ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การประกันภัยตาม พ.ร.บ.
คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และ
การประกันชีวิต
ประกัน พ.ร.บ.คืออะไร
• คำว่ำ พ.ร.บ. ที่เรำมักพูดกันติดปำกนี้ หมำยถึง กำรประกัน
รถยนต์ภำคบังคับตำมพระรำชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจำก
รถ พ.ศ. 2535 โดย ที่บังคับให้รถยนต์ทุกคันที่จดทะเบียนกับกำร
ขนส่งทำงบกจะต้องทำประกันภัยตำม พ.ร.บ. ที่ว่ำนี้ หำกไม่ทำก็
จะมีควำมผิด มีโทษปรับไม่เกิน 10,000 บำท หรือแม้ทำแล้วแต่
แต่ไม่ติดเครื่องหมำยไว้(สติกเกอร์ พ.ร.บ.บุคคลที่ 3) ที่รถให้
เห็นชัดเจนก็มีโทษปรับไม่เกิน 1,000 บำท ประกันนี้จึงมักเรียก
กันย่อ ๆ ว่ำ ประกันภำคบังคับ
ตัวอย่างสติกเกอร์ พ.ร.บ.(ก่อนยกเลิก)
• อย่ำงไรก็ตำม ตั้งแต่ 6 เมษำยน 2550 ได้มีการยกเลิก
การติดสติกเกอร์ดังกล่าวแล้ว เพรำะหำกไม่ทำกรมธรรม์
พ.ร.บ. ก่อน กรมกำรขนส่งฯ จะไม่รับจดทะเบียนรถหรือ
ต่อภำษีประจำปีให้ พูดให้ง่ำยขึ้นคือ รถทุกคันที่จดทะเบียน
ได้หรือต่อภำษีประจำปีแล้ว จะมี พ.ร.บ. โดยปริยำย
เจ้ำของรถเพียงเก็บสำเนำใบเสร็จรับเงินและสำเนำ
กรมธรรม์ไว้กับรถสำหรับอ้ำงอิงกรณีเกิดอุบัติเหตุก็พอ
• วงเงินคุ้มครอง
• ควำมคุ้มครองควำมเสียหำยที่เกิดขึ้น จะได้เฉพำะควำม
เสียหำยที่เกิดขึ้นกับบุคคลเท่ำนั้น ไม่คุ้มครองควำมเสียหำย
อื่นๆ ใด ๆ ทั้งสิ้น(จาง่าย ๆ คือ คุ้มครอง "คน" ไม่คุ้มครอง
"รถ") โดยควำมคุ้มครองจำก พ.ร.บ กำหนดให้มีมูลค่ำควำม
รับผิดชอบ (ต่อคน) ดังนี้
• ค่ำรักษำพยำบำล จ่ำยไม่เกิน 50,000 บำทต่อคน
• กรณีเสียชีวิต หรือทุพพลภำพถำวร จ่ำย ไม่เกิน 100,000 บำท
ต่อคน
การรับความคุ้มครอง
• หลังจำกประสบภัยจำกรถผู้ประสบภัยสำมำรถขอรับควำม
คุ้มครอง โดย
1. หำก รักษำตัวที่โรงพยำบำลสำมำรถแจ้งควำมจำนงกับ
โรงพยำบำลในกำรใช้สิทธิพ.ร.บ. โดยมอบอำนำจให้ทำง
โรงพยำบำลเบิกค่ำรักษำพยำบำลเบื้องต้นกับบริษัทประกันภัย ได้
ทันที
• 2. หำกไม่ได้รักษำตัวที่โรงพยำบำลแต่ผู้ประสบภัยสำรองจ่ำยไป
ก่อนก็สำมำรถนำเอกสำรไปตั้งเบิกกับบริษัทที่ทำประกันไว้ได้
ภำยใน 180 วัน
เอกสารในการเคลมประกันมีดังนี้
• สำเนำบัตรประจำตัวประชำชน
• สำเนำทะเบียนบ้ำน
• สำเนำพ.ร.บ. (หรือพ.ร.บ.ตัวจริงที่เอำประกันอยู่)
• สำเนำทะเบียนรถ
• บันทึกประจำวันของเจ้ำหน้ำที่ตำรวจ
• ใบเสร็จรับเงินจำกทำงโรงพยำบำลที่สำรองจ่ำยไป
ทั้งหมด
คปภ. PPT พุฒิพงศ์ N.4 น้ำเพชร n.10
• ควรทาประกัน พ.ร.บ. และประกันภาคสมัครใจจากบริษัทเดียวกัน
หรือไม่
เรื่องนี้มี 2 ประเด็น ประเด็นที่ 1.
