข้ามาของ
พระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต

More Related Content

ควยปามม

  • 2. ที่มาและความสาคัญ ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมี กล่าวถึงในพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ใน บริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคยเป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ใน จดหมายเหตุของราชทูตจากศรีลังกาที่เข้ามาของพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุด เป็นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษามังคุดว่ามีลักษณะทางพฤกษศาสตร์มีประโยชน์อย่างไร
  • 4. มังคุด เป็ นผลไม้ที่อยู่คู่คนไทยมานาน แต่จะมีสักกี่คนที่รู้จักมังคุดได้เป็ นอย่าง ดี ซึ่งมังคุดมีชื่อเรียกต่าง ๆ และมีความเป็ นมา ดังนี้ มังคุด ชื่อภาษาอังกฤษคือ mangosteen มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Garcinia mangostana Linn. มีชื่อเรียกในภาษามลายูว่ามังกุสตาน manggustan ภาษาอินโดนีเซียเรียกมังกีส ภาษาพม่าเรียกมิงกุทธี ภาษาสิงหลเรียกมังกุส เป็นพันธุ์ไม้ไม่ ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีถิ่นกาเนิดอยู่ที่หมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ แพร่กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึงไปสู่ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา เอกวาดอร์ ไปจนถึงฮาวาย ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมีกล่าวถึงในพระราช นิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคย เป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของราชทูตจากศรีลังกาที่เข้ามา ของพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต
  • 5. ประโยชน์ของมังคุด สรรพคุณเพียบ มังคุดเป็นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิยมมาก ได้รับขนานนามว่าเป็น "ราชินีของ ผลไม้" อาจเป็นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่หัวขั้วของผลคล้าย มงกุฎของพระราชินี ส่วนเนื้อในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่หวานอร่อย เนื้อมังคุด มีการนามังคุดมาประกอบอาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหาร หวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุดแช่อิ่ม ในจังหวัด นครศรีธรรมราชมีการทามังคุดคัด ด้วยการแกะเนื้อมังคุดห่ามออกมาเสียบไม้รับประทาน ในขณะที่ส่วนใหญ่จะนิยมรับประทางมังคุดสุกเป็นผลไม้ ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยต่อต้าน อนุมูลอิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้กับร่างกาย มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและการเกิด ริ้วรอย ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใสอีก
  • 6. นอกจากนี้ ยังช่วยป้องกันอาการไข้ (ไข้ระดับต่า) ช่วยเสริมสร้างกระดูกและ ฟันให้แข็งแรง ช่วยเพิ่มพลังงานแก่ร่างกาย เพิ่มความกระปรี้กระเปร่า ยับยั้งการ เจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดสิว ออกฤทธิ์ต้านสิวอักเสบได้ดี และมีส่วน ช่วยป้องกันการเกิดโรคซึมเศร้า ลดความเครียด การรับประทานมังคุดเป็ นประจา จะช่วยส่งเสริมให้มีสุขภาพจิตดี อารมณ์ดีอยู่เสมอ ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกาย และลดไขมันที่ไม่ดีใน เส้นเลือด มีส่วนช่วยป้องกันการเกิดเนื้องอกในร่างกาย มีสวนช่วยป้องกันการเกิด โรคเบาหวาน ด้วยคุณสมบัติในการลดและควบคุมระดับน้าตาลอีกด้วย เนื้อมังคุด มีเส้นกากใยสูง ช่วยเรื่องการขับถ่ายและมีวิตามินเกลือแร่สูงมาก เช่น กรดอินทรีย์ น้าตาล แคลเซียม ฟอสฟอรัส และเหล็ก
  • 7. ขั้นตอนการดาเนินงาน 1.สร้าง ID PLAN 2.ศึกษาเกี่ยวกับ การเกิดปิโตรเลียม 3.เรียบเรียงข้อมูล 4.ตรวจสอบข้อมูล 5.นาเสนอและเผยแพร่
  • 8. ได้ทราบ – มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของมังคุด --ประโยชน์ของมังคุด สรรพคุณของมังคุด เช่น เนื้อมังคุด มีการนามังคุดมาประกอบอาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหาร หวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุดแช่อิ่ม ในจังหวัด นครศรีธรรมราชมีการทามังคุดคัด ด้วยการแกะเนื้อมังคุดห่ามออกมาเสียบไม้ รับประทาน ในขณะที่ส่วนใหญ่จะนิยมรับประทางมังคุดสุกเป็นผลไม้ ซึ่งมีประโยชน์ ในการช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้กับร่างกาย มีส่วนช่วยใน การชะลอวัยและการเกิดริ้วรอย ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใสอีก
  • 9. มังคุด เป็นผลไม้ที่อยู่คู่คนไทยมานาน แต่จะมีสักกี่คนที่รู้จักมังคุดได้เป็นอย่างดี ซึ่งมังคุดมีชื่อเรียกต่าง ๆ และมีความเป็นมา ดังนี้ มังคุด ชื่อภาษาอังกฤษคือ mangosteen มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Garcinia mangostana Linn. มีชื่อเรียกในภาษามลายูว่ามังกุสตาน manggustan ภาษาอินโดนีเซียเรียกมังกีส ภาษาพม่าเรียกมิงกุทธี ภาษาสิงหลเรียกมังกุส เป็นพันธุ์ไม้ไม่ ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีถิ่นกาเนิดอยู่ที่หมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ แพร่กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึงไปสู่ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา เอกวาดอร์ ไปจนถึงฮาวาย ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมีกล่าวถึงในพระราช นิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ในบริเวณโรงพยาบาลศิริราชยังเคย เป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของราชทูตจากศรีลังกาที่เข้ามาของ พระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต