ݺߣ
Submit Search
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
•
0 likes
•
975 views
หัว' เห็ด.
Follow
1 of 29
Download now
Download to read offline
More Related Content
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
1.
งานนาเสนอ รายวิชา วิทยาศาสตร์ เรื่
อง เครื่ องใช้ ไฟฟา ้
2.
จัดทำโดย เด็กหญิง
วิมลรัตน์ วรรกำร เลขที่ 37 เด็กหญิง ศิรินพร เต็มใจ เลขที่ 38 เด็กหญิง สมัชญำ ค้ำสม เลขที่ 39 เด็กหญิง สุ ดำรัตน์ อินโต เลขที่ 40
3.
คำȨ
รายงานเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึงของวิชา วิทยาศาสตร์ จัดทาขึ ้นเพื่อประกอบการศึกษา ่ วิชา วิทยาศาสตร์ วิชานี ้ที่ต้องการให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ เกี่ยวกับเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ าน ้ เพื่อให้ ผ้ อานได้ รับข้ อมูลอย่างถูกต้ อง และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี ้จะเป็ น ู่ ประโยชน์ตอผู้อานไม่มากก็น้อย ่ ่ ถ้ าหากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี ้ด้ วย คณะผู้จดทา ั
4.
เครื่องใช้ ไฟฟ้ า เครื่องใช้
ไฟฟ้ า คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ ำเป็ นพลังงำนรู ปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ 1. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้แสงสว่ำง 2. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้ควำมร้อน 3. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้พลังงำนกล 4. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้พลังงำนเสี ยง
5.
ประเภทของหลอดไฟ 1. หลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ
มีไส้หลอดที่ทำด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสู ง เช่น ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอำไว้เหมือนขดลวดสปริ งภำยในหลอดแก้วสู บอำกำศออก หมดแล้วบรรจุก๊ำซเฉื่ อย เช่น อำร์กอน (AR) ไว้ ก๊ำซนี้ช่วยป้ องกันไม่ให้หลอด ไฟฟ้ ำดำ ลักษณะของหลอดไฟเป็ นดังรู ป หลักการทางานของหลอดไฟฟาธรรมดา ้ กระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนไส้หลอดซึ่ งมีควำมต้ำนทำนสู ง พลังงำนไฟฟ้ ำจะเปลี่ยนเป็ น พลังงำนควำมร้อน ทำให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมำได้ กำรเปลี่ยน พลังงำนเป็ นดังนี้ พลังงำนไฟฟ้ ำ >>>พลังงำนควำมร้อน >>>พลังงำนแสง
6.
2. หลอดเรื่ องแสง
หรื อ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็ นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงำน ไฟฟ้ ำเป็ นพลังงำนแสงสว่ำง ซึ่ งมีกำรประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่ ำงหลำยแบบ อำจ ทำเป็ นหลอดตรง สั้น ยำว ขดเป็ นวงกลมหรื อครึ่ งวงกลม เป็ นต้น ส่ วนประกอบของหลอดเรืองแสง ่ ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูที่ปลำยทั้ง 2 ข้ำง ของหลอดแก้ว ซึ่ งผิวภำยในของหลอด ฉำบด้วยสำรเรื่ องแสง อำกำศในหลอดแก้วถูกสู บออกจนหมดแล้วใส่ ไอปรอทไว้เล็กน้อย ดังรู ป
7.
อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรื องแสงทำงำน 1. สตำร์ตเตอร์
(starter) ทำหน้ำที่เป็ นสวิตซ์อตโนมัติในขณะหลอด ั เรื องแสง ยังไม่ติดและหยุดทำงำนเมื่อหลอดติดแล้ว 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำหน้ำที่เพิมควำมต่ำงศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรื อง ่ แสงติดในตอนแรกและทำหน้ำที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้ ำที่ผำนหลอด ให้่ ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว
8.
กำรใช้หลอดเรื องแสงต้องต่อวงจรเข้ำกับสตำร์ตเตอร์ และแบลลัสต์ แล้วจึงต่อเข้ำกับสำยไฟฟ้
ำใȨ้ำน
9.
หลักการทางานของหลอดเรืองแสง เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ควำมร้อนที่เกิดทำให้ปรอทที่บรรจุ ไว้ในหลอดกลำยเป็
นไอมำกขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนไอปรอทได้จะคำยพลังงำนไฟฟ้ ำให้ ่ ไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยูในภำวะถูกกระตุน และอะตอมปรอทจะคำยพลังงำน ้ ออกมำเพื่อลดระดับพลังงำนของตนในรู ปของรังสี อลตรำไวโอเลต เมื่อรังสี ดงกล่ำวกระทบ ั ั สำรเรื องแสงที่ฉำบไว้ที่ผิวในของหลอดเรื องแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสี ต่ำงๆ ตำมชนิดของสำรเรื องแสงที่ฉำบไว้ภำยในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสี ชมพู ซิ งค์ซิลิเคทให้แสงสี เขียว แมกนีเซี ยมทังสเตนให้แสงสี ขำวอมฟ้ ำ และยังอำจผสมสำรเหล่ำนี้ เพื่อให้ได้สีผสมที่แตกต่ำงออกไปอีกด้วย ข้ อดีของหลอดเรืองแสง 1. มีประสิ ทธิ ภำพสู งกว่ำหลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ เสี ยค่ำไฟฟ้ ำเท่ำกัน แต่ได้ไฟที่สว่ำงกว่ำ 2. ให้แสงที่เย็นตำ กระจำยไปทัวหลอด ไม่รวมเป็ นจุดเหมือนหลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ ่ 3. อำจจัดสี ของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยกำรเปลี่ยนชนิดสำรเรื องแสง 4. อุณหภูมิของหลอดเรื องแสงไม่สูงเท่ำกับหลอดไฟธรรมดำขณะทำงำน
10.
3. หลอดนีออน หรื
อหลอดไฟโฆษณำ เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ ำเป็ น แสงสว่ำง มีลกษณะเป็ นหลอดแก้วที่ถกลนไฟ ดัดเป็ นรู ปหรื ออักษรต่ำงๆ สูบอำกำศ ั ู ออกเป็ นสุ ญญำกำศ แล้วใส่ ก๊ำซบำงชนิ ดที่ให้แสงสี ตำงๆ ออกมำได้ เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำ ่ ่ ผ่ำนหลอดชนิดนี้ไม่มีไส้หลอดไฟ แต่ใช้ข้ วไฟฟ้ ำทำด้วยโลหะติดอยูที่ปลำย ั ทั้ง 2 ข้ำง แล้วต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำที่มีควำมต่ำงศักย์สูงประมำณ 10,000 โวลต์ ซึ่ งมี ๊ ควำมต่ำงศักย์ที่สูงมำก จะทำให้กำซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิดกำรแตกตัวเป็ นนีออนและ นำไฟฟ้ ำได้เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนก๊ำซเหล่ำนี้จะทำให้ก๊ำซร้อนติดไฟให้แสงสี ต่ำงๆ ได้ ตัวอย่ำงก๊ำซชนิ ดต่ำงๆ ที่บรรจุในหลอดโฆษณำ - ก๊ำซนีออน ให้แสงสี แดง - ก๊ำซฮีเลียม ให้แสงสี ชมพู - ก๊ำซอำร์ กอน ให้แสงสี ขำวอมน้ ำเงิน และถ้ำใช้ก๊ำซต่ำงๆ ผสมกันก็จะได้สีต่ำงๆ ออกไป
11.
ข้ อแนะนำกำรใช้ หลอดไฟอย่
ำงประหยัด 1. ใช้หลอดเรื องแสงจะให้แสงสว่ำงมำกกว่ำหลอดธรรมดำประมำณ 4 เท่ำ เมื่อใช้พลังงำน ไฟฟ้ ำเท่ำกัน และอำยุกำรใช้งำนจะทนกว่ำประมำณ 8 เท่ำ 2.ใช้แสงสว่ำงให้เหมำะกับกำรใช้งำนที่ใดต้องกำรแสงสว่ำงไม่มำกนักควรติดไฟน้อยดวง 3. ทำควำมสะอำดโป๊ ะไฟ จะให้แสงสว่ำงเต็มที่ 4. ปิ ดไฟทุกครั้งที่ไม่จำเป็ นต้องใช้
12.
พัึϸมไฟฟา
้ พัดลมไฟฟ้ ำเป็ นผลิตภัณฑ์อำนวยควำมสะดวกชนิ ดหนึ่ง ที่ช่วยบรรเทำควำมร้อน จำกสภำพภูมิอำกำศ พัด ไฟฟ้ ำในปั จจุบนมีหลำยชนิ ดคือ ชนิดตั้งโต๊ะ ตั้งพื้น ติดผนัง ั แขวนเพดำนและส่ ำยรอบตัว
13.
พัดลมไฟฟ้ ามาตรฐาน
่ ั ้ พัดลมไฟฟ้ ำซึ่ งมีอยูมำกมำยในท้องตลำด อำจจะทำควำมลำบำกให้กบผูซ้ื อ เพรำะไม่รู้วำจะ ่ เลือกซื้ อยีหอไหนดี สิ่ งที่จะช่วยท่ำนได้ คือกำรสังเกตเครื่ องหมำยมำตรฐำนที่แสดงบน ่ ้ ่ ผลิตภัณฑ์ เพรำะเป็ นพัดลมไฟฟ้ ำที่ผำนกำรรับรองคุณภำพจำกสำนักงำนมำตรฐำน ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม ซึ่ งมีขอดีหลำยประกำร คือ ้ 1. มีระบบกำรป้ องกันไฟฟ้ ำช็อกที่ไว้ใจได้ 2. มีกำรป้ องกันกำรสัมผัสโดยตรงกับส่ วนที่มีกระแสไฟฟ้ ำอย่ำงไว้ใจได้ 3. พัดลมไม่ไหม้เสี ยหำยจำกอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น เพรำะจะไม่สูงเกินค่ำที่กำหนดไว้ 4. กระแสไฟฟ้ ำรั่วได้ไม่เกิน 0.5 มิลลิแอมแปร์ ทำให้ไม่มีอนตรำยแก่ผใช้ ั ู้
14.
ตู้เย็น เป็ นเครื่
องใช้ ไฟฟาที่ทาความเย็นโดยประกอบด้ วยสองส่วนหลัก ๆ คือ ส่วน ้ ฉนวนปองกันความร้ อน (ปองกันไม่ให้ ความร้ อนไหลเข้ ามา) และ ส่วนทาความเย็น ้ ้ (ปั๊ มที่นาความร้ อนออกไปสูภายนอกซึงมีอณหภูมิต่ากว่า) คนส่วนใหญ่ใช้ ต้ เู ย็น ่ ่ ุ เก็บอาหาร เพื่อปองกันการเน่าเสีย เนื่องจากแบคทีเรี ยเติบโตช้ ากว่าในอุณหภูมิต่า ้ ตู้เย็นมีหลายประเภทตังแต่แบบที่มอณหภูมิสงกว่าจุดเยือกแข็ง (ช่องธรรมดา) ้ ี ุ ู แบบที่อณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งเล็กน้ อย (ช่องแช่แข็ง, ช่องฟรี ซ) ก่อนที่จะมี ุ ตู้เย็นประเทศในเขตหนาวใช้ กล่องน ้าแข็ง (icebox) ในการรักษาอาหาร
15.
คาแนะนาวิธีใช้ ไฟฟาอย่ างประหยัด
้ ่ ควรปิ ดไฟทุกครั้งเมื่อไม่มีคนอยูในห้อง - เลือกใช้หลอดไฟที่มีกำลังวัตต์เหมำะสมกับ กำรใช้งำน - สำหรับบริ เวณที่ตองกำรควำมสว่ำงมำก ้ ภำยในอำคำรควรเลือกใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ ส่ วนภำยนอกอำคำรควรเลือกใช้หลอดไอโซเดียม และหลอดไอปรอท - ควรใช้ฝำครอบดวงโคมแบบใสหำกไม่มีปัญหำ เรื่ องแสงจ้ำ และหมันทำควำมสะอำดอยูเ่ สมอ ่ - พิจำรณำใช้โคมไฟตั้งโต๊ะสำหรับงำนที่ตองกำร ้ แสงสว่ำงจุดเดียว ทีวี วิทยุ - ปิ ดเครื่ องทุกครั้งเมื่อไม่ได้ดู - ควรถอดปลักเมื่อไม่ใช้เป็ นเวลำนำน ๊
16.
ควรเลือกใช้โคมไฟแบบสะท้อนแสงแทนแบบเดิมที่ใช้พลำสติกปิ ด ควรใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์หรื อหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
แทนหลอดไส้ ซึ่งมี คำแนะนำในกำรใช้ดงนี้ ั - หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบผอม ขนำด 18 วัตต์ และ 36 วัตต์ มีควำมสว่ำงเท่ำกับ หลอด 20 วัตต์ และ 40 วัตต์ แต่ประหยัดไฟกว่ำ และสำมำรถใช้แทนกันได้ โดยไม่ตองเปลี่ยน ้ บัลลำสต์และสตำร์ทเตอร์ - หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์มี 2 ชนิด คือ ชนิดมีบลลำสต์ภำยในสำมำรภใช้แทน ั หลอดกลมแบบเกลียวได้ ส่ วนหลอดที่มีบลลำสต์ภำยนอก จะมีขำเสี ยบเพือต่อกับตัวบัล ั ่ ่ ลำสต์ที่อยูภำยนอก
17.
เตำรี ด
เป็ นเครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทให้ควำมร้อน ซึ่งในกำรรี ดแต่ละครั้งจะกินไฟมำก ดังนั้นจึงควรรู้จด ั วิธีใช้อย่ำงประหยัดและปลอดภัย ่ ่ - ก่อนอื่นควรตรวจสอบดูวำเตำรี ดอยูในสภำพพร้อม ที่จะใช้งำนหรื อไม่ เช่น สำย ตัวเครื่ อง เป็ นต้น - ตั้งปุ่ มปรับควำมร้อนให้เหมำะสมกับชนิดของผ้ำ - อย่ำพรมน้ ำจนเปี ยกแฉะ - ดึงเต้ำเสี ยบออกก่อนจะรี ดเสร็จประมำณ 2-3 นำที แล้วรี ดต่อไปจนเสร็ จ - ควรพรมน้ ำพอสมควร เตำรี ด - ถอดปลักออกเมื่อไม่ได้ใช้ ๊ - ควรรี ดผ้ำครำวละมำกๆ ติดต่อกันจนเสร็จ - ควรเริ่ มรี ดผ้ำบำง ๆ ก่อน ขณะเตำรี ดยังไม่ร้อน - ควรดึงปลักออกก่อนรี ดเสร็จเพรำะยังร้อนอีกนำน ๊ - ควรซักและตำกผ้ำโดยไม่ตองบิด จะทำให้รีดง่ำยขึ้น ้
18.
พัดลม - เปิ ดควำมเร็วลมพอควร -
เปิ ดเฉพำะเวลำใช้งำน - ควรเปิ ดหน้ำต่ำงใช้ลมธรรมชำติแทนถ้ำทำได้ เครื่ องเป่ าผม - เช็ดผมก่อนใช้เครื่ อง - ควรขยี้และสำงผมไปด้วยขณะเป่ ำ เครื่ องดูดฝุ่ น - ควรเอาฝุ่ นในถุงทิ ้งทุกครังที่ใช้ แล้ วจะได้ มีแรงดูดดี ไม่เปลืองไฟ ้
19.
ตูเ้ ย็น ตูแช่
้ - ตั้งอุณหภูมิพอสมควร - นำของที่ไม่ร้อนใส่ ตเู้ ย็น - ปิ ดประตูตเู้ ย็นทันทีเมื่อนำของใส่ หรื อออก - ปิ ดประตูตเู้ ย็นให้สนิท - หำกยำงขอบประตูรั่วให้รีบแก้ไข - เลือกตูเ้ ย็นหรื อตูแช่ชนิดมีประสิ ทธิภำพสูง ้ - ควรใช้ตเู้ ย็นขนำดเหมำะกับครอบครัว - ควรตั้งตูเ้ ย็นให้ห่ำงจำกแหล่งควำมร้อน ให้หลังตูห่ำงจำกฝำ ้ เกิน 15 ซ.ม. เพื่อระบำยควำมร้อนได้สะดวก ไม่เปลื่องไฟฟ้ ำ - ควรหมันทำควำมสะอำดแผงระบำยควำมร้อน ่ - ควรเก็บเฉพำะอำหำรเท่ำที่จำเป็ น - กำรเลือกซื้ อตูเ้ ย็น, ตูแช่ มีคำแนะนำให้ท่ำนพิจำรณำก่อนซื้อดังนี้ ้ - เลือกขนำดให้พอเหมำะกับควำมต้องกำรของครอบครัว - ตูเ้ ย็นแบบประตูเดียวกินไฟน้อยกว่ำแบบ 2 ประตู - ควรวำงตูเ้ ย็นให้อำกำศถ่ำยเทได้สะดวก - ตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิให้เหมำะกับจำนวนของที่ใส่ - อย่ำเปิ ดตูเ้ ย็นทิ้งไว้นำน ๆ และอย่ำนำของร้อนมำแช่
20.
- หมันละลำยน้ ำแข็งเมื่อเห็นว่ำน้
ำแข็งเกำหนำมำก ่ หม้ อหุงข้ าวไฟฟา ้ หำกใช้อย่ำงถูกต้องสำมำรถประหยัดพลังงำนไฟฟ้ ำได้มำก ซึ่ งมีขอแนะนำดังนี้ ้ ั - ควรหุงข้ำวให้พอดีกบจำนวนผูรับประทำน ้ - ควรดังเต้ำเสี ยบออกเมื่อข้ำวสุ กแล้ว - ใช้ขนำดที่เหมำะสมกับจำนวนสมำชิกในครอบครัว ๊ ั ั - ควรดึงปลักออกเมื่อข้ำวสุ กพอแล้ว ปัจจุบนหม้อหุงข้ำวไฟฟ้ ำมีใช้กนมาก ้ - อย่ำทำให้กนหม้อตัวในเกิดรอยบุบ จะทำให้ขำวสุ กช้ำ ้ - หมันตรวจบริ เวณแท่นควำมร้อนในหม้อ อย่ำให้เม็ดข้ำวเกำะติด จะทำให้ข่ำวสุ กช้ำและเปลืองไฟหม้ อต้ มน ้า ่ หม้ อต้ มกาแฟ - ใส่ น้ ำให้มีปริ มำณพอควร - ควรปิ ดฝำให้สนิทขณะต้ม - ควรปิ ดสวิตช์ทนทีเมื่อน้ ำเดือด ั
21.
เครื่ องสูบน ้า -
ควรติดตั้งอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำในถัง ั - และหมันปรับตั้งให้ถูกต้องเสมอ ่ - ติดตั้งท่อน้ ำให้มีขนำดเหมำะสมกับขนำดปั้ม - ควรตรวจแก้ไขจุดรั่วในระบบน้ ำ - ควรใช้น้ ำอย่ำงประหยัด - ควรติดตั้งถังเก็บน้ ำในตำแหน่งที่ไม่สูงเกินไป เครื่ องสูบน้ ำเป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่อำนวยควำมสะดวกอย่ำงยิงซึ่งใช้มอเตอร์ไฟฟ้ ำในกำรสูบน้ ำไปยังถังเก็บหรื อ ่ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ซ่ ึงมีวธีกำรใช้อย่ำงประหยัดดังนี้ ิ - ควรติดตั้งอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำในถังเก็บ และดูแลรักษำ ั ให้ทำงำนได้อยูเ่ สมอ - ตรวจสอบรอยรั่วตำมข้อต่อต่ำง ๆ หำกพบควรรับซ่อมแซมแก้ไขโดยเร็ ว - หำกตัวถังเก็บน้ ำไม่มีอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำ ควรดูแล ั อย่ำให้น้ ำล้นถัง - เครื่ องสูบน้ ำแบบใช้สำยพำนต้องตรวจสอบไม่ให้หย่อนหรื อตึงเกินไป
22.
