ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨ

         การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨโดยหลักแลวจะพิจารณาออกแบบตามวัตถุประสงคการใช และสภาพการ
ทํางานของหุนยนตเปนสําคัญ หากหุนยนตนั้นถูกใชในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งงานสวนใหญจะเปนงานที่ทําใน
ขอบเขตจํากัด การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨจึงไมมีความจําเปน ดังนั้นหุนยนตจึงถูกออกแบบใหมีลักษณะเปนแขน
กลชนิดติดตั้งอยูกับที่ แตหากการทํางานเปนไปในเชิงสํารวจ ตรวจการณ หรืองานที่มีขอบเขตการทํางานที่
กวาง จําเปนที่หุนยนตตองสามารถเคลื่อนที่ไปอยูในจุดตางๆได หุนยนตจะถูกออกแบบใหสามารถเคลื่อนที่ได
        • การเคลื่อนที่ โลโคโมชั่น (locomotion) หมายถึงเปนการกระทําดวยกําลังเพื่อใหเกิดการเคลื่อนที่
       จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
       • ความสามารถในการเคลื่อนที่ โมบิลิตี้ (mobility) หมายถึงความสามารถของระบบขับเคลื่อนที่จะ
       นําพาหุนยนตใหเคลื่อนที่ไปในพื้นผิวและสิ่งกีดขวางตางๆ


การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨสามารถแบงเปนประเภทใหญ ไดดังนี้

   •   การเคลื่อนที่โดยใชลอ (wheel-drive locomotion) คือหุนยนตที่ใชลอในการเคลื่อนที่ เหมาะ
       สําหรับหุนยนตทั่วไปที่ใชงานบนพื้นราบ โดยมีขอดีคือ หุนยนตจะสามารถเคลื่อนที่ไดอยางรวดเร็ว
       การควบคุมงาย ดังนั้นหุนยนตสวนใหญจึงถูกสรางใหเปนหุนยนตที่เคลื่อนที่โดยใชลอ สําหรับขอจํากัด
       ของการเคลื่อนที่ลักษณะนี้คือ หุนยนตไมสามารถจะไปในพื้นที่ตางระดับได การเดินทางในพื้นที่
       ขรุขระไปไดอยางยากลําบาก




   •   การเคลื่อนที่โดยใชลอสายพาน (track-drive locomotion) คือหุนยนตที่ใชลอสายพานในการ
เคลื่อนที่ เหมาะสําหรับหุนยนตที่ใชงานในพื้นที่ขรุขระ หรือพื้นที่ที่มีความตางระดับ การควบคุม
    สามารถทําไดงายเหมือนหุนยนตลอทั่วไป สวนขอจํากัดคือหุนยนตไมสามารถเคลื่อนที่ดวยความเร็ว
    สูงได และอาจกอใหเกิดความเสียหายตอพื้นผิวบริเวณที่หุนยนตเคลื่อนที่ไปเนื่องจากการตะกรุยของ
    ลอสายพาน




•   การเคลื่อนที่โดยใชขา (legged locomotion) ) คือหุนยนตที่ใชขาในการเคลื่อนที่ โดยเลียนแบบมา
    จากสิ่งมีชีวิต เชน หุนยนตเดินสี่ขา หรือหุนยนตเดินสองขา ขอดีของหุนยนตที่ใชขา คือหุนยนต
    สามารถไปไดในทุกที่ ทุกสภาพพื้นผิว สามารถที่จะกาวขามผานสิ่งกีดขวางตางๆได มีความสามารถใน
    การเคลื่อนที่ดีกวาลอ สวนขอจํากัดคือ การเคลื่อนที่ชา การควบคุมทําไดยากลําบากกวาการเคลื่อนที่
    แบบใชลอมาก และการรักษาสมดุลเปนสิ่งที่จําเปนมากสําหรับหุนยนตประเภทนี้ โดยเฉพาะหุนยนต
    ที่ใชสองขาในการเคลื่อนที่




•   การเคลื่อนที่โดยการบิน (flight locomotion) คือหุนยนตที่ใชปก หรือใบพัดในการเคลื่อนที่ ขอดี
ของหุนยนตบินคือ เคลื่อนที่รวดเร็ว สามารถเขาไปในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเขาถึงลําบากได ซึ่งงานสวน
    ใหญของหุนยนตประเภทนี้ก็คือการสํารวจ หรือการตรวจการณ ขอควรระวังของหุนยนตบิน
    เนื่องจากหุนยนตบินมีระยะในการปฏิบัติงานไดคอนขางไกล          การควบคุมจากระยะไกลจึงเขามามี
    บทบาทอยางมาก ระบบควบคุมที่ไมดีพออาจทําใหเกิดความเสียหายตอหุนยนตได




