ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ประตินพ  น้อยนาค โรงพยาบาล สิงห์บุรี
การฝึกปฏิบัติการพัոาภาวะผู้Ȩ
ทฤษฎีเชิงปฏิรูป    ( Leadership  Theories  )  Bass ; 1985   ทฤษฎีภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน  (  Transsactional Ledership  ) เป็นทฤษฎีภาวะผู้นำที่เน้นการเสริมแรงด้วยการสร้างข้อตกลงร่วมกันว่าผู้ปฏิบัติงานจะได้รับสิ่งตอบแทนที่ต้องการหรือละเว้นจากการถูกลงโทษเมื่อพยายามปฏิบัติงานให้เกิดความสำเร็จตามเป้าหมายการแลกเปลี่ยน แบ่งออกเป็น  2  แนวทาง คือ  (  Bass ,1985 : 121 – 149  ) 1.  การให้รางวัลตามสถานการณ์ 2. การจัดการโดยการยกเว้นให้ข้อมูลป้อนกลับเชิงลบและเสริมแรงในสภาวการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
ทฤษฎีภาวะผู้Ȩการเปลี่ยนแปลง   (  Transformational  Leadership   แนวคิดเริ่มแรกของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง พัฒนาโดย  Burns  ( 1978 )  จากกการวิจัยเชิงพรรณนาในกลุ่มตัวอย่างผู้นำทางการเมือง จำแนกภาวะผู้นำออกเป็น  2  แบบ คือ ภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน  (  Transactional  Leadership  )  กับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง  (  Transformational  Leadership  )
ทฤษฎีภาวะผู้Ȩการเปลี่ยนแปลง   (  Transformational  Leadership Bass  ( 1985 )  ได้แนวคิดของ   Burns  มาศึกษาเพิ่มเติมและพบว่าผู้นำที่ดีและมีประสิทธิภาพในการทำงาน โดยส่วนใหญ่จะมีพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงมากกว่าภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน ซึ่งภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของ  Bass  มีคุณลักษณะสำคัญ  3  ประการ ได้แก่ การสร้างบารมี  (  Charisma  )  การคำนึงถึงความแตกต่างของบุคล  (  Individualized  )  การกระตุ้นให้เกิดสติปัญญา  (  Intellectual stimulation  )  การสร้างแรงบันดาลใจ  (  Inspirational Motivation  )
ทฤษฎีภาวะผู้Ȩการเปลี่ยนแปลง ข้อดี กระตุ้นและเปิดโอกาสให้บุคคลมีการพัฒนาตนเองมากขึ้นตามลำดับตั้งแต่ความต้องการพื้นฐาน ความต้องการทางด้านร่างกาย ความปลอดภัย ความรัก การได้รับการยกย่อง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาองค์กร และเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น มีความเข้าใจและยอมรับความแตกต่างของแต่ละบุคคล กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองปัญหาหรืออุปสรรคเป็นโอกาสพัฒนา ข้อเสีย ทฤษฎีผู้นำการเปลี่ยนแปลง ต้องมีความสามารถ บารมีในการจูงใจให้บุคคลปฏิบัติตามเงื่อนไขและการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน ข้อดี บุคคลมีกำลังใจในการทำงานให้สำเร็จเพื่อที่จะได้รับสิ่งแลกเปลี่ยนคือรางวัล การชมเชย ค่าตอบแทนเมื่อเกิดการปฏิบัติงานผิดพลาดก็ยอมรับการตำหนิอย่างเหมาะสม ข้อเสีย คนทำงานโดยหวังสิ่งตอบแทนเสมอจะปลูกฝังนิสัยที่ไม่ยอมเสียสละถ้าไม่ได้ผลประโยชน์ตอบแทน