เครื่ องซักผ้ำ - ควรใส่
ผำแต่พอเหมำะ ไม่นอยเกินไป และไม่มำกจนเกิน ้ ้ มอเตอร์ไฟฟ้ ำ - ควรตรวจสอบแก้ไข และอัดจำรบีตำมวำระ - ปรับปรุ งสำยพำนมอเตอร์ เช่น ปรับควำมตึง เตำอบ เตำไฟฟ้ ำ เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทนี้ ใช้ควำมร้อนมำทำให้อำหำรสุ กหำกให้ควำมร้อนสูญเสี ยไปโดยกำรใช้ไม่ถูกวิธี ทำ ให้อำหำรสุ กช้ำลง กินกระแสไฟเพิ่มขึ้นจึงมีขอแนะนำกำรใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทนี้อย่ำงประหยัดคือ ้ - ควรเตรี ยมเครื่ องปรุ งในกำรประกอบอำหำรให้พร้อมก่อนใช้เตำ - ควรใช้ภำชนะก้นแบนและเป็ นโลหะจะทำให้รับควำมร้อน จำกเตำได้ดี ั - ในกำรหุนต้มอำหำรควรใส่ น้ ำให้พอดีกบจำนวนอำหำร ้ - ในระหว่ำงอบอำหำรอย่ำเปิ ดตูอบบ่อย ๆ ้ - ถอดเต้ำเสี ยบทันทีเมื่อปรุ งอำหำรเสร็จเรี ยบร้อย - ควรหรี่ ไฟและปิ ดฝำหม้อในกรณี ที่ตองเคี่ยว ้ - ควรเตรี ยมเครื่ องปรุ งให้พร้อมก่อนใช้เตำ
23.
- ควรใช้เตำชนิดมองไม่เห็นขดลวดซึ่งไม่เสี ยควำมร้อน สูญเปล่ำมำก
และปลอดภัยกว่ำ ้ - ควรใช้พำหนะก้นแบนขนำดพื้นที่กนเหมำะกับพื้นที่หน้ำเตำ ั ่ และใช้พำหนะที่มีเนื้อโลหะรับควำมร้อนได้ดี หำกเป็ นไปได้ให้ใช้กบเตำไฟฟ้ ำซึ่งมีขำยทัวไปอยูแล้ว ่ - ควรปิ ดฝำภำชนะให้สนิทขณะตั้งเตำ เครื่ องทาน ้าอุน ่ วิธีกำรใช้เครื่ องทำน้ ำอุ่นให้ประหยัดและปลอดภัย - ปรับปุ่ มควำมร้อนให้เหมำะสมกับร่ ำงกำย - ปิ ดวำล์วทันทีเมื่ครื่องขนำดพอสมควร - ใช้ เอไม่ใช้งำน - หำกมีรอยรั-่วควรรี บงควำมร้ อนไม่ ให้ รที นเกินควำมจำเป็ น ปรั บปรุ ทำกำรแก้ไขทัน ้ อ - ต่อสำยลงดิ-นปิ ดก๊ อกทุกครังใเมื่อไม่ ใช้ งำนงทำน้ ำอุ่น ในจุดที่จดไว้้ ห้ของเครื่ อ ั - ในฤดูร้อนไม่ จำเป็ นต้ องใช้ นำร้ อน หรือนำอุ่น ้ ้ - ปิ ดสวิชต์ไฟฟ้ ำของเครื่ องทำน้ ำอุ่นเมื่อไม่ใช้ - ควรใช้ นำอุ่นที่ได้ ควำมร้ อนจำกแสงอำทิตย์ ้ - ปฏิบติตำมคำแนะนำที่แนบมำกับเครื่ อง ั - ใช้เครื่ องขนำดพอสมควร - ปรับปรุ งควำมร้อนไม่ให้ร้อนเกินควำมจำเป็ น - ปิ ดก๊อกทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งำน - ในฤดูร้อนไม่จำเป็ นต้องใช้น้ ำร้อน หรื อน้ ำอุ่น - ควรใช้น้ ำอุ่นที่ได้ควำมร้อนจำกแสงอำทิตย์
24.
เครื่ องปรับอากาศ กำรใช้เครื่ องปรับอำกำศให้มีควำมเย็นที่สบำยต่อร่
ำงกำย จะประหยัดค่ำไฟฟ้ ำอย่ำงได้ผล ซึ่ งควรปฏิบติดงนี้ ั ั - ปิ ดเครื่ องทุกครั้งเมื่อไม่อยู่ - ปิ ดประตูหน้ำต่ำงและผ้ำม่ำนกันควำมร้อนจำกภำยนอก - ตั้งอุณหภูมิไม่ควรต่ำกว่ำ 26 องศำเซลเซียส - ควรใช้เครื่ องขนำดเหมำะสมกับขนำดห้อง - ควรเลือกเครื่ องปรับอำกำศที่มีประสิ ทธิภำพสูง - ควรติดตั้งเครื่ องระดับสูงพอเหมำะ และให้อำกำศร้อนระบำยออกด้ำนหลังเครื่ องได้สะดวก - ควรบุผนังห้อง และหลังคำด้วยฉนวนกันควำมร้อน - ควรบำรุ งรักษำเครื่ องให้มีสภำพดีตลอดเวลำ - ควรหมันทำควำมสะอำดแผ่นกรองอำกำศ ่ และแผงระบำยควำมร้อน - ในฤดูหนำวขณะที่อำกำศไม่ร้อนมำกเกินไป ไม่ควรเปิ ด เครื่ องปรับอำกำศ - ปิ ดประตู หน้ำต่ำงให้มิดชิดไม่ให้ควำมเย็นรั่วไหล - พิจำรณำติดตั้งบังแสงหรื อกันแดด เพื่อลดภำระกำรทำงำนของเครื่ อง - ควรเลือกใช้ขนำดที่เหมำะสมกับขนำดของห้อง
25.
