ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning  Organization) โดย  นางสาวฐาปณี  พวงงาม  รหัส  489100111 สาขาการบริหารการศึกษา  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
✪  องค์กรที่ประกอบด้วยคนที่มีความมุ่งมั่นที่จะขยายขีดความสามารถของตนผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมอย่างต่อเนื่อง  ✪  องค์กรที่มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ รวมทั้งมีการจัดหา  สร้าง  ถ่ายโอนความรู้  และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการใช้ความรู้  ใหม่ ๆ  องค์กรแห่งการเรียนรู้คืออะไร
✪  ใช้แนวคิดการจัดการความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อสร้างองค์ความรู้  หรือนวัตกรรมที่มีคุณค่าต่อตนเอง ทีมงานและองค์กร  ✪  มีเป้าหมายเพื่อให้เป็นองค์กรที่มีคุณภาพและสามารถดำรงอยู่ได้ในสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาของสังคมโลกได้อย่างสง่างาม
ทำไมต้องเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้  ? 1 .  การแข่งขันที่รุนแรงในโลกธุรกิจไร้รูปแบบ   ในโลกธุรกิจปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา การค้นหาโอกาส ( Opportunity )   ใหม่ๆเป็นสิ่งที่ท้าทายผู้บริหารอย่างยิ่ง โลกธุรกิจยุคใหม่นี้จะ ไร้ซึ่งรูปแบบ  ( New paradigm Business )   และไร้ขอบเขตจำกัด และจะต้องเผชิญกับ  การค้าเสรี (Free Trade) การแข่งขัน (Competitiveness) โลกาภิวัฒน์ (Globalization)
 •  การพัฒนาคุณภาพสินค้า และบริการ  2 .  คุณภาพที่ต้องพัฒนา •  การพัฒนาคุณภาพกระบวนการผลิต  •  การพัฒนาการใช้ทรัพยากรทุกชนิด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด  •  การพัฒนาความคุณภาพของคนในองค์กร
3 .  เพราะเราต้องการ   จากเหตุผลมากมายดังกล่าวมาทั้งหมด  จำเป็นอย่างยิ่งที่เราทุกคนในองค์กร     โดยเฉพาะตัวผู้นำเอง  จะต้องสร้างความต้องการ  “ ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ”  ให้ได้     โดยถือเป็นเป้าหมายร่วมกัน ( Common Vision ) ของทุกๆคนในองค์กร ผู้นำ ต้องบริหารนำการเปลี่ยนแปลง     ( Manage Change ) ให้เกิดการเรียนรู้ ( Learning Ability ) ในทุกๆด้านตั้งแต่ระดับบุคคล  ( Individuals  Learning ) ไปจนถึงระดับองค์กร ( Organizational Learning ) ให้ได้
ลักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู้ 1 .  มีมุมมองที่เป็นระบบโดยภาพรวม  มองเห็นและเข้าใจ  ถึงกระบวนการ และความสัมพันธ์ต่างของระบบต่าง ๆ  ทั่วทั้งองค์การ  2 .  มีวิสัยทัศน์  เป้าหมายและค่านิยมร่วมกันทั้งองค์การ  3 .  เป็นการมองว่าองค์กรสามารถเรียนรู้และเติบโตได้  มุมมองในเชิงองค์กร  ( Organizational   Perspective )
มุมมองในเชิงกระบวนการ  ( Process   Perspective ) 1 .  การเล็งเห็นโอกาสในความไม่แน่นอนเพื่อสร้าง ความเจริญก้าวหน้า  2.  สามารถปรับตัวและสอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลงได้ 3.  สร้างวัฒนธรรมของการใช้การเสริมแรงและการเปิดเผยข้อมูล ในองค์กร  4.  มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจด้วยการเพิ่มอำนาจการ ปฏิบัติงานแก่พนักงานในองค์กร  5.  มีการสร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกองค์กร  ( คน  งาน  เทคโนโลยี และชุมชน )
6.  มีการให้รางวัลสำหรับความคิดริเริ่ม  สร้างสรรค์  และจัดตั้งโครงงาน  เพื่อรองรับความคิดดังกล่าว  7.  สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจให้เกิดทั่วทั้งองค์การ  8.  มุ่งสู่การปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง  9.  มีการใช้ระบบการสำรวจและประเมินทักษะ สมรรถนะของการเรียนรู้  10 .  มีระบบต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ ร่วมกันในองค์กร
มุมมองที่เกี่ยวกับคน  ( Human   Perspective ) 1.  สนับสนุนให้พนักงานในระดับล่างได้มีโอกาสและสามารถ อธิบายความคืบหน้าและอุปสรรคในการทำงานได้  2.  สนับสนุนให้ผู้บริหารทำหน้าที่เป็นผู้ชี้แนะ  พี่เลี้ยง  ที่ปรึกษา  และเป็นผู้เกื้อหนุนการเรียนรู้แก่สมาชิกขององค์กร  3.  มีผู้ที่เป็นแม่แบบเกี่ยวกับการกล้าเสี่ยง  กล้าทดลองปฏิบัติ  ในสิ่งที่คิดดีแล้ว  4.  ให้การสนับสนุน / ส่งเสริมการจัดตั้งทีมปฎิบัติงานทุกรูปแบบ  5.  มีการใช้คณะทำงานที่มีผู้ปฏิบัติมาจากหลาย ๆ  ส่วนงาน

More Related Content

องค์กร+ʰ..