การวิเคราะห์หัวหน้างาน การวิเคราะห์ภาวะผู้นำของหัวหน้างานโดยใช้ทฤษฎีภาวะผู้Ȩการเปลี่ยนแปลงและภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยนเป็นกรอบการวิเคราะห์ ข้อมูลทั่วไป ผู้นำของข้าพเจ้าเป็นผู้นำในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ  7   กลุ่มการพยาบาล หัวหน้างานกุมารเวชกรรม เป็นโรงพยาบาลทั่วไป  310   เตียง สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เขต  5   ประสบการณ์ทำงานในตำแหน่งหัวหน้างานกุมารเวชกรรม  7   ปี
หน้าที่ความรับผิดชอบ หัวหน้างานกุมารเวชกรรม  (  ผู้ป่วยแรกเกิดป่วย  ,NICU  จนถึงเด็กป่วยอายุ  14  ปี  )  30   เตียง มีผู้ใต้บังคับบัญชา ในความดูแล ดังนี้ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน  18   คน ผู้ช่วยพยาบาล จำนวน  1   คน พนักงานผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย จำนวน  3   คน พนักงานทำความสะอาด จำนวน  5   คน  เจ้าหน้าที่ศูนย์เครื่องมือแพทย์ จำนวน  5   คน
หน้าที่ความรับผิดชอบ  ( ต่อ ) หัวหน้างานพิเศษ  90   ปี  (  จำนวน  14   ห้อง  )  ควบคุมงานศูนย์เครื่องมือแพทย์ โรงพยาบาลสิงห์บุรี  (  ภายใต้การบริหารงานของหัวหน้ากลุ่มงานกุมารเวชกรรม  )  เจ้าหน้าที่พัสดุโรงพยาบาลสิงห์บุรี เลขานุการทีมนำทางคลินิก กลุ่มงานกุมารเวชกรรม คณะกรรมการอื่นๆ ของกลุ่มการพยาบาลและโรงพยาบาล
ความสัมพันธ์ ร่วมงานกับข้าพเจ้าในฐานะพยาบาลประจำการหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม  11   ปี ร่วมงานกับข้าพเจ้าในฐานะหัวหน้างานของข้าพเจ้า  7  ปี
ตัวอย่างที่  1 แสดงแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง   (  Transformation Leadership  ) หัวหน้างานของข้าพเจ้าใช้แบบภาวะผู้นำ ในเรื่อง   1.  การคำนึงถึงความเป็นเอกบุคคล  (  Individualized Considertion  )  เป็นความสามารถของผู้นำที่ทราบความต้องการที่แตกต่างของผู้ตาม ให้ความสนใจในความต้องการและความเจริญความก้าวหน้าของผู้ตาม โดยมอบหมายงานตามความรู้ ความสามารถและความต้องการ และยอมรับในความสนใจของผู้ตามแต่ละคน  ให้ความสนใจที่จะตอบสนองความต้องการความก้าวหน้าของผู้ตามและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่มีผลต่อการทำงานของผู้ตาม
1.1   การเน้นการพัฒนา โดยการมอบหมายงานการดูแลผู้ป่วยตามศักยภาพและความสามารถของผู้ตาม ดังนี้ เด็กป่วยทารกแรกเกิด  (  รวม  NICU  )  :  ให้พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมเวชปฏิบัติทารกแรกเกิดเป็นหัวหน้าทีม  (  มี  5   คน ) เด็กป่วย  Infant Pediatric  :  ให้พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมเด็กวิกฤต  ( 2 คน  )  และพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า  3   ปี เป็นหัวหน้าทีม  (  3   คน  )  Member nurse :  พยาบาลเทคนิคที่ปรับเป็นพยาบาลวิชาชีพ  (  5  คน  )  และผู้ช่วยพยาบาล  (  1 คน  )  เป็นสมาชิกในทีมพยาบาล ถ้าคนใดมีศักยภาพ สามารถแลกเวรเป็นหัวหน้าทีมได้ตามความสมัครใจ จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ หอผู้ป่วยตามความถนัดและความสามารถ เช่น พัฒนาคุณภาพการดูแลทากรคลอดก่อนกำหนด  , พัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยไข้เลือดออก   ,  ผู้จัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน ตัวอย่างที่  1  ( ต่อ )