•   การเคลื่อนที่ในน้ํา (swimming locomotion) คือหุนยนตที่ใชใบพัดหรือครีบในการเคลื่อนที่ และมี
    ถังอับเฉาในการควบคุมการลอยตัวของหุนยนต ซึ่งไดแกหุนยนตปลา และหุนยนตเรือดําน้ํา ซึ่งสวน
    ใหญจะใชในงานสํารวจ ขอควรระวังของหุนยนตเคลื่อนที่ในน้ํา เนื่องจากการเคลื่อนที่ใตน้ําการ
    ควบคุมนั้นไมสามารถใชภาพมาใชในการนําทางได การควบคุมจึงตองใชอุปกรณตรวจรูอยางอื่นมานํา
    ทางแทน เชน ระบบการสะทอนกลับของคลื่นเสียง การควบคุมจึงตองมีความระมัดระวังเปนอยาง
    มาก




•   การเคลื่อนที่ในรูปแบบอื่น (other locomotion) คือหุนยนตที่ไมใชขาและลอในการเคลื่อนที่เชน
    หุนยนตงูจะใชการรวมแรงลัพธที่เกิดจาการบิดเคลื่อนที่ไปมาในแตละขอ ขับดันใหเคลื่อนที่ไปขางหนา
    ขอดีของหุนยนตประเภทนี้คือ สามารถไปไดในทุกสภาพพื้นผิว ขึ้นที่สูงได และยังมีความสามารถใน
การเขาที่แคบ จึงสามารถปฏิบัติงานไดอยางหลากหลาย และขอดีอีกอยางของหุนยนตประเภทนี้คือ
       ในแตละขอตอของหุนยนตที่ประกอบกันจะเหมือนกัน ดังนั้นถามีบางขอตอที่เกิดความเสียหายขึ้น จะ
       สามารถแทนดวยขอตออื่นไดทันที




        การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨ ตองคํานึงถึงวิธีการหรือรูปแบบของการเคลื่อนที่ดวยเหตุผลหลายประการ
เชน เพื่อใหเกิดการใชพลังงานในการเคลื่อนที่ต่ําสุด เพื่อใหหุนยนตมีความสามารถในการหลบหลีกสิ่งกีดขวาง
ได หรือเพื่อใหเกิดเสถียรภาพในขณะเคลื่อนที่เปนตน


            การพัฒนาการเคลื่อนที่ྺองหุȨȨเลียนแบบธรรมชาติเริ่มมีบทบาทสูงขึ้น      เชนการออกแบบ
หุนยนตเคลื่อนที่โดยใชสองขาเหมือนมนุษย การออกแบบหุนยนตเคลื่อนที่ใตน้ําโดยอาศัยหางและครีบที่โบก
ไปมาเหมือนปลา หรือหุนยนตที่บินไดโดยอาศัยปกที่กระพือเหมือนนก จะเห็นไดวากลไกการเคลื่อนที่ของ
ธรรมชาติลวนอาศัยกลไกการเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมา      เนื่องจากกลามเนื้อของสิ่งมีชีวิตมีระยะยืดหดที่
จํากัด ตางจากตนกําลังในหุนยนตซึ่งสวนมากจะใชมอเตอรที่ใชการหมุนเปนหลัก การเคลื่อนที่ในลักษณะ
กลับไปกลับมา ที่หางหรือปกของสัตว จะสรางกระแสหมุนวน (vortex) ของของไหลอยางตอเนื่อง กระแส
หมุนวนนี้สรางแรงขับดันอันมหาศาลจากการโบกขยับอวัยวะเพียงเล็กนอยของสัตวไดอยางไร และทําไมจึงมี
ประสิทธิภาพสูงกวาระบบขับเคลื่อนที่มนุษยสรางขึ้น      ประเด็นความเขาใจนี้ยังคงเปนปริศนาและรอให
นักวิทยาศาสตรคนควาหาคําตอบตอไป

