ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน (Public-Private
Partnership: PPP) + คาถามและข้อเรียกร้อง
เบื้องต้นต่อรูปแบบการลงทุน โครงการผันน้ายวม
สฤณี อาชวานันทกุล
25 กรกฎาคม 2565
ดาวน์โหลดสไลด์นี้ได้จาก
/sarinee
2
การร่วมลงทุนระหว่างรัฐกับเอกชน (PPP)
ข้อตกลงระหว่างรัฐและเอกชนผู้ร่วมลงทุน (1 รายหรือมากกว่า) โดยให้เอกชนส่งมอบ
บริการในลักษณะต่างตอบแทนให้รัฐ โดยทั้งสองฝ่ายจะมีการจัดสรรผลประโยชน์และ
ความเสี่ยงร่วมกัน โดยมีรูปแบบหลักๆ 2 แบบ คือ
• Net Cost – เอกชนได้สิทธิ์ในการจัดเก็บรายได้และจัดสรรผลตอบแทนบางส่วน
ให้กับรัฐตามข้อตกลง กรณีนี้เอกชนจะต้องรับความเสี่ยงจากผลการดาเนินงานเอง
ทั้งหมด → ความเสี่ยงหลัก คือ เอกชนอาจได้กาไรเกินควร หรือ “กาไรผูกขาด”
จากบริการสาธารณะซึ่งประชาชนควรได้ใช้ฟรี หรือใช้ในราคาที่ย่อมเยาเข้าถึงได้
• Gross Cost – ภาครัฐจัดเก็บรายได้เองทั้งหมด และชดเชยค่าตอบแทนให้กับ
เอกชนตามค่าใช้จ่ายการดาเนินการ (full operating costs) → ความเสี่ยงหลัก
คือ ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในการจัดเก็บรายได้ของรัฐ และ รัฐอาจ “อ่อนข้อ”
ให้กับเอกชนมากเกินไป (ส่งผลให้ได้กาไรเกินควร/กาไรผูกขาดอยู่ดี)
3
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก PPP
1. ช่วยลดภาระงบประมาณและการก่อหนี้สาธารณะของรัฐได้ โดยเฉพาะโครงการ
ลงทุนขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เงินลงทุนสูง ในภาวะที่รัฐมีภาระหนี้สาธารณะสูง มีปัญหา
ในการจัดเก็บรายได้ (ภาษี) และรายจ่ายเพิ่มขึ้นทุกปี
2. การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาร่วมลงทุน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของ
บริการสาธารณะ เนื่องจากใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญของเอกชน อีกทั้งยังอาจ
กระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ
3. (ถ้าตลาดมีการแข่งขันเพียงพอ) เอกชนมีแรงจูงใจที่จะเพิ่มประสิทธิภาพ/ผลิตภาพ
ส่งผลให้สามารถให้บริการสาธารณะในราคาที่ “คุ้มคุณภาพ” กว่าภาครัฐได้
4. (ถ้ากาหนดเรื่องนี้ในข้อตกลง) มีการถ่ายทอดความรู้และความเชี่ยวชาญของเอกชน
ไปยังหน่วยงานและบุคลากรของภาครัฐ
4
ความเสี่ยงและปัญหาที่ผ่านมาของ PPP
1. ไม่ง่ายที่จะหาจุดสมดุล – รัฐมีเป้าหมายให้บริการสาธารณะ ส่วนเอกชนมีเป้าหมาย
ทากาไรสูงสุด (งานศึกษา IMF พบว่าโครงการ PPP 55% ต้องเจรจาและทาสัญญา
ใหม่ โครงการจานวนมากล่าช้าและมีต้นทุนเพิ่มมหาศาลที่รัฐต้องมาแบกรับภาระ) –
ในยุคที่รัฐอ่อนแอ ถูกครหาว่าเอื้อนายทุน จุดสมดุลนี้ยิ่งสุ่มเสี่ยงว่าจะเอียงไปเข้าข้าง
เอกชน
2. แม้จะ “โอนความเสี่ยง” ไปให้กับเอกชน สุดท้ายรัฐก็ต้องมา “รับความเสี่ยง” หลาย
อย่างเองอยู่ดี เพราะทาบริการสาธารณะ ไม่อยากให้ประชาชนแบกรับภาระในรูป
ราคาที่แพงขึ้น (เช่น รัฐต้องจ่ายเงินอุดหนุนเอกชนมากขึ้นเมื่อความต้องการจริงต่า
กว่าที่เอกชนประมาณการ หรือต้นทุนค่าก่อสร้างจริงสูงกว่าที่ประมาณการ ฯลฯ)