ตัวอย่างที่  1  ( ต่อ ) 1.2  เน้นความเป็นบุคคล  เช่น  เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือการเคลื่อนไหวขององค์กรพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานจะนำข้อมูลแจ้งให้ทุกคนทราบในที่ประชุมประจำเดือน ถ้าด่วนจะมีการนัดประชุมแจ้งให้ทราบเพื่อให้ ผู้ตามเข้าใจและผู้นำได้มีโอกาสสังเกตความสนใจของผู้ตามด้วย  (  ทำให้ผู้ตามรู้สึกเหมือนเป็นคนในองค์กร  )   เช่น นโยบายให้เวรตรวจการตรวจเรื่องการแต่งกายถ้าพบที่หน่วยงานไหนไม่ถูกระเบียบจะทำเป็นกราฟนำเสนอ การลดอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ตามจำนวนผู้ป่วย การเปิดรับสมัครผู้จัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาลแทนคนเก่าที่ลาออก
ตัวอย่างที่  1 ( ต่อ ) การสร้างบารมี  (  Charisma  )  การทำให้ผู้ตามเกิดการนับถือ เชื่อฟัง รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า มีความสามารถอยากปฏิบัติงานด้วย โดยใช้ลักษณะพิเศษของตน ในเรื่องการส่งเสริมและกระตุ้นให้มีการพัฒนาตนเอง มีวิสัยทัศน์  (  พิสมัย ฉายแสง  , 2540  )  ในเรื่อง การสอบถาม  Traning need  ตามความต้องการและความสนใจของบุคลากรในทีมพยาบาล จัดทำแผนฝึกอบรมประจำปี และส่งเข้าอบรมโดยยึดความอาวุโส ถ้ามีประชุมวิชาการนอกแผน  จะกระตือรือร้นในการบันทึกขออนุมัติต่อผู้บริหาร เพื่อจัดส่งเจ้าหน้าที่เข้าอบรมตามความเหมาะสม
ตัวอย่างที่  1 ( ต่อ ) ข้อดี เกิดแรงจูงใจทำให้ผู้ตามเกิดความต้องการทำงานให้สำเร็จตามความถนัดของตน มีการเปิดโอกาสให้ผู้ตามแสดงความสามารถอย่างเต็มที่ ในงานที่ตนเองรับผิดชอบ ถ้าผู้นำเข้าใจในความแตกต่างของแต่ละบุคคลจริงๆจะทำให้มีการเลือดใช้ให้เกิดประโยชน์และมีการพัฒนาจุดอ่อนของบุคลากรให้ดีขึ้น มีการค้นหาว่าอะไรคือแรงจูงใจที่ดีที่สุดของผู้ตาม ข้อเสีย บางครั้ง บางสถานการณ์ การเปิดให้บุคลากรมีอิสระในการคิดและตัดสินใจมากไปก็ไม่เหมาะสม ทำให้การสั่งการควบคุมไม่เด็ดขาด
ตัวอย่างที่  2 แสดงแบบภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน  (  Transsactional Leadership  )  Bass ,1985 ในเรื่องการให้รางวัลตามสถานการณ์ โดยผู้นำและผู้ตามตกลงร่วมกันในการให้รางวัลตอบแทนเมื่องานบรรลุเป้าหมายซึ่งเป็นการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลสิงห์บุรีมีนโยบายต้องได้การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล  (  HA  )  ภายในปี  2549  ทำให้มีนโยบายจากฝ่ายบริหารลงสู่ฝ่ายปฏิบัติการ หัวหน้างานจึงต้องดำเนินงานให้หน่วยงานกุมารเวชกรรมปฏิบัติให้ได้ตาม มาตรฐานต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนด ซึ่งเกิดผลกระทบอย่างมากต่อพยาบาลประจำการเพราะภาระงานมากขึ้นจากงานประจำ ขึ้นเวร มีการรียกประชุมกันบ่อยขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากมีหลายคณะการทำงาน ปัญหาที่พบ  “ พยาบาลขาดประชุมกันมากและบ่อย ทำให้งานไม่ได้ตามเป้าหมาย
ตัวอย่างที่  2  ( ต่อ ) หัวหน้างานจึงเรียกประชุม พร้อมมีนโยบายว่า ถ้าใครขาดประชุมให้เขียนรายงาน และไม่พิจารณาขั้นพิเศษให้  (  ขั้นครึ่ง  -  สองขั้น  )  พร้อมกับชมเชยพยาบาลที่มาประชุมทุกครั้ง ทำให้พยาบาลมาประชุมทุกนัดหมาย  (  ยกเว้นถ้าจำเป็นจริงๆ ขออนุญาตล่วงหน้าได้  )
ตัวอย่างที่   2  ( ต่อ )   ข้อดี  เกิดแรงกระตุ้นให้ผู้ตามปฏิบัติตามในสิ่งที่ผู้นำต้องการ ข้อเสีย  บางครั้งการที่คนทำงานโดยหวังผลตอบแทนจะเป็นการปลูกฝังนิสัยที่ไม่ยอมเสียสละ ถ้าไม่ได้ผลตอบแทน
ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง ไม่สามารถสรุปได้ว่าภาวะผู้นำแบบใดดีที่สุด ขึ้นกับตัวผู้นำ สถานการณ์ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง บริบททางสังคมที่เปลี่ยนไปทำให้ผู้บริหารทางการพยาบาล และพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการจำเป็นต้องพัฒนาตนเองให้มีความเป็นผู้นำอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยในการขับเคลื่อนให้องค์กรสู่เป้าหมาย ทฤษฎีภาวะผู้นำมีหลายทฤษฎีแต่ละทฤษฎีมีทั้งข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไปควรมีการนำไปใช้อย่างผสมผสานและปรับใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ หัวหน้าหอผู้ป่วยมีบทบาทสำคัญที่สุดที่จะทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชารู้สึกถึงความสำคัญของงานและมีความพยายามที่จะทำให้งานบรรลุเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง  ( ต่อ ) การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสิ่งใดสิ่งหนึ่งต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนแปลง ต้องมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจริงจัง แต่มีเป้าหมายชัดเจน ผู้นำจำเป็นต้องใช้อำนาจให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าและควรใช้อย่างมีจริยธรรมมิใช่หลงว่าตนเองมีอำนาจและใช้อำนาจในทางที่ผิด การสร้างขวัญและกำลังใจ ได้แก่ การให้งานที่พอใจ การให้รางวัลเมื่อมีผลงานหรืองานมีประสิทธิภาพและการสร้างบรรยากาศการทำงาน ผู้นำต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ทักษะจูงใจมากกว่าจะใช้คำสั่ง
ขอบคุณ  ค่ะ

More Related Content

Leadership 02เปลี่ยนแปลง

  • 1. ประตินพ น้อยนาค โรงพยาบาล สิงห์บุรี
  • 3. ทฤษฎีเชิงปฏิรูป ( Leadership Theories ) Bass ; 1985 ทฤษฎีภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน ( Transsactional Ledership ) เป็นทฤษฎีภาวะผู้นำที่เน้นการเสริมแรงด้วยการสร้างข้อตกลงร่วมกันว่าผู้ปฏิบัติงานจะได้รับสิ่งตอบแทนที่ต้องการหรือละเว้นจากการถูกลงโทษเมื่อพยายามปฏิบัติงานให้เกิดความสำเร็จตามเป้าหมายการแลกเปลี่ยน แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ ( Bass ,1985 : 121 – 149 ) 1. การให้รางวัลตามสถานการณ์ 2. การจัดการโดยการยกเว้นให้ข้อมูลป้อนกลับเชิงลบและเสริมแรงในสภาวการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
  • 4. ทฤษฎีภาวะผู้Ȩการเปลี่ยนแปลง ( Transformational Leadership แนวคิดเริ่มแรกของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง พัฒนาโดย Burns ( 1978 ) จากกการวิจัยเชิงพรรณนาในกลุ่มตัวอย่างผู้นำทางการเมือง จำแนกภาวะผู้นำออกเป็น 2 แบบ คือ ภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน ( Transactional Leadership ) กับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ( Transformational Leadership )
