ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Program C for Pc-Digital
นาย วีรชน ตะเรือน
คณะวิชา ไฟฟา สาขาวิชา ครุศาสตรอุตสาหกรรม และ อิเล็กทรอนิกส
มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยาเขตพายัพ
128 ถนนหวยแกว ต.ชางเผือก อ.เมือง จ. เชียงใหม 50300 โทร 053-3321576
บทนํา
ในปจจุบันวิวัฒนาการทางอิเล็กทรอนิกสมี
บทบาทความสําคัญตอการพัฒนาประเทศชาติเปน
อยางมาก อีกทั้งยังเปนเรื่องของปจจัยความตองการ
ของมนุษยไปอีกทางหนึ่ง ดังจะเห็นความสําคัญที่
มนุษยมีความตองการในการใชเทคโนโลยีมาชวยใน
การทํากิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวันมากขึ้นทั้งนี้
เพราะความเปนอยูที่ดีมาจากเทคโนโลยีที่พัฒนาไป
พรอมๆกับความตองการของมนุษยนั้นเอง
จะเห็นไดวาการนําเอาเทคโนโลยีตางๆมาใชใน
ชีวิตประจําวันนั้นมีทั้งผลดีและผลเสีย อุปกรณทาง
ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสก็เชนกันก็ยอมเกิดความ
เสียหายจากการใชงานดวย เมื่อเปนเชนนี้ ก็ตองรอน
ถึงชางที่ชํานาญเฉพาะทาง(ชางอิเล็กทรอนิกส)ที่ๆเรา
รูจักกันดี กวาเราจะเปนชางที่เกง ที่ดีมีคุณภาพได
นั้นจะตองมีความรูความสามารถในดานเนื้อหาวิชา
นั้นๆพอสมควร แตถาจะมองโดยรวมแลวพื้นฐาน
ในทางทฤษฎี ก็มีความสําคัญไมนอยไปกวา ทาง
ปฏิบัติเลย
อุปกรณทางไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน ก็มี
หลายอยางเลย เชน ตัวตานทาน(R) ตัวเก็บประจุ(C)
ตัวเหนี่ยวนํา(L) หมอแปลง(T) หลอดแอลอีดี(LED)
เปนตน แตในที่นี้เราจะพูดถึงเรื่องการอานคาตัวเก็บ
ประจุกันครับ
ในดานเนื้อหาของโปรแกรมนี้ก็มีความเกี่ยวเนื่องกับ
วิชา อุปกรณอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน เปนการใช
โปรแกรมภาษา ชี มาชวยในการอานคา ทั้งคาความจุ
คาความผิดพลาดของตัวเก็บประจุเอง (ตัวเก็บประจุ
ชนิดไมลารและเซรามิก)ซึ่งรายละเอียดจะไดกลาวใน
บทตอไป
วิธีการทํางาน
โครงงานนี้เขียนขึ้นโดยใชโปรแกรม CV.3 ในการทํางานจะอาศัยหลักการในการคํานวณทางคณิตศาสตร
(Operator)ดวยจะนําคาที่ไดรับมาจากแปนพิมพคือจะแยกออกเปน 2 สวน
- สวนแรกคือ เปนขั้นตอนในการคํานวณหาคาความจุ และสวนที่เหลือ เปนการคํานวณหา เปอรเซ็นตความผิดพลาด
เมื่อเริ่มการทํางาน โปรแกรมจะถามคาความจุของเลขรหัสที่ติดบนตัวเก็บประจุ จากนั้นเมื่อเราปอนคาเขาไปคําสั่ง
แรกของโปรแกรมชุดนี้จะทําการคํานวณและแสดงผลออกมา เปนคาความจุ จากรูปเปนลักษณะของโปรแกรม
- เมื่อผานการ (RUN) เรียบรอยแลวโปรแกรมจะถามวา คาของ C = ? ใหเราปอนคาเขาไป จากรูปโปรแกรมจะ
ถามเราตอบกลับมา เหมือนดังรูปตอไปนี้
- การรับคาทางแปนพิมพ ใหเคาะ Space Bar ในการเวนวรรคดวย ไมเชนนั้นโปรแกรมจะไมทราบคําสั่งที่เรา