จริง ๆ แล้วกฎหมำยก็ไม่ได้บังคับว่ำต้องเป็นบริษัทเดียวกัน แต่ต้อง
ไม่ลืมว่ำ ควำมคุ้มครองตำม พรบ. นั้นจำกัดอยู่ที่ 50,000 บำท (กรณีที่
มีกำรบำดเจ็บ) หรือ 100,000 บำท (กรณีเสียชีวิต) เท่ำนั้น มันก็อำจจะ
ไม่เพียงพอในบำงกรณี โดยเฉพำะเมื่อเรำเป็นฝ่ำยผิดและคู่กรณีที่
ได้รับบำดเจ็บต้องเข้ำรับกำรรักษำที่โรงพยำบำลที่มีค่ำใช้จ่ำยเพิ่มขึ้น
และเรำคงไม่สำมำรถปัดควำมรับผิดชอบนี้ได้
• ประด็นที่ 2.
ได้มีกำรออก พ.ร.บ. นี้ ฉบับที่ 5 เมื่อ 19 ก.พ. 2551 โดย
กำหนดว่ำ ถ้ำเรำทำประกันภัยภำคสมัครใจที่มีเงื่อนไข
คุ้มครองที่ครอบคลุมตำมที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ. อยู่แล้ว
และคิดว่ำไม่จำเป็นต้องเพิ่มวงเงินประกันสำหรับ
ผู้ประสบภัยให้สูงไปกว่ำนี้ เรำก็ทำประกันภัยรถยȨ์
พร้อม พ.ร.บ. ไปเลย (Two in One) ก็นับว่ำสะดวกดี และ
เบี้ยประกันจะลดลงเล็กน้อย
• หมายเหตุ
คำว่ำ พ.ร.บ. จริง ๆ แล้วย่อมำจำกคำว่ำ พระราชบัญญัติ
หมำยถึง บทกฎหมำยที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตำมปรกติ
เพื่อวำงระเบียบบังคับควำมประพฤติของบุคคลรวมทั้ง
องค์กรและเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมำย
ที่มีฐำนะสูงกว่ำบทกฎหมำยอื่น ๆ นอกจำกรัฐธรรมนูญ
ก่อนประกำศใช้บังคับ
• ดังนั้น ประกัน พ.ร.บ. ที่เรำพูดย่อ ๆ กัน ถ้ำจะย่อให้
ถูก ควรพูดย่อว่ำ ประกันตำม พ.ร.บ. แต่มันก็คงยำว
ไปสำหรับคนไทยอยู่ดี เพื่อควำมสะดวกก็เลยเรียก
กันย่อ ๆ หลำย ๆ แบบ แต่ก็เป็นที่เข้ำใจทั่วกันว่ำ
เป็นกำรทำประกันภัยตำมที่กล่ำวมำแต่ต้น เช่น
พ.ร.บ. ทำ พ.ร.บ. ประกัน พ.ร.บ.
คาถามจร้า^^
• 1. วงเงินคุ้มครองผู้ประสบอุบัติเหตุกรณีเสียชีวิต
หรือทุพพลภำพถำวร จะได้รับค่ำควำมรับผิดชอบ
เท่ำไร
• 1. 30000
• 2. 50000
• 3. 80000
• 4.100000
• 2. หำกไม่ทำประกัน พ.ร.บ. ก็จะมีควำมผิด มีโทษ
ปรับไม่เกิน เท่ำไร
• 1. 2000 บำท
• 2. 5000 บำท
• 3. 7000 บำท
• 4. 10000 บำท
เสนอต่อ
•อำจำรย์ศิริรัตน์ นำไทย
จัดทาโดย
• นายพุฒิพงศ์ สุวรรณหิตาธร ม.6/1 เลขที่ 4
• นางสาวน้าเพชร ขาวงษ์ ม.6/1 เลขที่ 10

More Related Content

More from Original Mike (6)

ข้อสอบ O net พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
ข้อสอบ O net  พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิทข้อสอบ O net  พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
ข้อสอบ O net พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
Original Mike
พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิทพุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
Original Mike
งาȨำเสนอ33333333333
งาȨำเสนอ33333333333งาȨำเสนอ33333333333
งาȨำเสนอ33333333333
Original Mike