  • 5. ทฤษฎีภาวะผู้Ȩการเปลี่ยนแปลง ( Transformational Leadership Bass ( 1985 ) ได้แนวคิดของ Burns มาศึกษาเพิ่มเติมและพบว่าผู้นำที่ดีและมีประสิทธิภาพในการทำงาน โดยส่วนใหญ่จะมีพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงมากกว่าภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน ซึ่งภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดของ Bass มีคุณลักษณะสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ การสร้างบารมี ( Charisma ) การคำนึงถึงความแตกต่างของบุคล ( Individualized ) การกระตุ้นให้เกิดสติปัญญา ( Intellectual stimulation ) การสร้างแรงบันดาลใจ ( Inspirational Motivation )
  • 6. ทฤษฎีภาวะผู้Ȩการเปลี่ยนแปลง ข้อดี กระตุ้นและเปิดโอกาสให้บุคคลมีการพัฒนาตนเองมากขึ้นตามลำดับตั้งแต่ความต้องการพื้นฐาน ความต้องการทางด้านร่างกาย ความปลอดภัย ความรัก การได้รับการยกย่อง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาองค์กร และเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น มีความเข้าใจและยอมรับความแตกต่างของแต่ละบุคคล กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองปัญหาหรืออุปสรรคเป็นโอกาสพัฒนา ข้อเสีย ทฤษฎีผู้นำการเปลี่ยนแปลง ต้องมีความสามารถ บารมีในการจูงใจให้บุคคลปฏิบัติตามเงื่อนไขและการเปลี่ยนแปลง
  • 7. ทฤษฎีภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน ข้อดี บุคคลมีกำลังใจในการทำงานให้สำเร็จเพื่อที่จะได้รับสิ่งแลกเปลี่ยนคือรางวัล การชมเชย ค่าตอบแทนเมื่อเกิดการปฏิบัติงานผิดพลาดก็ยอมรับการตำหนิอย่างเหมาะสม ข้อเสีย คนทำงานโดยหวังสิ่งตอบแทนเสมอจะปลูกฝังนิสัยที่ไม่ยอมเสียสละถ้าไม่ได้ผลประโยชน์ตอบแทน
  • 8. การวิเคราะห์หัวหน้างาน การวิเคราะห์ภาวะผู้นำของหัวหน้างานโดยใช้ทฤษฎีภาวะผู้Ȩการเปลี่ยนแปลงและภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยนเป็นกรอบการวิเคราะห์ ข้อมูลทั่วไป ผู้นำของข้าพเจ้าเป็นผู้นำในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล หัวหน้างานกุมารเวชกรรม เป็นโรงพยาบาลทั่วไป 310 เตียง สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เขต 5 ประสบการณ์ทำงานในตำแหน่งหัวหน้างานกุมารเวชกรรม 7 ปี
  • 9. หน้าที่ความรับผิดชอบ หัวหน้างานกุมารเวชกรรม ( ผู้ป่วยแรกเกิดป่วย ,NICU จนถึงเด็กป่วยอายุ 14 ปี ) 30 เตียง มีผู้ใต้บังคับบัญชา ในความดูแล ดังนี้ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 18 คน ผู้ช่วยพยาบาล จำนวน 1 คน พนักงานผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย จำนวน 3 คน พนักงานทำความสะอาด จำนวน 5 คน เจ้าหน้าที่ศูนย์เครื่องมือแพทย์ จำนวน 5 คน
  • 10. หน้าที่ความรับผิดชอบ ( ต่อ ) หัวหน้างานพิเศษ 90 ปี ( จำนวน 14 ห้อง ) ควบคุมงานศูนย์เครื่องมือแพทย์ โรงพยาบาลสิงห์บุรี ( ภายใต้การบริหารงานของหัวหน้ากลุ่มงานกุมารเวชกรรม ) เจ้าหน้าที่พัสดุโรงพยาบาลสิงห์บุรี เลขานุการทีมนำทางคลินิก กลุ่มงานกุมารเวชกรรม คณะกรรมการอื่นๆ ของกลุ่มการพยาบาลและโรงพยาบาล
  • 11. ความสัมพันธ์ ร่วมงานกับข้าพเจ้าในฐานะพยาบาลประจำการหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 11 ปี ร่วมงานกับข้าพเจ้าในฐานะหัวหน้างานของข้าพเจ้า 7 ปี