ปอนเขาไปและเกิดการผิดพลาดในการทํางานของโปรแกรมดวย
เมื่อปอนคาเสร็จ ก็ Enter ก็จะไดคาความจุของตัวเก็บประจุออกมา ดังแสดงดังรูป
- ในสวนที่ 2 โปรแกรมจะใหเราเลือก ตัวอักษรที่ติดอยูบนตัวเก็บประจุ ตามหัวขอนั้นๆ เมื่อเราเลือกเสร็จ ก็จะ
แสดงผลออกมาเปนเปอรเซ็นตผิดพลาดโปรแกรมในชวงนี้จะเปนการทํางานโดยอาศัยการปอนขอมูลที่เราตองการ
ทราบคาๆผิดพลาดนั้นๆ จากรหัสตัวอักษรที่กํากับไวตามหมายเลขนั้นๆ( จากรูปเปนลักษณะของโคดโปรแกรม )
- การเลือกคาที่เราตองการทราบ ก็ตองปอนเปนตังเลขที่กํากับอยูดานหนาตังอักษรนั้น เพื่อที่จะไดนําขอมูลที่ไดรับ
ไปเปรียบเทียบตอไป
- จากนั้นโปรแกรมจะแสดงคาออกมา เปนเปอรเซ็นตผิดพลาดนั้นเอง ดังรูปตัวอยางตอไปนี้
Block Diagram
เริ่มตนการทํางาน
โปรแกรมจะถามรหัสคา ( C )
รับคาทางแปนพิมพ
ประมวลผล
แสดงคาออกทางหนาจอ
( คาความจุ )
รับคาทางแปนพิมพ
ตัดสินใจ
นําคาที่ไดไปเปรียบเทียบ
แสดงคาออกทางหนาจอ
( เปอรเซ็นตผิดพลาด )
จบการทํางาน
สรุปผลการทําโปรแกรม
ในการจัดทําโปรแกรมนี้ขึ้นมา ก็เพื่อ
ตองการใหทราบวาหลับการคํานวณทางคณิตศาสตร
ของโปรแกรมภาษา ชี วามีลักษณะ รูปแบบเปน
เชนใด อีกทั้งยังเปนการยกระดับของผูใชงานในการ
อานคาตัวอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสบางชนิด โดยมี
คาเหมือนกับการอานคาจริงที่ติดอยูกับตัวอุปกรณ
นอกจากนี้แลวยังเปนการทดสอบทักษะในการเรียน
การสอนของ อาจารยผูสอน กับตัวนักศึกษาวา
สามารถนํามาประยุกตใชงานใหสอดคลองกับ
สาขาวิชาที่เรียนไดหรือไมลักษณะของโปรแกรมเปน
โปรแกรมอยางงาย ดูแลวไมสับซอน สามารถเรียนรู
ไดดวยตัวเองและที่สําคัญ นําไปประยุกตเปน
ตนแบบในการเขียนโปรแกรมอานคาตัวอุปกรณทาง
อิเล็กทรอนิกสตางๆไดในอนาคต
กิตติกรรมประกาศ
ประวัติผูจัดทํา
นาย วีรชน ตะเรือน
คณะวิชา ไฟฟา สาขาวิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส
และโทรคมนาคม
มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยาเขต
ภาคพายัพ
ที่อยูปจจุบัน
19/1 ต.ชางเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300
โทร.053-404797
E-Mail :chon_seed2006@hotmail.com
ขอขอบคุณ อาจารย กําธร เรือนฝายกาศ และ เพื่อนๆ
พี่ๆ ที่คอยใหความชวยเหลือ คอยเปนที่ปรึกษา คอย
เปนกําลังใจในการทํางาน เปนอยางดีเสมอมา
เกี่ยวกับการทําโครงงานนี้ ขอขอบคุณเปนอยางสูงมา
ณ.โอกาสนี้ดวยครับ ขอบคุณครับ
อางอิง
กําธร เรือนฝายกาศ ,เอกสารประกอบการสอน วิชา
Computer Programming, เชียงใหม :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพายัพ
,2549
โปรแกรม
#include "stdio.h"
#include "math.h"
void main()