แหลงที่มา

สมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย

บทความเกี่ยวกับหุนยนต : http://www.trs.or.th/index.php/article

More Related Content

การเคลื่อนที่ྺองหุ่นยนต์

  • 1. การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨ การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨโดยหลักแลวจะพิจารณาออกแบบตามวัตถุประสงคการใช และสภาพการ ทํางานของหุนยนตเปนสําคัญ หากหุนยนตนั้นถูกใชในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งงานสวนใหญจะเปนงานที่ทําใน ขอบเขตจํากัด การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨจึงไมมีความจําเปน ดังนั้นหุนยนตจึงถูกออกแบบใหมีลักษณะเปนแขน กลชนิดติดตั้งอยูกับที่ แตหากการทํางานเปนไปในเชิงสํารวจ ตรวจการณ หรืองานที่มีขอบเขตการทํางานที่ กวาง จําเปนที่หุนยนตตองสามารถเคลื่อนที่ไปอยูในจุดตางๆได หุนยนตจะถูกออกแบบใหสามารถเคลื่อนที่ได • การเคลื่อนที่ โลโคโมชั่น (locomotion) หมายถึงเปนการกระทําดวยกําลังเพื่อใหเกิดการเคลื่อนที่ จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง • ความสามารถในการเคลื่อนที่ โมบิลิตี้ (mobility) หมายถึงความสามารถของระบบขับเคลื่อนที่จะ นําพาหุนยนตใหเคลื่อนที่ไปในพื้นผิวและสิ่งกีดขวางตางๆ การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨสามารถแบงเปนประเภทใหญ ไดดังนี้ • การเคลื่อนที่โดยใชลอ (wheel-drive locomotion) คือหุนยนตที่ใชลอในการเคลื่อนที่ เหมาะ สําหรับหุนยนตทั่วไปที่ใชงานบนพื้นราบ โดยมีขอดีคือ หุนยนตจะสามารถเคลื่อนที่ไดอยางรวดเร็ว การควบคุมงาย ดังนั้นหุนยนตสวนใหญจึงถูกสรางใหเปนหุนยนตที่เคลื่อนที่โดยใชลอ สําหรับขอจํากัด ของการเคลื่อนที่ลักษณะนี้คือ หุนยนตไมสามารถจะไปในพื้นที่ตางระดับได การเดินทางในพื้นที่ ขรุขระไปไดอยางยากลําบาก • การเคลื่อนที่โดยใชลอสายพาน (track-drive locomotion) คือหุนยนตที่ใชลอสายพานในการ
  • 2. เคลื่อนที่ เหมาะสําหรับหุนยนตที่ใชงานในพื้นที่ขรุขระ หรือพื้นที่ที่มีความตางระดับ การควบคุม สามารถทําไดงายเหมือนหุนยนตลอทั่วไป สวนขอจํากัดคือหุนยนตไมสามารถเคลื่อนที่ดวยความเร็ว สูงได และอาจกอใหเกิดความเสียหายตอพื้นผิวบริเวณที่หุนยนตเคลื่อนที่ไปเนื่องจากการตะกรุยของ ลอสายพาน • การเคลื่อนที่โดยใชขา (legged locomotion) ) คือหุนยนตที่ใชขาในการเคลื่อนที่ โดยเลียนแบบมา จากสิ่งมีชีวิต เชน หุนยนตเดินสี่ขา หรือหุนยนตเดินสองขา ขอดีของหุนยนตที่ใชขา คือหุนยนต สามารถไปไดในทุกที่ ทุกสภาพพื้นผิว สามารถที่จะกาวขามผานสิ่งกีดขวางตางๆได มีความสามารถใน การเคลื่อนที่ดีกวาลอ สวนขอจํากัดคือ การเคลื่อนที่ชา การควบคุมทําไดยากลําบากกวาการเคลื่อนที่ แบบใชลอมาก และการรักษาสมดุลเปนสิ่งที่จําเปนมากสําหรับหุนยนตประเภทนี้ โดยเฉพาะหุนยนต ที่ใชสองขาในการเคลื่อนที่ • การเคลื่อนที่โดยการบิน (flight locomotion) คือหุนยนตที่ใชปก หรือใบพัดในการเคลื่อนที่ ขอดี
