ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความสำคญัของภาษาคอมพิวเตอร์ 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษากำหนด
พฒันาการภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใชเ้ป็นคำสั่ง 
ควบคุมการทำงาน มีพัฒนาการของการสร้างรหัสคำสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้ 
ช่วงที่ 
1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคำนวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทำงานลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่า 
– ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคำสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่องผู้ที่จะเขียนรหัสคำสั่ง
การพฒันาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ 
การพฒันาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการ 
ทำงานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สำหรับการพัฒนา ระบบงานทาง 
ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาใชง้านแล้วยังต้อง 
แล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใชใ้นการดำเนินงานอีกด้วย ขนั้ตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ 
โปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดำเนินงานดังนี้ 
1.) ขนั้กำหนดขอบเขตปัญหา 
2.) ขนั้วางแผนและการออกแบบ 
3.) ขนั้ดำเนินการเขียน คำสั่งงาน 
4.) ขนั้ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 
5.) ขนั้จัดทำคมูื่อระบบ 
6.) ขนั้การติดตงั้ 
7.) ขนั้การบำรุงรักษา
1.ขนั้กำหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงาน 
ให้ อาจวิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ 
2. ขนั้วางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขนั้ตอนการวางแผนวิเคราะลำดับการทำงานมีหลายวิธีให้ 
มีหลายวิธีให้เลือกใช้เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) 
3. ขั้นดำเนินการเขียนคำสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคำสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ 
ภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กำหนดไว้ 
4. ขนั้ทดสอบและแกไ้ขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบการทำงานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วง 
งออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเองโดยใชข้้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใชไ้วยากรณค์ำสั่ง
แนวทางการสรา้งโปรแกรมประยุกต์งาน 
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใชแ้ก้ปัญหา 
เพื่อใชแ้ก้ปัญหางานคำนวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ 
วิทยาศาสตร์ ดังนนั้หากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนนั้ยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผน 
วิเคราะห์ วางแผนลำดับการทำงาน และลำดับคำสั่งควบคุมการทำงานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทำ
1. ขนั้วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูล 
คือสมการคำนวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้
การลำดบัขนั้ตอนงานดว้ยผงังาน 
การลำดับขนั้ตอนงานดว้ยผังงาน ผังงานเป็นขนั้ตอนวางแผนการทำงานของคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลำดับ การ
2. หลกัในการเขียนผงังาน ข้อแนะนำในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใชศึ้กษา ตรวจสอบลำดับการทำงานได้งาย ไม่สับสน มี 
แนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 
1. ทิศทางการทำงานต้องเรียงลำดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 
2. ใชชื้่อหนวยความจำ เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 
3. ลูกศรกำกับทิศทางใชหั้วลูกศรตรงปลายทางเทานนั้ 
4. เสน้ทางการทำงานหามมีจุดตัดการทำงาน 
5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทำงานใด ๆ 
6. ใชสั้ญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใชง้าน 
7. หากมีคำอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไวด้้านขวาของสัญลักษณ์นั้น 
3. ประโยชนของผงังาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นนั้มีประโยชน ดังนี้ 
1. ทำให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทงั้หมด โดยใชเ้วลาไม่มาก 
2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนำไปเขียนคำสั่งได้ทุกภาษา 
3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 
4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลำดับการทำงานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น 
ตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนำเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผงังาน 
การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุดในการแก้ปัญหา จะต้องดำเนินการตามขนั้ตอน 
ดำเนินการตามขนั้ตอนของการเตรยีมงาน เรียบเรียงลำดับขนั้ตอนการทำงานว่าขนั้ตอนใดเป็นขนั้ตอนแรกและขนั้ตอนใดเป็นขนั้ตอนเป็น 
เป็นขนั้ตอนเป็นลำดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดทา้ย 
การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทำเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด โดยจะต้องกำหนดขอบเขต 
กำหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำ 
คอมพิวเตอร์ทำอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์ 
เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนำเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการกำหนดชื่อของตัวแปรที่ 
กำหนดชื่อของตัวแปรที่จะใชใ้นการเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน 
การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสา คัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสัง่ให้คอมพิวเตอร์ทา งาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การ 
วิเคราะห์งานตามลา ดับดังนี้ 
สิ่งที่ตอ้งการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ตอ้งการให้คอมพิวเตอร์ทา งานงานแต่ละชนิดอาจตอ้งการให้คอมพิวเตอร์ 
แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นขอ้ๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ตอ้งการอาจจะดูที่คา สัง่หรือโจทย์ของงาน 
นนั้ๆว่าตอ้งการให้ทา อะไรบ้าง 
ผลลัพธ์ที่ตอ้งการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรปูแบบของผลลัพธ์ที่เราตอ้งการให้คอมพิวเตอร์แสดง 
ออกมา รายละเอียดที่ตอ้งการในรายงานหรือผลลัพธ์นนั้ ๆ เป็นหนา้ที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะตอ้งกา หนดรปูแบบว่างานที่ตอ้งการ 
ให้คอมพิวเตอร์ทา นนั้ ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความสะดวกของผู้นา ผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จา เป็นและมี 
ความสา คัญ และตอ้งพิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงานจะทา ให้เราทราบจุดหมายที่ตอ้งการ หรือเป็นการกา หนด 
ขอบเขตของงานที่เราตอ้งการทา นัน่เอง 
ขอ้มูลนา เขา้ เป็นขนั้ตอนที่ตอ้งทา ต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มา 
พิจารณาขอ้มูลนา เขา้นนั้จะตอ้งดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขนั้ตอนในการประมวลผลด้วย 
ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกา หนดชื่อแทนความหมายของขอ้มูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึงขอ้มูล และการเขียนโปรแกรม การตงั้ 
ชื่อตัวแปรควรจะตงั้ให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับขอ้มูล และควรตงั้ชื่อตัวแปรให้เขา้กับหลักเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์นนั้ๆ
ผูจั้ดทา 
นายอภิเษก ทองสวัสดิ์ เลขที่ 1 
นายกษิดิ์เดช เปรมธนร่งุเรือง เลขที่ 2 
นางสาวรินรดา นาคะศิริ เลขที่ 23 
นางสาวอภิสรา ชา นาญกา หนด เลขที่ 26 
นางสาววิลาสินี บัวชู เลขที่ 32 
นางสาวพรพิชชา ชมภู่เลขที่ 36 
ชนั้ ม.6/3

More Related Content

การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

  • 2. ความสำคญัของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษากำหนด
  • 3. พฒันาการภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใชเ้ป็นคำสั่ง ควบคุมการทำงาน มีพัฒนาการของการสร้างรหัสคำสั่งจนมาเป็นรูปแบบในปัจจุบัน ดังนี้ ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคำนวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทำงานลักษณะวงจรเปิด – ปิด แทนค่า – ปิด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคำสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่องผู้ที่จะเขียนรหัสคำสั่ง
  • 4. การพฒันาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพฒันาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการ ทำงานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สำหรับการพัฒนา ระบบงานทาง ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาใชง้านแล้วยังต้อง แล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใชใ้นการดำเนินงานอีกด้วย ขนั้ตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่นี้มีแนวทาง ดำเนินงานดังนี้ 1.) ขนั้กำหนดขอบเขตปัญหา 2.) ขนั้วางแผนและการออกแบบ 3.) ขนั้ดำเนินการเขียน คำสั่งงาน 4.) ขนั้ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5.) ขนั้จัดทำคมูื่อระบบ 6.) ขนั้การติดตงั้ 7.) ขนั้การบำรุงรักษา
  • 5. 1.ขนั้กำหนดขอบเขตปัญหา (Problem Definition) เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาระบบงาน ให้ อาจวิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ 2. ขนั้วางแผนและการออกแบบ (Planning & Design) ขนั้ตอนการวางแผนวิเคราะลำดับการทำงานมีหลายวิธีให้ มีหลายวิธีให้เลือกใช้เช่น วิธีอัลกอริทึม (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode Design) วิธีผังงาน (Flowchart) 3. ขั้นดำเนินการเขียนคำสั่งงาน (Coding) เป็นขั้นตอนเขียนคำสั่งควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ ภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กำหนดไว้ 4. ขนั้ทดสอบและแกไ้ขโปรแกรม (Testing & Debugging) การทดสอบการทำงานของโปรแกรมแบงออกเป็น 2 ช่วง งออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกทดสอบโดยพัฒนา ระบบงานเองโดยใชข้้อมูลสมมติ ทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากการใชไ้วยากรณค์ำสั่ง
