Nano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 3. คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 2556 เห็นชอบมาตรการสนับสนุนการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ
โดยมีกระทรวงการคลังและ ธปท. เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก
วัตถุประสงค์
หนึ่งในมาตรการสนับสนุนฯ คือ มาตรการสินเชื่อ Nano-Finance
- การอนุญาตให้นิติบุคคลสามารถให้สินเชื่อเพื่อให้ผู้ประกอบการรายย่อย
สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้สะดวก
มากยิ่งขึ้น และแก้ไขปัญหาภาระดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงินนอกระบบ โดยกำาหนด
ให้ธุรกิจสินเชื่อเพื่อประชาชนรายย่อยสามารถคิดอัตราดอกเบี้ยได้ตามความ
เหมาะสมและอยู่ในระดับที่ไม่เป็นภาระมากจนเกินควร
ต้องกำาหนดเกณฑ์การกำากับดูแลสินเชื่อรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพ โดยส่ง
เสริมให้การประกอบธุรกิจดังกล่าวมีความเป็นธรรม ไม่เอาเปรียบผู้บริโภค และมี
ผลตอบแทนจากการประกอบธุรกิจที่คุ้มค่ากับความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
3
- 5. ปัญหาหนี้นอกระบบ (1)
ที่มา : ธปท. (2556) 5
จากการสำารวจข้อมูลของ ธปท. ในปี 2556
– ครัวเรือนที่ใช้บริการหนี้นอกระบบร้อยละ 2.9 ของครัวเรือนทั้งหมด (6 แสน
ครัวเรือน)
– ครัวเรือนที่เข้าไม่ถึงบริการทางการเงินใด ๆ ร้อยละ 6 (1.34 ล้านครัวเรือน)
รายงานภาวะสังคมไทยของ สศช. ปี 2556 เฉลี่ยครัวเรือนเป็นหนี้นอกระบบ
3,136 บาท/ครัวเรือน (มูลหนี้ 63,661 ลบ.)
- 6. ปัญหาหนี้นอกระบบ (2)
จากการสำารวจลูกหนี้นอกระบบของ สศค. จำานวน 400 ราย
ในปี 2554
- มีรายได้ไม่สูงมากนัก (ร้อยละ 75 มีรายได้น้อยกว่า 20,000 บาทต่อเดือน)
จึงไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย
- ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพอิสระ (ร้อยละ 75) ทำาให้ไม่มีหลักฐานแสดงรายได้
เพื่อใช้กู้เงินกับสถาบันการเงิน
- อัตราดอกเบี้ยสูง (ร้อยละ 5-20 ต่อเดือน) กู้ยืม 1-2 ครั้งต่อเดือน และวงเงิน
สินเชื่อไม่เกิน 100,000 บาท
- เหตุผลหลักในการใช้ เร็ว ง่าย สะดวก (ร้อยละ 76 เป็นการกู้ไม่มีหลัก
ประกัน)จากการสำารวจเจ้าหนี้นอกระบบของ สศค. จำานวน 50 ราย
ในปี 2554
- ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพอิสระ (ร้อยละ 75) และมีรายได้เกิน 50,000 บาทต่อ
เดือน
- ร้อยละ 80 มีลูกหนี้น้อยกว่า 10 คน
- อัตราดอกเบี้ยสูง (ร้อยละ 5-20 ต่อเดือน) และให้กู้ส่วนใหญ่ไม่เกิน 100,000
บาท
6
- 9. การประกอบธุรกิจสินเชื่อ
Nano-Finance
แนวทาง
1. ผู้ให้บริการ
นิติบุคคล (บริษัทสินเชื่อเพื่อประกอบ
อาชีพรายย่อย : บย.)
2. ประเภทสินเชื่อ สินเชื่อรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพ
3. ทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท
4. วงเงิน ไม่เกิน 100,000 บาท
5. อัตราดอกเบี้ย
ไม่เกินร้อยละ 36 ต่อปี (ดอกเบี้ย ค่าปรับ
และค่าบริการอื่น)
6. คุณสมบัติผู้กู้
บุคคลธรรมดา/เป็นผู้ที่มีฐานะทางการเงิน
เพียงพอสำาหรับชำาระหนี้ได้
7. หลักประกัน มี/ไม่มีหลักประกัน
8. การระดมทุน
ทุนตนเอง + หุ้นกู้ + ตั๋วเงิน (P/N) แบบ
เฉพาะเจาะจง
บย. ให้บริการสินเชื่อธุรกิจรายย่อย (วงเงินจำากัดและอัตรา
ดอกเบี้ยสูงกว่าปกติ)
9
- 10. การกำากับดูแล บย.
แนวทางกำากับดูแล บย.
1. พื้นที่ให้
บริการ
ให้บริการเฉพาะจังหวัดที่ได้จัดตั้งสำานักงานใหญ่ตามที่ได้จด
ทะเบียนไว้กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
2. การขอ
อนุญาต
มีคณะกรรมการระดับจังหวัดพิจารณากลั่นกรองคำายื่นขอใบ
อนุญาตตามเงื่อนไขดังนี้
(1)มีการจัดตั้งสำานักงานใหญ่ในจังหวัดที่ต้องการจะประกอบ
ธุรกิจ
(2)ไม่มีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจที่ผิดกฎหมาย หรือที่มี
ลักษณะเป็นการหลอกลวงผู้อื่น
(3)ไม่มีมีประวัติหรือพฤติกรรมที่เป็นการกระทำาอันไม่เป็นธรรม
หรือเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค
(4)ไม่มีหรือเคยมีพฤติกรรมที่แสดงถึงการทำางานอันส่อไปใน
ทางไม่สุจริตหรือฉ้อฉล
3. หนี้สินต่อทุน บย. สามารถระดมทุนจากการออกหุ้นกู้ และการออกตั๋วเงินที่
เสนอต่อผู้ลงทุนในวงจำากัด
(Private Placement) แต่ต้องมีหนี้สินไม่เกิน 9 เท่าของส่วน
ของทุน
10
- 11. วิธีดำาเนินการ
(1) การกำาหนดเกณฑ์การประกอบธุรกิจและการกำากับดูแล บย.
รมว. คลัง ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กิจการที่ต้องขออนุญาตตาม
ข้อ 5 แห่งประกาศคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ 58 (เรื่อง สินเชื่อรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพ) อาศัยอำานาจตาม ปว.
58 เพื่อกำาหนดให้สินเชื่อรายย่อย
เพื่อการประกอบอาชีพเป็นกิจการภายใต้การกำากับ
(2) อัตราดอกเบี้ย
รมว. คลัง โดยคำาแนะนำาของ ธปท. ออกประกาศกระทรวงการคลังออกตาม
ความในมาตรา 3(4) และมาตรา 4
แห่งพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน พ.ศ. 2523 เพื่อ
กำาหนดให้ บย. เป็นสถาบันการเงิน
ตามกฎหมายดังกล่าว และให้สามารถคิดอัตราดอกเบี้ยได้ไม่เกินร้อยละ 36 ต่อปี
11