{
char pc;
float a,b,c;
int C;
{
clrscr();
printf ("Welcome To Pc-Digitaln");
printf("..........................................n");
printf ("nc = ");
scanf ("%f%f%f",&a,&b,&c);
c = (a*10+b)*pow(10,c)/1000000;
printf ("c = %0.5f uFnn",c);
printf("n.........................................n");
getch();
clrscr();
printf("****Menu***");
printf("n");
printf(" 1. pc f = ?% ");
printf("n");
printf(" 2. pc g = ?% ");
printf("n");
printf(" 3. pc j = ?% ");
printf("n");
printf(" 4. pc k = ?% ");
printf("n");
printf(" 5. pc l = ?% ");
printf("n");
printf(" 6. pc m = ?% ");
printf("n");
printf(" 7. pc n = ?% ");
printf("n");
printf(" 8. pc p = ?% ");
printf("n");
printf("chose 1-8 = ");
scanf ("%d",&pc);
switch(pc)
{
case (1):
printf("n pc f = +-1% ");
break;
case (2):
printf("n pc g = +-2% ");
break;
case (3):
printf("n pc j = +-5% ");
break;
case (4):
printf("n pc k = +-10%");
break;
case (5):
printf("n pc l = +-15%");
break;
case (6):
printf("n pc m = +-20%");
break;
case (7):
printf("n pc n = +-30%");
break;
case (8):
printf("n pc p = +-100%");
break;
}
printf("nn Thank You");
getch();
}}

More Related Content

เอกสาร Program C for Pc-Digital

  • 1. Program C for Pc-Digital นาย วีรชน ตะเรือน คณะวิชา ไฟฟา สาขาวิชา ครุศาสตรอุตสาหกรรม และ อิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยาเขตพายัพ 128 ถนนหวยแกว ต.ชางเผือก อ.เมือง จ. เชียงใหม 50300 โทร 053-3321576 บทนํา ในปจจุบันวิวัฒนาการทางอิเล็กทรอนิกสมี บทบาทความสําคัญตอการพัฒนาประเทศชาติเปน อยางมาก อีกทั้งยังเปนเรื่องของปจจัยความตองการ ของมนุษยไปอีกทางหนึ่ง ดังจะเห็นความสําคัญที่ มนุษยมีความตองการในการใชเทคโนโลยีมาชวยใน การทํากิจกรรมตางๆในชีวิตประจําวันมากขึ้นทั้งนี้ เพราะความเปนอยูที่ดีมาจากเทคโนโลยีที่พัฒนาไป พรอมๆกับความตองการของมนุษยนั้นเอง จะเห็นไดวาการนําเอาเทคโนโลยีตางๆมาใชใน ชีวิตประจําวันนั้นมีทั้งผลดีและผลเสีย อุปกรณทาง ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสก็เชนกันก็ยอมเกิดความ เสียหายจากการใชงานดวย เมื่อเปนเชนนี้ ก็ตองรอน ถึงชางที่ชํานาญเฉพาะทาง(ชางอิเล็กทรอนิกส)ที่ๆเรา รูจักกันดี กวาเราจะเปนชางที่เกง ที่ดีมีคุณภาพได นั้นจะตองมีความรูความสามารถในดานเนื้อหาวิชา นั้นๆพอสมควร แตถาจะมองโดยรวมแลวพื้นฐาน ในทางทฤษฎี ก็มีความสําคัญไมนอยไปกวา ทาง ปฏิบัติเลย อุปกรณทางไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสพื้นฐาน