  • 6. แนวทางการสรา้งโปรแกรมประยุกต์งาน แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อใชแ้ก้ปัญหา เพื่อใชแ้ก้ปัญหางานคำนวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดังนนั้หากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนนั้ยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผน วิเคราะห์ วางแผนลำดับการทำงาน และลำดับคำสั่งควบคุมการทำงานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทำ
  • 7. 1. ขนั้วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูล คือสมการคำนวณ จนถึงข้อมูลที่ต้องปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอนย่อยดังนี้
  • 9. 2. หลกัในการเขียนผงังาน ข้อแนะนำในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใชศึ้กษา ตรวจสอบลำดับการทำงานได้งาย ไม่สับสน มี แนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทิศทางการทำงานต้องเรียงลำดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใชชื้่อหนวยความจำ เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกำกับทิศทางใชหั้วลูกศรตรงปลายทางเทานนั้ 4. เสน้ทางการทำงานหามมีจุดตัดการทำงาน 5. ต้องไม่มีลูกศรลอย ๆ โดยไม่มีการตอจุดการทำงานใด ๆ 6. ใชสั้ญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใชง้าน 7. หากมีคำอธิบายเพิ่มเติมให้เขียนไวด้้านขวาของสัญลักษณ์นั้น 3. ประโยชนของผงังาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นนั้มีประโยชน ดังนี้ 1. ทำให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทงั้หมด โดยใชเ้วลาไม่มาก 2. การเขียนผังงานเป็นสากล สามารถนำไปเขียนคำสั่งได้ทุกภาษา 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว 4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลำดับการทำงานของระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น ตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนำเสนอรูปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
  • 10. กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผงังาน การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุดในการแก้ปัญหา จะต้องดำเนินการตามขนั้ตอน ดำเนินการตามขนั้ตอนของการเตรยีมงาน เรียบเรียงลำดับขนั้ตอนการทำงานว่าขนั้ตอนใดเป็นขนั้ตอนแรกและขนั้ตอนใดเป็นขนั้ตอนเป็น เป็นขนั้ตอนเป็นลำดับถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดทา้ย การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทำเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด โดยจะต้องกำหนดขอบเขต กำหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวมรายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำ คอมพิวเตอร์ทำอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็นอย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์ เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนำเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการกำหนดชื่อของตัวแปรที่ กำหนดชื่อของตัวแปรที่จะใชใ้นการเขียนโปรแกรม
  • 11. หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสา คัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสัง่ให้คอมพิวเตอร์ทา งาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การ วิเคราะห์งานตามลา ดับดังนี้ สิ่งที่ตอ้งการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ตอ้งการให้คอมพิวเตอร์ทา งานงานแต่ละชนิดอาจตอ้งการให้คอมพิวเตอร์ แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียนให้ชักเจนเป็นขอ้ๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ตอ้งการอาจจะดูที่คา สัง่หรือโจทย์ของงาน นนั้ๆว่าตอ้งการให้ทา อะไรบ้าง ผลลัพธ์ที่ตอ้งการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรปูแบบของผลลัพธ์ที่เราตอ้งการให้คอมพิวเตอร์แสดง ออกมา รายละเอียดที่ตอ้งการในรายงานหรือผลลัพธ์นนั้ ๆ เป็นหนา้ที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะตอ้งกา หนดรปูแบบว่างานที่ตอ้งการ ให้คอมพิวเตอร์ทา นนั้ ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความสะดวกของผู้นา ผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จา เป็นและมี ความสา คัญ และตอ้งพิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงานจะทา ให้เราทราบจุดหมายที่ตอ้งการ หรือเป็นการกา หนด ขอบเขตของงานที่เราตอ้งการทา นัน่เอง ขอ้มูลนา เขา้ เป็นขนั้ตอนที่ตอ้งทา ต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มา พิจารณาขอ้มูลนา เขา้นนั้จะตอ้งดูจากลักษณะของผลลัพธ์และขนั้ตอนในการประมวลผลด้วย ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกา หนดชื่อแทนความหมายของขอ้มูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการอ้างถึงขอ้มูล และการเขียนโปรแกรม การตงั้ ชื่อตัวแปรควรจะตงั้ให้มีความหมายและเกี่ยวข้องกับขอ้มูล และควรตงั้ชื่อตัวแปรให้เขา้กับหลักเกณฑ์ของภาษาคอมพิวเตอร์นนั้ๆ
  • 12. ผูจั้ดทา นายอภิเษก ทองสวัสดิ์ เลขที่ 1 นายกษิดิ์เดช เปรมธนร่งุเรือง เลขที่ 2 นางสาวรินรดา นาคะศิริ เลขที่ 23 นางสาวอภิสรา ชา นาญกา หนด เลขที่ 26 นางสาววิลาสินี บัวชู เลขที่ 32 นางสาวพรพิชชา ชมภู่เลขที่ 36 ชนั้ ม.6/3