งาȨำเสนอ222222
งาȨำเสนอ222222งาȨำเสนอ222222
งาȨำเสนอ222222
Original Mike
ประวัติส่วȨัวพุոพงศ์
ประวัติส่วȨัวพุոพงศ์ประวัติส่วȨัวพุոพงศ์
ประวัติส่วȨัวพุոพงศ์
Original Mike
ข้อสอบ O net พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
ข้อสอบ O net  พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิทข้อสอบ O net  พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
ข้อสอบ O net พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
Original Mike
พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิทพุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
พุฒิพงศ์ น้ำเพชร ภาวิท
Original Mike
งาȨำเสนอ33333333333
งาȨำเสนอ33333333333งาȨำเสนอ33333333333
งาȨำเสนอ33333333333
Original Mike
งาȨำเสนอ222222
งาȨำเสนอ222222งาȨำเสนอ222222
งาȨำเสนอ222222
Original Mike
ประวัติส่วȨัวพุոพงศ์
ประวัติส่วȨัวพุոพงศ์ประวัติส่วȨัวพุոพงศ์
ประวัติส่วȨัวพุոพงศ์
Original Mike

คปภ. PPT พุฒิพงศ์ N.4 น้ำเพชร n.10

  • 2. ประกัน พ.ร.บ.คืออะไร • คำว่ำ พ.ร.บ. ที่เรำมักพูดกันติดปำกนี้ หมำยถึง กำรประกัน รถยนต์ภำคบังคับตำมพระรำชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจำก รถ พ.ศ. 2535 โดย ที่บังคับให้รถยนต์ทุกคันที่จดทะเบียนกับกำร ขนส่งทำงบกจะต้องทำประกันภัยตำม พ.ร.บ. ที่ว่ำนี้ หำกไม่ทำก็ จะมีควำมผิด มีโทษปรับไม่เกิน 10,000 บำท หรือแม้ทำแล้วแต่ แต่ไม่ติดเครื่องหมำยไว้(สติกเกอร์ พ.ร.บ.บุคคลที่ 3) ที่รถให้ เห็นชัดเจนก็มีโทษปรับไม่เกิน 1,000 บำท ประกันนี้จึงมักเรียก กันย่อ ๆ ว่ำ ประกันภำคบังคับ
  • 4. • อย่ำงไรก็ตำม ตั้งแต่ 6 เมษำยน 2550 ได้มีการยกเลิก การติดสติกเกอร์ดังกล่าวแล้ว เพรำะหำกไม่ทำกรมธรรม์ พ.ร.บ. ก่อน กรมกำรขนส่งฯ จะไม่รับจดทะเบียนรถหรือ ต่อภำษีประจำปีให้ พูดให้ง่ำยขึ้นคือ รถทุกคันที่จดทะเบียน ได้หรือต่อภำษีประจำปีแล้ว จะมี พ.ร.บ. โดยปริยำย เจ้ำของรถเพียงเก็บสำเนำใบเสร็จรับเงินและสำเนำ กรมธรรม์ไว้กับรถสำหรับอ้ำงอิงกรณีเกิดอุบัติเหตุก็พอ
  • 5. • วงเงินคุ้มครอง • ควำมคุ้มครองควำมเสียหำยที่เกิดขึ้น จะได้เฉพำะควำม เสียหำยที่เกิดขึ้นกับบุคคลเท่ำนั้น ไม่คุ้มครองควำมเสียหำย อื่นๆ ใด ๆ ทั้งสิ้น(จาง่าย ๆ คือ คุ้มครอง "คน" ไม่คุ้มครอง "รถ") โดยควำมคุ้มครองจำก พ.ร.บ กำหนดให้มีมูลค่ำควำม รับผิดชอบ (ต่อคน) ดังนี้ • ค่ำรักษำพยำบำล จ่ำยไม่เกิน 50,000 บำทต่อคน • กรณีเสียชีวิต หรือทุพพลภำพถำวร จ่ำย ไม่เกิน 100,000 บำท ต่อคน