ก็มี หลายอยางเลย เชน ตัวตานทาน(R) ตัวเก็บประจุ(C) ตัวเหนี่ยวนํา(L) หมอแปลง(T) หลอดแอลอีดี(LED) เปนตน แตในที่นี้เราจะพูดถึงเรื่องการอานคาตัวเก็บ ประจุกันครับ ในดานเนื้อหาของโปรแกรมนี้ก็มีความเกี่ยวเนื่องกับ วิชา อุปกรณอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน เปนการใช โปรแกรมภาษา ชี มาชวยในการอานคา ทั้งคาความจุ คาความผิดพลาดของตัวเก็บประจุเอง (ตัวเก็บประจุ ชนิดไมลารและเซรามิก)ซึ่งรายละเอียดจะไดกลาวใน บทตอไป
  • 2. วิธีการทํางาน โครงงานนี้เขียนขึ้นโดยใชโปรแกรม CV.3 ในการทํางานจะอาศัยหลักการในการคํานวณทางคณิตศาสตร (Operator)ดวยจะนําคาที่ไดรับมาจากแปนพิมพคือจะแยกออกเปน 2 สวน - สวนแรกคือ เปนขั้นตอนในการคํานวณหาคาความจุ และสวนที่เหลือ เปนการคํานวณหา เปอรเซ็นตความผิดพลาด เมื่อเริ่มการทํางาน โปรแกรมจะถามคาความจุของเลขรหัสที่ติดบนตัวเก็บประจุ จากนั้นเมื่อเราปอนคาเขาไปคําสั่ง แรกของโปรแกรมชุดนี้จะทําการคํานวณและแสดงผลออกมา เปนคาความจุ จากรูปเปนลักษณะของโปรแกรม - เมื่อผานการ (RUN) เรียบรอยแลวโปรแกรมจะถามวา คาของ C = ? ใหเราปอนคาเขาไป จากรูปโปรแกรมจะ ถามเราตอบกลับมา เหมือนดังรูปตอไปนี้
  • 3. - การรับคาทางแปนพิมพ ใหเคาะ Space Bar ในการเวนวรรคดวย ไมเชนนั้นโปรแกรมจะไมทราบคําสั่งที่เรา ปอนเขาไปและเกิดการผิดพลาดในการทํางานของโปรแกรมดวย เมื่อปอนคาเสร็จ ก็ Enter ก็จะไดคาความจุของตัวเก็บประจุออกมา ดังแสดงดังรูป - ในสวนที่ 2 โปรแกรมจะใหเราเลือก ตัวอักษรที่ติดอยูบนตัวเก็บประจุ ตามหัวขอนั้นๆ เมื่อเราเลือกเสร็จ ก็จะ แสดงผลออกมาเปนเปอรเซ็นตผิดพลาดโปรแกรมในชวงนี้จะเปนการทํางานโดยอาศัยการปอนขอมูลที่เราตองการ ทราบคาๆผิดพลาดนั้นๆ จากรหัสตัวอักษรที่กํากับไวตามหมายเลขนั้นๆ( จากรูปเปนลักษณะของโคดโปรแกรม )
  • 4. - การเลือกคาที่เราตองการทราบ ก็ตองปอนเปนตังเลขที่กํากับอยูดานหนาตังอักษรนั้น เพื่อที่จะไดนําขอมูลที่ไดรับ ไปเปรียบเทียบตอไป - จากนั้นโปรแกรมจะแสดงคาออกมา เปนเปอรเซ็นตผิดพลาดนั้นเอง ดังรูปตัวอยางตอไปนี้
  • 5. Block Diagram เริ่มตนการทํางาน โปรแกรมจะถามรหัสคา ( C ) รับคาทางแปนพิมพ ประมวลผล แสดงคาออกทางหนาจอ ( คาความจุ ) รับคาทางแปนพิมพ ตัดสินใจ นําคาที่ไดไปเปรียบเทียบ แสดงคาออกทางหนาจอ ( เปอรเซ็นตผิดพลาด ) จบการทํางาน