5
ความเสี่ยงและปัญหาที่ผ่านมาของ PPP (ต่อ)
3. รัฐลงทุนเองอาจถูกกว่า เพราะต้นทุนทางการเงินของรัฐย่อมต่ากว่าเอกชน (รัฐมี
อานาจเก็บภาษี) เพียงแต่ติดข้อจากัดด้านงบประมาณและหนี้สาธารณะ – บาง
ประเทศ เช่น อังกฤษ จึงกาหนดให้มีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของ PPP เทียบกับ
กรณีที่รัฐลงทุนเอง ก่อนตัดสินใจว่าจะทาหรือไม่ทา PPP
4. ภาระของรัฐจาก PPP ไม่นับเป็นหนี้สาธารณะ แต่จริงๆ หลายอย่างก็คือ “หนี้” อยู่ดี
เพราะต้องจ่ายเอกชนไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น การประกันรายได้ขั้นต่า, ค่าความ
พร้อมจ่ายของโรงไฟฟ้า เป็นต้น
5. ขาดความโปร่งใส (ที่ควรมีเพราะเป็นบริการสาธารณะ) – เมื่อใช้รูปแบบ PPP
โดยมากเอกชนจะอ้าง “ความลับทางการค้า” ไม่เปิดสัญญาและรายละเอียดทางการ
เงินต่อสาธารณะ ส่งผลให้การประเมิน “ความคุ้มค่า” และ “ประสิทธิผล” ของ
โครงการ PPP เป็นไปได้ยาก
6
ข้อพิจารณาในการทา PPP โดย สานักงานคณะกรรมการนโยบาย
รัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง
1. การพิจารณาต้นทุนอย่างครบวงจร (Whole of Life Cycle Cost): พิจารณาต้นทุนทั้งหมดตลอด
อายุสัญญา ตั้งแต่ต้นทุนการศึกษาและพัฒนาโครงการ ต้นทุนการออกแบบ ต้นทุนการก่อสร้าง
ต้นทุนการดาเนินงานและต้นทุนการบารุงรักษา รวมทั้งคานึงถึงต้นทุนด้านผลกระทบต่อชุมชนและ
สิ่งแวดล้อม เพื่อให้คู่สัญญาเอกชนบริหารจัดการโครงการให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2. ความคุ้มค่าทางการเงิน (Value for Money): PPP ต้องแสดงให้เห็นว่าเกิดความคุ้มค่าทางการเงิน
มากกว่าการที่ภาครัฐดาเนินการเอง ทั้งนี้ นอกจากการคานึงถึงต้นทุนดาเนินการแล้ว ต้องมีการ
พิจารณาถึงคุณภาพการให้บริการประชาชนและประโยชน์ในด้านอื่นๆ ร่วมด้วย
3. การจัดสรรความเสี่ยงระหว่างคู่สัญญาที่เหมาะสม (Risk Sharing): มีการจัดสรรความเสี่ยงอย่าง
เหมาะสมระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยพิจารณาจากฝ่ายที่สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงในแต่
ละประเภทได้ดีที่สุดเป็นผู้รับความเสี่ยงนั้นๆ
4. การพัฒนาระดับการให้บริการให้ดียิ่งขึ้น (Improved Level of Service): การให้เอกชนร่วมลงทุน
ในกิจการของรัฐ เป็นการผสมผสานความเชี่ยวชาญระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการให้
ทรัพยากรรวมทั้งเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อการพัฒนาคุณภาพการให้บริการต่อสาธารณะ การเพิ่ม
ขีดความสามารถในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
7
ที่มา: https://transbordernews.in.th/home/?p=31099
รูปแบบการลงทุน
โครงการผันน้ายวม
8
คาถามและข้อเรียกร้อง
1. กรมชลประทานควรเปิดเผยผลการศึกษาฉบับเต็มต่อสาธารณะ (ฉบับนาเสนอ 31 มี.ค. 65)
(โครงการนี้อ้างว่าเป็น PPPP คือมี “People” หรือประชาชนเป็นหุ้นส่วน แถมอ้าง SDG หรือ
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วย!)