  • 12. ตัวอย่างที่ 1 แสดงแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ( Transformation Leadership ) หัวหน้างานของข้าพเจ้าใช้แบบภาวะผู้นำ ในเรื่อง 1. การคำนึงถึงความเป็นเอกบุคคล ( Individualized Considertion ) เป็นความสามารถของผู้นำที่ทราบความต้องการที่แตกต่างของผู้ตาม ให้ความสนใจในความต้องการและความเจริญความก้าวหน้าของผู้ตาม โดยมอบหมายงานตามความรู้ ความสามารถและความต้องการ และยอมรับในความสนใจของผู้ตามแต่ละคน ให้ความสนใจที่จะตอบสนองความต้องการความก้าวหน้าของผู้ตามและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่มีผลต่อการทำงานของผู้ตาม
  • 13. 1.1 การเน้นการพัฒนา โดยการมอบหมายงานการดูแลผู้ป่วยตามศักยภาพและความสามารถของผู้ตาม ดังนี้ เด็กป่วยทารกแรกเกิด ( รวม NICU ) : ให้พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมเวชปฏิบัติทารกแรกเกิดเป็นหัวหน้าทีม ( มี 5 คน ) เด็กป่วย Infant Pediatric : ให้พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรมเด็กวิกฤต ( 2 คน ) และพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 3 ปี เป็นหัวหน้าทีม ( 3 คน ) Member nurse : พยาบาลเทคนิคที่ปรับเป็นพยาบาลวิชาชีพ ( 5 คน ) และผู้ช่วยพยาบาล ( 1 คน ) เป็นสมาชิกในทีมพยาบาล ถ้าคนใดมีศักยภาพ สามารถแลกเวรเป็นหัวหน้าทีมได้ตามความสมัครใจ จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ หอผู้ป่วยตามความถนัดและความสามารถ เช่น พัฒนาคุณภาพการดูแลทากรคลอดก่อนกำหนด , พัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยไข้เลือดออก , ผู้จัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน ตัวอย่างที่ 1 ( ต่อ )
  • 14. ตัวอย่างที่ 1 ( ต่อ ) 1.2 เน้นความเป็นบุคคล เช่น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือการเคลื่อนไหวขององค์กรพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานจะนำข้อมูลแจ้งให้ทุกคนทราบในที่ประชุมประจำเดือน ถ้าด่วนจะมีการนัดประชุมแจ้งให้ทราบเพื่อให้ ผู้ตามเข้าใจและผู้นำได้มีโอกาสสังเกตความสนใจของผู้ตามด้วย ( ทำให้ผู้ตามรู้สึกเหมือนเป็นคนในองค์กร ) เช่น นโยบายให้เวรตรวจการตรวจเรื่องการแต่งกายถ้าพบที่หน่วยงานไหนไม่ถูกระเบียบจะทำเป็นกราฟนำเสนอ การลดอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ตามจำนวนผู้ป่วย การเปิดรับสมัครผู้จัดการความเสี่ยงของโรงพยาบาลแทนคนเก่าที่ลาออก
  • 15. ตัวอย่างที่ 1 ( ต่อ ) การสร้างบารมี ( Charisma ) การทำให้ผู้ตามเกิดการนับถือ เชื่อฟัง รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า มีความสามารถอยากปฏิบัติงานด้วย โดยใช้ลักษณะพิเศษของตน ในเรื่องการส่งเสริมและกระตุ้นให้มีการพัฒนาตนเอง มีวิสัยทัศน์ ( พิสมัย ฉายแสง , 2540 ) ในเรื่อง การสอบถาม Traning need ตามความต้องการและความสนใจของบุคลากรในทีมพยาบาล จัดทำแผนฝึกอบรมประจำปี และส่งเข้าอบรมโดยยึดความอาวุโส ถ้ามีประชุมวิชาการนอกแผน จะกระตือรือร้นในการบันทึกขออนุมัติต่อผู้บริหาร เพื่อจัดส่งเจ้าหน้าที่เข้าอบรมตามความเหมาะสม
  • 16. ตัวอย่างที่ 1 ( ต่อ ) ข้อดี เกิดแรงจูงใจทำให้ผู้ตามเกิดความต้องการทำงานให้สำเร็จตามความถนัดของตน มีการเปิดโอกาสให้ผู้ตามแสดงความสามารถอย่างเต็มที่ ในงานที่ตนเองรับผิดชอบ ถ้าผู้นำเข้าใจในความแตกต่างของแต่ละบุคคลจริงๆจะทำให้มีการเลือดใช้ให้เกิดประโยชน์และมีการพัฒนาจุดอ่อนของบุคลากรให้ดีขึ้น มีการค้นหาว่าอะไรคือแรงจูงใจที่ดีที่สุดของผู้ตาม ข้อเสีย บางครั้ง บางสถานการณ์ การเปิดให้บุคลากรมีอิสระในการคิดและตัดสินใจมากไปก็ไม่เหมาะสม ทำให้การสั่งการควบคุมไม่เด็ดขาด