  • 6. สรุปผลการทําโปรแกรม ในการจัดทําโปรแกรมนี้ขึ้นมา ก็เพื่อ ตองการใหทราบวาหลับการคํานวณทางคณิตศาสตร ของโปรแกรมภาษา ชี วามีลักษณะ รูปแบบเปน เชนใด อีกทั้งยังเปนการยกระดับของผูใชงานในการ อานคาตัวอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสบางชนิด โดยมี คาเหมือนกับการอานคาจริงที่ติดอยูกับตัวอุปกรณ นอกจากนี้แลวยังเปนการทดสอบทักษะในการเรียน การสอนของ อาจารยผูสอน กับตัวนักศึกษาวา สามารถนํามาประยุกตใชงานใหสอดคลองกับ สาขาวิชาที่เรียนไดหรือไมลักษณะของโปรแกรมเปน โปรแกรมอยางงาย ดูแลวไมสับซอน สามารถเรียนรู ไดดวยตัวเองและที่สําคัญ นําไปประยุกตเปน ตนแบบในการเขียนโปรแกรมอานคาตัวอุปกรณทาง อิเล็กทรอนิกสตางๆไดในอนาคต กิตติกรรมประกาศ ประวัติผูจัดทํา นาย วีรชน ตะเรือน คณะวิชา ไฟฟา สาขาวิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส และโทรคมนาคม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยาเขต ภาคพายัพ ที่อยูปจจุบัน 19/1 ต.ชางเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม 50300 โทร.053-404797 E-Mail :chon_seed2006@hotmail.com ขอขอบคุณ อาจารย กําธร เรือนฝายกาศ และ เพื่อนๆ พี่ๆ ที่คอยใหความชวยเหลือ คอยเปนที่ปรึกษา คอย เปนกําลังใจในการทํางาน เปนอยางดีเสมอมา เกี่ยวกับการทําโครงงานนี้ ขอขอบคุณเปนอยางสูงมา ณ.โอกาสนี้ดวยครับ ขอบคุณครับ อางอิง กําธร เรือนฝายกาศ ,เอกสารประกอบการสอน วิชา Computer Programming, เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพายัพ ,2549
  • 7. โปรแกรม #include "stdio.h" #include "math.h" void main() { char pc; float a,b,c; int C; { clrscr(); printf ("Welcome To Pc-Digitaln"); printf("..........................................n"); printf ("nc = "); scanf ("%f%f%f",&a,&b,&c); c = (a*10+b)*pow(10,c)/1000000; printf ("c = %0.5f uFnn",c); printf("n.........................................n"); getch(); clrscr(); printf("****Menu***"); printf("n"); printf(" 1. pc f = ?% "); printf("n"); printf(" 2. pc g = ?% ");
  • 8. printf("n"); printf(" 3. pc j = ?% "); printf("n"); printf(" 4. pc k = ?% "); printf("n"); printf(" 5. pc l = ?% "); printf("n"); printf(" 6. pc m = ?% "); printf("n"); printf(" 7. pc n = ?% "); printf("n"); printf(" 8. pc p = ?% "); printf("n"); printf("chose 1-8 = "); scanf ("%d",&pc); switch(pc) { case (1): printf("n pc f = +-1% "); break; case (2): printf("n pc g = +-2% "); break; case (3): printf("n pc j = +-5% "); break; case (4): printf("n pc k = +-10%"); break;
  • 9. case (5): printf("n pc l = +-15%"); break; case (6): printf("n pc m = +-20%"); break; case (7): printf("n pc n = +-30%"); break; case (8): printf("n pc p = +-100%"); break; } printf("nn Thank You"); getch(); }}