2. กรมชลประทานควรประกาศว่า โครงการนี้จะใช้ข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact)
3. การคานวณดูเหมือนยังไม่รวม “ต้นทุนด้านผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม” ที่ สคร. แนะนา
4. เหตุใดการลงทุนรูปแบบที่ 1 (รัฐดาเนินการเอง) จึงมีต้นทุน (ทั้งค่าลงทุนโครงการ และค่า
ดาเนินงานและบารุงรักษา) สูงกว่ารูปแบบที่ 2 และ 3 (เอกชนร่วมลงทุน) ? (ต้นทุนทางการเงิน
ของรัฐและค่าใช้จ่ายการดาเนินการของรัฐโดยปกติน่าจะถูกกว่าเอกชน ? โดยเฉพาะในตลาดที่ไม่มี
การแข่งขัน)
5. นาเสนอราวกับว่า มีการลงทุนเฉพาะรูปแบบที่ 1 (รัฐดาเนินการเอง) เท่านั้นที่ผู้ใช้น้า (ประเภทที่ 2
และ 3 – กฎหมายลูกยังไม่มี) จะต้องจ่าย แต่ในความเป็นจริง ในการลงทุนทุกรูปแบบ รัฐก็จะไป
เก็บเงินจากผู้ใช้น้ามาจ่ายคืนเอกชนอยู่ดีใช่หรือไม่ ? ค่าน้าจะเพิ่มขึ้นเท่าไรในประมาณการ ? ถาม
ผู้ใช้น้าแล้วหรือยัง ?

More Related Content

More from Sarinee Achavanuntakul (20)

PDF
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Pursuing retail banking with social responsibility
Sarinee Achavanuntakul
PDF
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Game & Social Problems
Sarinee Achavanuntakul
PDF
กลไกทางการ๶งิȨȨารสนับสนุน๶กษตรกรให้เข้าสู่๶กษตรอิȨรีย์
Sarinee Achavanuntakul
PDF
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
Sarinee Achavanuntakul
PDF
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
Sarinee Achavanuntakul
PDF
The Place of Museum in the Digital Age
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Thai banks "green loan" for energy sector
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Sustainable Consumption
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Who (Should) Regulate Internet?
Sarinee Achavanuntakul
PDF
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Sarinee Achavanuntakul
PDF
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Sarinee Achavanuntakul
PDF
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Sarinee Achavanuntakul
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Sarinee Achavanuntakul
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Sarinee Achavanuntakul
Pursuing retail banking with social responsibility
Sarinee Achavanuntakul
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
Sarinee Achavanuntakul
Game & Social Problems
Sarinee Achavanuntakul
กลไกทางการ๶งิȨȨารสนับสนุน๶กษตรกรให้เข้าสู่๶กษตรอิȨรีย์
Sarinee Achavanuntakul
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
Sarinee Achavanuntakul
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
Sarinee Achavanuntakul
The Place of Museum in the Digital Age
Sarinee Achavanuntakul
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Sarinee Achavanuntakul
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Sarinee Achavanuntakul
Thai banks "green loan" for energy sector
Sarinee Achavanuntakul
Sustainable Consumption
Sarinee Achavanuntakul
Who (Should) Regulate Internet?
Sarinee Achavanuntakul
สไลด์นำเสนอของ สพธอ. เรื่องชุดกฎหมายดิจิทัล ใน Open Forum
Sarinee Achavanuntakul
Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project
Sarinee Achavanuntakul
Mapping Shrimp Feed Supply Chain in Songkhla Province to Facilitate Feed Dial...
Sarinee Achavanuntakul
New Media Ecosystem & Role of Data Journalism
Sarinee Achavanuntakul
Is Capitalism Hostile to the Poor?