  • 17. ตัวอย่างที่ 2 แสดงแบบภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยน ( Transsactional Leadership ) Bass ,1985 ในเรื่องการให้รางวัลตามสถานการณ์ โดยผู้นำและผู้ตามตกลงร่วมกันในการให้รางวัลตอบแทนเมื่องานบรรลุเป้าหมายซึ่งเป็นการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลสิงห์บุรีมีนโยบายต้องได้การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) ภายในปี 2549 ทำให้มีนโยบายจากฝ่ายบริหารลงสู่ฝ่ายปฏิบัติการ หัวหน้างานจึงต้องดำเนินงานให้หน่วยงานกุมารเวชกรรมปฏิบัติให้ได้ตาม มาตรฐานต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนด ซึ่งเกิดผลกระทบอย่างมากต่อพยาบาลประจำการเพราะภาระงานมากขึ้นจากงานประจำ ขึ้นเวร มีการรียกประชุมกันบ่อยขึ้นกว่าเดิม เนื่องจากมีหลายคณะการทำงาน ปัญหาที่พบ “ พยาบาลขาดประชุมกันมากและบ่อย ทำให้งานไม่ได้ตามเป้าหมาย
  • 18. ตัวอย่างที่ 2 ( ต่อ ) หัวหน้างานจึงเรียกประชุม พร้อมมีนโยบายว่า ถ้าใครขาดประชุมให้เขียนรายงาน และไม่พิจารณาขั้นพิเศษให้ ( ขั้นครึ่ง - สองขั้น ) พร้อมกับชมเชยพยาบาลที่มาประชุมทุกครั้ง ทำให้พยาบาลมาประชุมทุกนัดหมาย ( ยกเว้นถ้าจำเป็นจริงๆ ขออนุญาตล่วงหน้าได้ )
  • 19. ตัวอย่างที่ 2 ( ต่อ ) ข้อดี เกิดแรงกระตุ้นให้ผู้ตามปฏิบัติตามในสิ่งที่ผู้นำต้องการ ข้อเสีย บางครั้งการที่คนทำงานโดยหวังผลตอบแทนจะเป็นการปลูกฝังนิสัยที่ไม่ยอมเสียสละ ถ้าไม่ได้ผลตอบแทน
  • 20. ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง ไม่สามารถสรุปได้ว่าภาวะผู้นำแบบใดดีที่สุด ขึ้นกับตัวผู้นำ สถานการณ์ ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง บริบททางสังคมที่เปลี่ยนไปทำให้ผู้บริหารทางการพยาบาล และพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการจำเป็นต้องพัฒนาตนเองให้มีความเป็นผู้นำอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยในการขับเคลื่อนให้องค์กรสู่เป้าหมาย ทฤษฎีภาวะผู้นำมีหลายทฤษฎีแต่ละทฤษฎีมีทั้งข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไปควรมีการนำไปใช้อย่างผสมผสานและปรับใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ หัวหน้าหอผู้ป่วยมีบทบาทสำคัญที่สุดที่จะทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชารู้สึกถึงความสำคัญของงานและมีความพยายามที่จะทำให้งานบรรลุเป้าหมาย
  • 21. ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง ( ต่อ ) การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสิ่งใดสิ่งหนึ่งต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนแปลง ต้องมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจริงจัง แต่มีเป้าหมายชัดเจน ผู้นำจำเป็นต้องใช้อำนาจให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าและควรใช้อย่างมีจริยธรรมมิใช่หลงว่าตนเองมีอำนาจและใช้อำนาจในทางที่ผิด การสร้างขวัญและกำลังใจ ได้แก่ การให้งานที่พอใจ การให้รางวัลเมื่อมีผลงานหรืองานมีประสิทธิภาพและการสร้างบรรยากาศการทำงาน ผู้นำต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยใช้ทักษะจูงใจมากกว่าจะใช้คำสั่ง