- ควรใช้ผำม่ำนกั้นประตูหน้ำต่ำง เพื่อป้
องกันควำมร้อนจำกภำยนอก ้ - ตั้งปุ่ มปรับอุณหภูมิให้เหมำะสมต่อร่ ำงกำย(ประมำณ 26 องศำเซลเซียส) - หมันทำควำมสะอำดแผ่นกรองอำกำศ ่ - ปฏิบติตำมคำแนะนำที่แนบมำกับเครื่ องปรับอำกำศ ั กำรใช้ กำรตรวจสอบ และกำรดูแลอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำ สำยไฟ -สำยไฟฟ้ ำเก่ำหรื อหมดอำยุใช้งำน สังเกตได้จำกฉนวนจะแตกหรื อแห้งกรอบบวม - ฉนวนสำยไฟชำรุ ด อำจเกิดจำกหนูหรื อแมลงกัดแทะหรื อวำงของหนักทับ เดินสำยไฟใกล้แหล่งควำมร้อน ถูกของมีคมบำด - จุดต่อสำยไฟต้องให้แน่น หน้ำสัมผัสให้ดี พันฉนวนให้เรี ยบร้อย - ขนำดของสำยไฟฟ้ ำ ใช้ขนำดของสำยให้เหมำะสมกับปริ มำณกระแสที่ไหลในสำย หรื อให้เหมำะสมกับ เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำในวงจรนั้น - สำยไฟฟ้ ำต้องไม่เดินอยูใกล้แหล่งควำมร้อน สำรเคมี หรื อถูกของหนักทับ เพรำะทำให้ฉนวนชำรุ ดได้ง่ำย ่ และเกิดกระแสไฟฟ้ ำลัดวงจรขึ้นได้ - สำยไฟฟ้ ำต้องไม่พำดบนโครงเหล็ก รั้วเหล็ก รำวเหล็ก หรื อส่ วนที่เป็ นโลหะต้องเดินสำยไฟฟ้ ำโดยใช้พก ุ ประกับ หรื อร้อยท่อให้เรี ยบร้อย เพื่อป้ องกันกระแสไฟฟ้ ำรั่วลงบนโครงโลหะ ซึ่ งจะเกิดอันตรำยขึ้นได้
26.
เต้ ารับ-เต้ าเสียบ
- เต้ำรับ เต้ำเสี ยบ ต้องไม่แตกร้ำว และไม่มีรอยไหม้ - กำรต่อสำยที่เต้ำรับและเต้ำเสี ยบ ต้องให้แน่น และใช้ขนำดสำยให้ถูกต้อง - เต้ำเสี ยบ เมื่อเสี ยบใช้งำนกับเต้ำรับต้องแน่น - เต้ำรับ ต้องติดตั้งในที่แห้ง ไม่เปี ยกชื้นหรื อมีน้ ำท่วม และควรติดให้พนมือเด็กเล็กที่อำจ ้ เล่นถึงได้ แผงสวิตช์ไฟฟา ้ - ต้องติดตั้งในที่แห้งไม่เปี ยกชื้นและสู งพอควร ห่ำงไกลจำกสำรเคมีและสำรไวไฟต่ำง ๆ ่ ่ - ตรวจสอบดูวำมี มด แมลงเข้ำไปทำรังอยูหรื อไม่ หำกพบว่ำมี ให้ดำเนินกำรกำจัด - อย่ำวำงสิ่ งกีดขวำงบริ เวณแผงสวิตช์ ่ - ควรมีผงวงจรไฟฟ้ ำโดยสังเขปติดอยูที่แผงสวิตช์ เพื่อให้ทรำบว่ำแต่ละวงจรจ่ำยไฟไปที่ ั ใด - แผงสวิตช์ที่เป็ นตูโลหะควรทำกำรต่อสำยลงดิน ้
27.