Sarinee Achavanuntakul
Crowdfunding for solar: model and implications for Thailand
Sarinee Achavanuntakul

PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project

  • 1. การร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน (Public-Private Partnership: PPP) + คาถามและข้อเรียกร้อง เบื้องต้นต่อรูปแบบการลงทุน โครงการผันน้ายวม สฤณี อาชวานันทกุล 25 กรกฎาคม 2565 ดาวน์โหลดสไลด์นี้ได้จาก /sarinee
  • 2. 2 การร่วมลงทุนระหว่างรัฐกับเอกชน (PPP) ข้อตกลงระหว่างรัฐและเอกชนผู้ร่วมลงทุน (1 รายหรือมากกว่า) โดยให้เอกชนส่งมอบ บริการในลักษณะต่างตอบแทนให้รัฐ โดยทั้งสองฝ่ายจะมีการจัดสรรผลประโยชน์และ ความเสี่ยงร่วมกัน โดยมีรูปแบบหลักๆ 2 แบบ คือ • Net Cost – เอกชนได้สิทธิ์ในการจัดเก็บรายได้และจัดสรรผลตอบแทนบางส่วน ให้กับรัฐตามข้อตกลง กรณีนี้เอกชนจะต้องรับความเสี่ยงจากผลการดาเนินงานเอง ทั้งหมด → ความเสี่ยงหลัก คือ เอกชนอาจได้กาไรเกินควร หรือ “กาไรผูกขาด” จากบริการสาธารณะซึ่งประชาชนควรได้ใช้ฟรี หรือใช้ในราคาที่ย่อมเยาเข้าถึงได้ • Gross Cost – ภาครัฐจัดเก็บรายได้เองทั้งหมด และชดเชยค่าตอบแทนให้กับ เอกชนตามค่าใช้จ่ายการดาเนินการ (full operating costs) → ความเสี่ยงหลัก คือ ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันในการจัดเก็บรายได้ของรัฐ และ รัฐอาจ “อ่อนข้อ” ให้กับเอกชนมากเกินไป (ส่งผลให้ได้กาไรเกินควร/กาไรผูกขาดอยู่ดี)
  • 3. 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก PPP 1. ช่วยลดภาระงบประมาณและการก่อหนี้สาธารณะของรัฐได้ โดยเฉพาะโครงการ ลงทุนขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เงินลงทุนสูง ในภาวะที่รัฐมีภาระหนี้สาธารณะสูง มีปัญหา ในการจัดเก็บรายได้ (ภาษี) และรายจ่ายเพิ่มขึ้นทุกปี 2. การเปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาร่วมลงทุน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของ บริการสาธารณะ เนื่องจากใช้ความรู้และความเชี่ยวชาญของเอกชน อีกทั้งยังอาจ กระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ 3. (ถ้าตลาดมีการแข่งขันเพียงพอ) เอกชนมีแรงจูงใจที่จะเพิ่มประสิทธิภาพ/ผลิตภาพ ส่งผลให้สามารถให้บริการสาธารณะในราคาที่ “คุ้มคุณภาพ” กว่าภาครัฐได้ 4. (ถ้ากาหนดเรื่องนี้ในข้อตกลง) มีการถ่ายทอดความรู้และความเชี่ยวชาญของเอกชน ไปยังหน่วยงานและบุคลากรของภาครัฐ
  • 4. 4 ความเสี่ยงและปัญหาที่ผ่านมาของ PPP 1. ไม่ง่ายที่จะหาจุดสมดุล – รัฐมีเป้าหมายให้บริการสาธารณะ ส่วนเอกชนมีเป้าหมาย ทากาไรสูงสุด (งานศึกษา IMF พบว่าโครงการ PPP 55% ต้องเจรจาและทาสัญญา ใหม่ โครงการจานวนมากล่าช้าและมีต้นทุนเพิ่มมหาศาลที่รัฐต้องมาแบกรับภาระ) – ในยุคที่รัฐอ่อนแอ ถูกครหาว่าเอื้อนายทุน จุดสมดุลนี้ยิ่งสุ่มเสี่ยงว่าจะเอียงไปเข้าข้าง เอกชน 2. แม้จะ “โอนความเสี่ยง” ไปให้กับเอกชน สุดท้ายรัฐก็ต้องมา “รับความเสี่ยง” หลาย อย่างเองอยู่ดี เพราะทาบริการสาธารณะ ไม่อยากให้ประชาชนแบกรับภาระในรูป ราคาที่แพงขึ้น (เช่น รัฐต้องจ่ายเงินอุดหนุนเอกชนมากขึ้นเมื่อความต้องการจริงต่า กว่าที่เอกชนประมาณการ หรือต้นทุนค่าก่อสร้างจริงสูงกว่าที่ประมาณการ ฯลฯ)