  • 1. องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) โดย นางสาวฐาปณี พวงงาม รหัส 489100111 สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 2. ✪ องค์กรที่ประกอบด้วยคนที่มีความมุ่งมั่นที่จะขยายขีดความสามารถของตนผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมอย่างต่อเนื่อง ✪ องค์กรที่มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ รวมทั้งมีการจัดหา สร้าง ถ่ายโอนความรู้ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการใช้ความรู้ ใหม่ ๆ องค์กรแห่งการเรียนรู้คืออะไร
  • 3. ✪ ใช้แนวคิดการจัดการความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ หรือนวัตกรรมที่มีคุณค่าต่อตนเอง ทีมงานและองค์กร ✪ มีเป้าหมายเพื่อให้เป็นองค์กรที่มีคุณภาพและสามารถดำรงอยู่ได้ในสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาของสังคมโลกได้อย่างสง่างาม
  • 4. ทำไมต้องเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ? 1 . การแข่งขันที่รุนแรงในโลกธุรกิจไร้รูปแบบ   ในโลกธุรกิจปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา การค้นหาโอกาส ( Opportunity )   ใหม่ๆเป็นสิ่งที่ท้าทายผู้บริหารอย่างยิ่ง โลกธุรกิจยุคใหม่นี้จะ ไร้ซึ่งรูปแบบ ( New paradigm Business )   และไร้ขอบเขตจำกัด และจะต้องเผชิญกับ การค้าเสรี (Free Trade) การแข่งขัน (Competitiveness) โลกาภิวัฒน์ (Globalization)
  • 5.  • การพัฒนาคุณภาพสินค้า และบริการ 2 . คุณภาพที่ต้องพัฒนา • การพัฒนาคุณภาพกระบวนการผลิต • การพัฒนาการใช้ทรัพยากรทุกชนิด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด • การพัฒนาความคุณภาพของคนในองค์กร
  • 6. 3 . เพราะเราต้องการ จากเหตุผลมากมายดังกล่าวมาทั้งหมด จำเป็นอย่างยิ่งที่เราทุกคนในองค์กร    โดยเฉพาะตัวผู้นำเอง จะต้องสร้างความต้องการ “ ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ” ให้ได้    โดยถือเป็นเป้าหมายร่วมกัน ( Common Vision ) ของทุกๆคนในองค์กร ผู้นำ ต้องบริหารนำการเปลี่ยนแปลง    ( Manage Change ) ให้เกิดการเรียนรู้ ( Learning Ability ) ในทุกๆด้านตั้งแต่ระดับบุคคล ( Individuals  Learning ) ไปจนถึงระดับองค์กร ( Organizational Learning ) ให้ได้
  • 7. ลักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู้ 1 . มีมุมมองที่เป็นระบบโดยภาพรวม มองเห็นและเข้าใจ ถึงกระบวนการ และความสัมพันธ์ต่างของระบบต่าง ๆ ทั่วทั้งองค์การ 2 . มีวิสัยทัศน์ เป้าหมายและค่านิยมร่วมกันทั้งองค์การ 3 . เป็นการมองว่าองค์กรสามารถเรียนรู้และเติบโตได้ มุมมองในเชิงองค์กร ( Organizational Perspective )
  • 8. มุมมองในเชิงกระบวนการ ( Process Perspective ) 1 . การเล็งเห็นโอกาสในความไม่แน่นอนเพื่อสร้าง ความเจริญก้าวหน้า 2. สามารถปรับตัวและสอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลงได้ 3. สร้างวัฒนธรรมของการใช้การเสริมแรงและการเปิดเผยข้อมูล ในองค์กร 4. มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจด้วยการเพิ่มอำนาจการ ปฏิบัติงานแก่พนักงานในองค์กร 5. มีการสร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกองค์กร ( คน งาน เทคโนโลยี และชุมชน )
  • 9. 6. มีการให้รางวัลสำหรับความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และจัดตั้งโครงงาน เพื่อรองรับความคิดดังกล่าว 7. สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจให้เกิดทั่วทั้งองค์การ 8. มุ่งสู่การปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง 9. มีการใช้ระบบการสำรวจและประเมินทักษะ สมรรถนะของการเรียนรู้ 10 . มีระบบต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ ร่วมกันในองค์กร
  • 10. มุมมองที่เกี่ยวกับคน ( Human Perspective ) 1. สนับสนุนให้พนักงานในระดับล่างได้มีโอกาสและสามารถ อธิบายความคืบหน้าและอุปสรรคในการทำงานได้ 2. สนับสนุนให้ผู้บริหารทำหน้าที่เป็นผู้ชี้แนะ พี่เลี้ยง ที่ปรึกษา และเป็นผู้เกื้อหนุนการเรียนรู้แก่สมาชิกขององค์กร 3. มีผู้ที่เป็นแม่แบบเกี่ยวกับการกล้าเสี่ยง กล้าทดลองปฏิบัติ ในสิ่งที่คิดดีแล้ว 4. ให้การสนับสนุน / ส่งเสริมการจัดตั้งทีมปฎิบัติงานทุกรูปแบบ 5. มีการใช้คณะทำงานที่มีผู้ปฏิบัติมาจากหลาย ๆ ส่วนงาน