  • 3. ของหุนยนตบินคือ เคลื่อนที่รวดเร็ว สามารถเขาไปในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเขาถึงลําบากได ซึ่งงานสวน ใหญของหุนยนตประเภทนี้ก็คือการสํารวจ หรือการตรวจการณ ขอควรระวังของหุนยนตบิน เนื่องจากหุนยนตบินมีระยะในการปฏิบัติงานไดคอนขางไกล การควบคุมจากระยะไกลจึงเขามามี บทบาทอยางมาก ระบบควบคุมที่ไมดีพออาจทําใหเกิดความเสียหายตอหุนยนตได • การเคลื่อนที่ในน้ํา (swimming locomotion) คือหุนยนตที่ใชใบพัดหรือครีบในการเคลื่อนที่ และมี ถังอับเฉาในการควบคุมการลอยตัวของหุนยนต ซึ่งไดแกหุนยนตปลา และหุนยนตเรือดําน้ํา ซึ่งสวน ใหญจะใชในงานสํารวจ ขอควรระวังของหุนยนตเคลื่อนที่ในน้ํา เนื่องจากการเคลื่อนที่ใตน้ําการ ควบคุมนั้นไมสามารถใชภาพมาใชในการนําทางได การควบคุมจึงตองใชอุปกรณตรวจรูอยางอื่นมานํา ทางแทน เชน ระบบการสะทอนกลับของคลื่นเสียง การควบคุมจึงตองมีความระมัดระวังเปนอยาง มาก • การเคลื่อนที่ในรูปแบบอื่น (other locomotion) คือหุนยนตที่ไมใชขาและลอในการเคลื่อนที่เชน หุนยนตงูจะใชการรวมแรงลัพธที่เกิดจาการบิดเคลื่อนที่ไปมาในแตละขอ ขับดันใหเคลื่อนที่ไปขางหนา ขอดีของหุนยนตประเภทนี้คือ สามารถไปไดในทุกสภาพพื้นผิว ขึ้นที่สูงได และยังมีความสามารถใน
  • 4. การเขาที่แคบ จึงสามารถปฏิบัติงานไดอยางหลากหลาย และขอดีอีกอยางของหุนยนตประเภทนี้คือ ในแตละขอตอของหุนยนตที่ประกอบกันจะเหมือนกัน ดังนั้นถามีบางขอตอที่เกิดความเสียหายขึ้น จะ สามารถแทนดวยขอตออื่นไดทันที การเคลื่อนที่ྺองหุȨȨ ตองคํานึงถึงวิธีการหรือรูปแบบของการเคลื่อนที่ดวยเหตุผลหลายประการ เชน เพื่อใหเกิดการใชพลังงานในการเคลื่อนที่ต่ําสุด เพื่อใหหุนยนตมีความสามารถในการหลบหลีกสิ่งกีดขวาง ได หรือเพื่อใหเกิดเสถียรภาพในขณะเคลื่อนที่เปนตน การพัฒนาการเคลื่อนที่ྺองหุȨȨเลียนแบบธรรมชาติเริ่มมีบทบาทสูงขึ้น เชนการออกแบบ หุนยนตเคลื่อนที่โดยใชสองขาเหมือนมนุษย การออกแบบหุนยนตเคลื่อนที่ใตน้ําโดยอาศัยหางและครีบที่โบก ไปมาเหมือนปลา หรือหุนยนตที่บินไดโดยอาศัยปกที่กระพือเหมือนนก จะเห็นไดวากลไกการเคลื่อนที่ของ ธรรมชาติลวนอาศัยกลไกการเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมา เนื่องจากกลามเนื้อของสิ่งมีชีวิตมีระยะยืดหดที่ จํากัด ตางจากตนกําลังในหุนยนตซึ่งสวนมากจะใชมอเตอรที่ใชการหมุนเปนหลัก การเคลื่อนที่ในลักษณะ กลับไปกลับมา ที่หางหรือปกของสัตว จะสรางกระแสหมุนวน (vortex) ของของไหลอยางตอเนื่อง กระแส หมุนวนนี้สรางแรงขับดันอันมหาศาลจากการโบกขยับอวัยวะเพียงเล็กนอยของสัตวไดอยางไร และทําไมจึงมี ประสิทธิภาพสูงกวาระบบขับเคลื่อนที่มนุษยสรางขึ้น ประเด็นความเขาใจนี้ยังคงเปนปริศนาและรอให นักวิทยาศาสตรคนควาหาคําตอบตอไป แหลงที่มา สมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย บทความเกี่ยวกับหุนยนต : http://www.trs.or.th/index.php/article