  • 5. 5 ความเสี่ยงและปัญหาที่ผ่านมาของ PPP (ต่อ) 3. รัฐลงทุนเองอาจถูกกว่า เพราะต้นทุนทางการเงินของรัฐย่อมต่ากว่าเอกชน (รัฐมี อานาจเก็บภาษี) เพียงแต่ติดข้อจากัดด้านงบประมาณและหนี้สาธารณะ – บาง ประเทศ เช่น อังกฤษ จึงกาหนดให้มีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของ PPP เทียบกับ กรณีที่รัฐลงทุนเอง ก่อนตัดสินใจว่าจะทาหรือไม่ทา PPP 4. ภาระของรัฐจาก PPP ไม่นับเป็นหนี้สาธารณะ แต่จริงๆ หลายอย่างก็คือ “หนี้” อยู่ดี เพราะต้องจ่ายเอกชนไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น การประกันรายได้ขั้นต่า, ค่าความ พร้อมจ่ายของโรงไฟฟ้า เป็นต้น 5. ขาดความโปร่งใส (ที่ควรมีเพราะเป็นบริการสาธารณะ) – เมื่อใช้รูปแบบ PPP โดยมากเอกชนจะอ้าง “ความลับทางการค้า” ไม่เปิดสัญญาและรายละเอียดทางการ เงินต่อสาธารณะ ส่งผลให้การประเมิน “ความคุ้มค่า” และ “ประสิทธิผล” ของ โครงการ PPP เป็นไปได้ยาก
  • 6. 6 ข้อพิจารณาในการทา PPP โดย สานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง 1. การพิจารณาต้นทุนอย่างครบวงจร (Whole of Life Cycle Cost): พิจารณาต้นทุนทั้งหมดตลอด อายุสัญญา ตั้งแต่ต้นทุนการศึกษาและพัฒนาโครงการ ต้นทุนการออกแบบ ต้นทุนการก่อสร้าง ต้นทุนการดาเนินงานและต้นทุนการบารุงรักษา รวมทั้งคานึงถึงต้นทุนด้านผลกระทบต่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้คู่สัญญาเอกชนบริหารจัดการโครงการให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. ความคุ้มค่าทางการเงิน (Value for Money): PPP ต้องแสดงให้เห็นว่าเกิดความคุ้มค่าทางการเงิน มากกว่าการที่ภาครัฐดาเนินการเอง ทั้งนี้ นอกจากการคานึงถึงต้นทุนดาเนินการแล้ว ต้องมีการ พิจารณาถึงคุณภาพการให้บริการประชาชนและประโยชน์ในด้านอื่นๆ ร่วมด้วย 3. การจัดสรรความเสี่ยงระหว่างคู่สัญญาที่เหมาะสม (Risk Sharing): มีการจัดสรรความเสี่ยงอย่าง เหมาะสมระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยพิจารณาจากฝ่ายที่สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงในแต่ ละประเภทได้ดีที่สุดเป็นผู้รับความเสี่ยงนั้นๆ 4. การพัฒนาระดับการให้บริการให้ดียิ่งขึ้น (Improved Level of Service): การให้เอกชนร่วมลงทุน ในกิจการของรัฐ เป็นการผสมผสานความเชี่ยวชาญระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการให้ ทรัพยากรรวมทั้งเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อการพัฒนาคุณภาพการให้บริการต่อสาธารณะ การเพิ่ม ขีดความสามารถในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
  • 8. 8 คาถามและข้อเรียกร้อง 1. กรมชลประทานควรเปิดเผยผลการศึกษาฉบับเต็มต่อสาธารณะ (ฉบับนาเสนอ 31 มี.ค. 65) (โครงการนี้อ้างว่าเป็น PPPP คือมี “People” หรือประชาชนเป็นหุ้นส่วน แถมอ้าง SDG หรือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วย!) 2. กรมชลประทานควรประกาศว่า โครงการนี้จะใช้ข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact) 3. การคานวณดูเหมือนยังไม่รวม “ต้นทุนด้านผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม” ที่ สคร. แนะนา 4. เหตุใดการลงทุนรูปแบบที่ 1 (รัฐดาเนินการเอง) จึงมีต้นทุน (ทั้งค่าลงทุนโครงการ และค่า ดาเนินงานและบารุงรักษา) สูงกว่ารูปแบบที่ 2 และ 3 (เอกชนร่วมลงทุน) ? (ต้นทุนทางการเงิน ของรัฐและค่าใช้จ่ายการดาเนินการของรัฐโดยปกติน่าจะถูกกว่าเอกชน ? โดยเฉพาะในตลาดที่ไม่มี การแข่งขัน) 5. นาเสนอราวกับว่า มีการลงทุนเฉพาะรูปแบบที่ 1 (รัฐดาเนินการเอง) เท่านั้นที่ผู้ใช้น้า (ประเภทที่ 2 และ 3 – กฎหมายลูกยังไม่มี) จะต้องจ่าย แต่ในความเป็นจริง ในการลงทุนทุกรูปแบบ รัฐก็จะไป เก็บเงินจากผู้ใช้น้ามาจ่ายคืนเอกชนอยู่ดีใช่หรือไม่ ? ค่าน้าจะเพิ่มขึ้นเท่าไรในประมาณการ ? ถาม ผู้ใช้น้าแล้วหรือยัง ?