สวิตช์ตดตอȨȨึϸัดอาท์
ั - ตัวคัทเอำท์และฝำครอบต้องไม่แตก - ใส่ ฟิวส์ให้ถกขนำดและมีฝำครอบปิ ดให้มิดชิด ู - ห้ำมใช้วสดุอ่ืนใส่ แทนฟิ วส์ ั - ขั้วต่อสำยที่คทเอำท์ตองแน่นและใช้ขนำดสำยให้ถูกต้อง ั ้ - ใบมีดของตัทเอำท์เมื่อสับใช้งำนต้องแน่น เบรกเกอร์ - ตรวจสอบฝำครอบเบรคเกอร์ตองไม่แตกร้ำว ้ - ต้องมีฝำครอบปิ ดเบรคเกอร์ให้มิดชิด - ต้องติดตั้งในที่แห้งไม่เปี ยกชื่นและห่ำงไกลจำกสำรเคมีสำรไวไฟต่ำง ๆ - เลือกเบรคเกอร์ที่มีขนำดเหมำะสมกับอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำ
28.
1 หน่วย คือ
อะไร วัตต์หรื อแรงเทียนคือพลังไฟฟ้ ำหรื อกำลังไฟฟ้ ำ อุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่มีวตต์มำกก็กินไฟมำกกว่ำ ั ที่มีวตต์นอย (ในเวลำเท่ำกัน) ั ้ 1 กิโลวัตต์ คือ 1,000 วัตต์ 1 หน่วย หรื อ 1 ยูนิต หรื อ 1 กิโลวัตต์-ชัวโมง คือพลังงำนไฟฟ้ ำของอุปกรณ์ไฟฟ้ ำ ่ ขนำด 1,000 วัตต์ เปิ ดนำน 1 ชัวโมง ่ ตัวอย่ำง : หลอดไฟหลอดละ 100 วัตต์ จำนวน 10 หลอด รวม 100 x 10 = 1,000 วัตต์ ถ้ำเปิ ดนำน 2 ชัวโมง ทั้ง 10 หลอด จะเปลืองไฟฟ้ ำ ่ รวม = 1,000 วัตต์ x 2 ชัวโมง = 2,000 วัตต์-ชัวโมง ่ ่ หรื อ = 2 กิโลวัตต์-ชัวโมง หรื อ = 2 หน่วย หรื อ 2 ยูนิต ่
29.
เครื่ องใช้ ของท่านกินไฟประมาณกี่วตต์
ั - พัดลมตั้งพื้น 45-75 วัตต์ - พัดลมเพดำน 70-104 วัตต์ - หม้อหุงข้ำวไฟฟ้ ำ 500-1,000 วัตต์ - ตูเ้ ย็น 2-12 คิว (ลบ.ฟุต) 53-194 วัตต์ - เครื่ องปรับอำกำศ 680-3,300 วัตต์ - เครื่ องดูดฝุ่ น 625-1,000 วัตต์ - เตำรี ดไฟฟ้ ำ 430-1,600 วัตต์ - เครื่ องทำน้ ำร้อนในห้องน้ ำ 900-4,800 วัตต์ - เครื่ องปิ้ งขนมปัง 600-1,000 วัตต์ - เครื่ องเป่ ำผม 300-1,300 วัตต์ - เครื่ องซักผ้ำ 250-2,000 วัตต์ - เครื่ องซักผ้ำแบบมีเครื่ องอบผ้ำ หรื อ เครื่ องตั้งอุณหภูมิของน้ ำ 250-2,000 วัตต์ - เตำไฟฟ้ ำ (เดี่ยว) 300-1,500 วัตต์ - โทรทัศน์ ขำว-ดำ 24-30 วัตต์ - โทรทัศน์สี 43-95 วัตต์ - วีดีโอ 30-50 วัตต์ - เครื่ องอบผ้ำแห้ง 650-2,500 วัตต์
Download