  • 6. การรับความคุ้มครอง • หลังจำกประสบภัยจำกรถผู้ประสบภัยสำมำรถขอรับควำม คุ้มครอง โดย 1. หำก รักษำตัวที่โรงพยำบำลสำมำรถแจ้งควำมจำนงกับ โรงพยำบำลในกำรใช้สิทธิพ.ร.บ. โดยมอบอำนำจให้ทำง โรงพยำบำลเบิกค่ำรักษำพยำบำลเบื้องต้นกับบริษัทประกันภัย ได้ ทันที • 2. หำกไม่ได้รักษำตัวที่โรงพยำบำลแต่ผู้ประสบภัยสำรองจ่ำยไป ก่อนก็สำมำรถนำเอกสำรไปตั้งเบิกกับบริษัทที่ทำประกันไว้ได้ ภำยใน 180 วัน
  • 7. เอกสารในการเคลมประกันมีดังนี้ • สำเนำบัตรประจำตัวประชำชน • สำเนำทะเบียนบ้ำน • สำเนำพ.ร.บ. (หรือพ.ร.บ.ตัวจริงที่เอำประกันอยู่) • สำเนำทะเบียนรถ • บันทึกประจำวันของเจ้ำหน้ำที่ตำรวจ • ใบเสร็จรับเงินจำกทำงโรงพยำบำลที่สำรองจ่ำยไป ทั้งหมด
  • 9. • ควรทาประกัน พ.ร.บ. และประกันภาคสมัครใจจากบริษัทเดียวกัน หรือไม่ เรื่องนี้มี 2 ประเด็น ประเด็นที่ 1. จริง ๆ แล้วกฎหมำยก็ไม่ได้บังคับว่ำต้องเป็นบริษัทเดียวกัน แต่ต้อง ไม่ลืมว่ำ ควำมคุ้มครองตำม พรบ. นั้นจำกัดอยู่ที่ 50,000 บำท (กรณีที่ มีกำรบำดเจ็บ) หรือ 100,000 บำท (กรณีเสียชีวิต) เท่ำนั้น มันก็อำจจะ ไม่เพียงพอในบำงกรณี โดยเฉพำะเมื่อเรำเป็นฝ่ำยผิดและคู่กรณีที่ ได้รับบำดเจ็บต้องเข้ำรับกำรรักษำที่โรงพยำบำลที่มีค่ำใช้จ่ำยเพิ่มขึ้น และเรำคงไม่สำมำรถปัดควำมรับผิดชอบนี้ได้
  • 10. • ประด็นที่ 2. ได้มีกำรออก พ.ร.บ. นี้ ฉบับที่ 5 เมื่อ 19 ก.พ. 2551 โดย กำหนดว่ำ ถ้ำเรำทำประกันภัยภำคสมัครใจที่มีเงื่อนไข คุ้มครองที่ครอบคลุมตำมที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ. อยู่แล้ว และคิดว่ำไม่จำเป็นต้องเพิ่มวงเงินประกันสำหรับ ผู้ประสบภัยให้สูงไปกว่ำนี้ เรำก็ทำประกันภัยรถยȨ์ พร้อม พ.ร.บ. ไปเลย (Two in One) ก็นับว่ำสะดวกดี และ เบี้ยประกันจะลดลงเล็กน้อย
  • 11. • หมายเหตุ คำว่ำ พ.ร.บ. จริง ๆ แล้วย่อมำจำกคำว่ำ พระราชบัญญัติ หมำยถึง บทกฎหมำยที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตำมปรกติ เพื่อวำงระเบียบบังคับควำมประพฤติของบุคคลรวมทั้ง องค์กรและเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมำย ที่มีฐำนะสูงกว่ำบทกฎหมำยอื่น ๆ นอกจำกรัฐธรรมนูญ ก่อนประกำศใช้บังคับ
  • 12. • ดังนั้น ประกัน พ.ร.บ. ที่เรำพูดย่อ ๆ กัน ถ้ำจะย่อให้ ถูก ควรพูดย่อว่ำ ประกันตำม พ.ร.บ. แต่มันก็คงยำว ไปสำหรับคนไทยอยู่ดี เพื่อควำมสะดวกก็เลยเรียก กันย่อ ๆ หลำย ๆ แบบ แต่ก็เป็นที่เข้ำใจทั่วกันว่ำ เป็นกำรทำประกันภัยตำมที่กล่ำวมำแต่ต้น เช่น พ.ร.บ. ทำ พ.ร.บ. ประกัน พ.ร.บ.
  • 13. คาถามจร้า^^ • 1. วงเงินคุ้มครองผู้ประสบอุบัติเหตุกรณีเสียชีวิต หรือทุพพลภำพถำวร จะได้รับค่ำควำมรับผิดชอบ เท่ำไร • 1. 30000 • 2. 50000 • 3. 80000 • 4.100000
  • 14. • 2. หำกไม่ทำประกัน พ.ร.บ. ก็จะมีควำมผิด มีโทษ ปรับไม่เกิน เท่ำไร • 1. 2000 บำท • 2. 5000 บำท • 3. 7000 บำท • 4. 10000 บำท
  • 16. จัดทาโดย • นายพุฒิพงศ์ สุวรรณหิตาธร ม.6/1 เลขที่ 4 • นางสาวน้าเพชร ขาวงษ์ ม.6/1 เลขที่ 10