ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงการคลังྺ้อมูลมรดกวัฒȨรรมชุมชน
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี
นักวิชาการ
เรื่องเล่าของเราในมุมมองของคนอื่น (1)
ที่มา: https://www.gmlive.com/indian-food-review-drama-how-we-measure-good-
bad-taste
ที่มา: http://www.catdumb.com/sommhai-talk-248/
6/12/2018 SITTISAK R. 2
เรื่องเล่าของเราในมุมมองของคนอื่น (2)
ผลงานศิลปะที่สร้างสรรค์โดยศิลปินชาวอะบอริจิน (ซ้าย) และพรมที่ถูกผลิตซ้าโดยใช้ลวดลายจากผลงานศิลปะดังกล่าว (ขวา)
ที่มา: http://www.wipo.int/edocs/pubdocs/en/tk/781/wipo_pub_781.pdf
6/12/2018 SITTISAK R. 3
ที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการ ถ่ายทอดความรู้และสนับสนุนให้ชุมชนได้บอกเล่า
เรื่องราวมรดกวัฒนธรรมของพวกเขาด้วยตนเอง ผ่าน
ทางกิจกรรมและเครื่องมือต่างๆ ที่ผู้คนในชุมชนและผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมในการทางาน ภายใต้ระบบ
บริหารการทางานร่วมกันระหว่างเครือข่าย และระบบ
บริหารจัดการข้อมูลที่เกิดจากทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ เพื่อให้ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการบันทึกและ
สงวนรักษาเอาไว้เป็นประวัติศาสตร์ของชุมชน และ
มรดกวัฒนธรรมของชาติสืบต่อไป
• เรื่องราวและภูมิปัญญาของชุมชนควรบอกเล่า จัดการ แบ่งปัน
และใช้ประโยชน์โดยชุมชน สถาบันวิชาการมีหน้าที่เป็นเพียง “พี่
เลี้ยง” ที่ช่วยถ่ายทอดความรู้ในการบริหารจัดการ และ
สนับสนุนให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์
• ประยุกต์แนวคิดและวิธีการทางานจาก "จดหมายเหตุชุมชน"
(Community Archives) "แผนที่วัฒนธรรม" Cultural
Mapping) และ “การจัดการข้อมูลแบบครบวงจร (Digital
Curation)
• เพื่อรวบรวมและเชื่อมโยงข้อมูลจากชุมชนต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อจัดทา “เครือข่าย
คลังข้อมูลชุมชนด้านมรดกวัฒนธรรม” ของประเทศ
• เพื่อวิเคราะห์และส่งเสริมแนวทางการเพิ่มคุณค่าให้กับข้อมูลของแต่ละชุมชนอย่าง
เหมาะสม เพื่อให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์ และยืนหยัดได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน
• เพื่อปลูกฝัง "ทักษะการรู้เท่าทันสารสนเทศ" (Information Literacy Skills) ให้
ชุมชน เพื่อให้เป็นพลเมืองโลกในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีคุณภาพ6/12/2018 SITTISAK R. 4
ชุมชน/ตัวตน และสิ่งที่ยึดโยง
“เรื่องราวของชุดละสม (collection) ที่เป็นของผู้คนในชุมชน ... ‘กลุ่มคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน’...
‘ชุมชนที่มีความสนใจร่วมกัน’ (communities of interest)... กระบวนการสร้างชุดสะสมที่
เกี่ยวพันกับชุมชน โดยที่อาสาสมัคร (volunteers) มีบทบาทสาคัญในการทางาน เคียงคู่ไปกับนักจดหมาย
เหตุอาชีพ”
ที่มา: http://www.communityarchives.org.uk/content/about/what-is-a-community-archive
“จดหมายเหตุชุมชนที่มีอยู่หลากหลาย
รูปแบบ (เล็ก-ใหญ่, กึ่งมืออาชีพ-
อาสาสมัคร, ดาเนินงานมาอย่างยาวนาน-
เพิ่มก่อตั้ง, ร่วมมือกับสถาบันวิชาการมือ
อาชีพ-เป็นอิสระ) ล้วนมีจุดมุ่งหมายที่จะ
แสวงหาเอกสาร/หลักฐาน
(document) ที่เกี่ยวกับ
ประวัติศาสตร์ขนบธรรมเนียมประเพณีของ
ท้องถิ่น, อาชีพ, ชาติพันธุ์, ความเชื่อ,
และความหลากหลายอื่นๆ ของชุมชน..
โดยการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่
เอกสาร/หลักฐาน ภาพถ่าย
ประวัติศาสตร์จากคาบอกเล่า และวัสดุ
อื่นๆ หลากหลายที่ได้บันทึกเรื่องราวของ
กลุ่มคน ท้องถิ่น…”
ที่มา:
http://www.communityarchives.org.uk/doc
uments/CHANG_Vision_.doc6/12/2018 SITTISAK R. 5
“แผนที่วัฒนธรรมเป็นการรวมเอาการแสดงตัวตนของชุมชน และการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมของ
ท้องถิ่นเข้าไว้ด้วยกัน ภายใต้กระบวนการดังกล่าว องค์ประกอบทางวัฒนธรรมได้ถูกบันทึกไว้ ทั้งในรูปแบบที่จับ
ต้องได้เช่น ห้องจัดแสดงศิลปะ/นิทรรศการ, วงการงานฝีมือ, ภูมิประเทศอันโดดเด่น, เหตุการณ์ในระดับ
ท้องถิ่น หรือในแวดวง รวมถึงรูปแบบที่จับต้องมิได้ เช่น ความทรงจา ประวัติศาสตร์ส่วนบุคคล ทัศนคติ ค่า
นิยม...แผนที่วัฒนธรรมจะถูกนามาใช้กาหนดระดับกิจกรรม หรือโครงการ เพื่อเริ่มดาเนินการบันทึก อนุรักษ์
และใช้งานองค์ประกอบเหล่านี้ โดยมีเป้าหมายสาคัญ คือ การช่วยให้ชุมชนได้เห็นคุณค่า ภาคภูมิใจ และเข้า
ใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม พร้อมกับนาไปใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาภูมิภาค”
ที่มา: https://bangkok.unesco.org/content/cultural-mapping อ้างถึง (Keynote speech, Clark, Sutherland & Young
1995. Cultural Mapping Symposium and Workshop, Australia).
องค์ประกอบพื้นฐานของคลังข้อมูลชุมชน
ข้อมูลชุมชน
ผู้มีส่วนได้ส่วน
เสีย
กระบวนการ
บริหารจัดการ
ข้อมูล
กระบวนการ
บริหารจัดการ
เครือข่าย
• ข้อมูลอะไรบ้างที่เป็นข้อมูลชุมชน?
• จะไปหาข้อมูลมาจากไหน?
• อยากจะใช้ข้อมูลชุดนี้ไปทาอะไร?
• อยากจะให้ใครเอาไปใช้?
• ใครจะเป็นเจ้าของข้อมูล
บุคคล/ชุมชน/สถาบัน
วิชาการ?
• ใครจะได้ประโยชน์/เสีย
ประโยชน์จากข้อมูลชุดนี้
• จะเก็บข้อมูลอย่างไร?
• จะรู้ได้อย่างไรว่าข้อมูลไหนควรเก็บ/ไม่ควรเก็บ?
• จะรู้ได้อย่างไรว่าข้อมูลไหนถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
• จะอธิบายข้อมูลที่เก็บมาอย่างไร?
• จะดูแลรักษาแบบไหน?
• จะเผยแพร่และใช้ประโยชน์อย่างไร?
• จะทาอย่างไรให้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เก็บ
มาได้อย่างยั่งยืน?
• จะหาใครมาช่วยทางานดี?
• มีต้นแบบการทางานที่ไหนบ้าง?
• จะได้รับการสนับสนุนในรูปแบบ
ใดบ้าง?
• ต้องส่งงานอะไรบ้าง?
• มีกรอบเวลาในการทางาน
อย่างไร?
6/12/2018 SITTISAK R. 6
ข้อมูลชุมชนมาจากไหน?
มรดกวัฒนธรรม
(Cultural
Heritage)
รูปแบบการบันทึก
ข้อมูล
(Format)
ข้อมูลชุมชน
คาอธิบาย
(Descripti
on)
• ผู้คน (People) – ใครทาอะไร?
• สถานที่ (Place) – ที่ไหน?
• เหตุการณ์ (Event) – เมื่อไหร่? ทาไม?
มรดกวัฒนธรรมที่จับ
ต้องได้
(Tangible
Cultural
Heritage)
• อนุสรณ์สถาน
• กลุ่มอาคาร
• แหล่ง
มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องมิได้
(Intangible Cultural
Heritage)
• ภาษา ภาษาถิ่น และภาษาชาติพันธุ์
• วรรณกรรมพื้นบ้าน
• ศิลปะการแสดง
• แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงาน
เทศกาล
• งานฝีมือดั้งเดิม
• ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติ
และจักรวาล
• กีฬาภูมิปัญญาไทย การเล่น กีฬา และ
ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว
จับต้องมิได้ (Digital
Format)
• ได้รับการบันทึก/แปลง
สภาพในรูปแบบดิจิทัล
• ไฟล์ภาพ, ไฟล์เอกสาร,
ไฟล์เสียง, ไฟล์
VDO, ฯลฯ
จับต้องได้ (Physical Format)
• ได้รับการบันทึกไว้แล้วในรูปแบบ
ดั้งเดิม/จับต้องได้
• สมุด, หนังสือ, ใบลาน, ภาพถ่าย,
VDO, เทปคลาสเซ็ท ฯลฯ
6/12/2018 SITTISAK R. 7
คลังข้อมูลชุมชน
การวางแผน
จัดการข้อมูล
การรวบรวม
และบันทึก
ข้อมูล
การจัดเก็บและ
สงวนรักษา
ข้อมูล
การเผยแพร่
เข้าถึง และนา
ข้อมูลไปใช้
ประโยชน์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการข้อมูล
ข้อมูลชุมชน
สถาบันการศึ
กษาในพื้นที่
สถาบัน
วิชาการ
ชุมชน
เจ้าของ
ข้อมูล
สาธารณชน
(ผู้ใช้ข้อมูล)
หน่วยงาน
ภาครัฐ
(ท้องถิ่น-
ส่วนกลาง)
ภาคเอกชน
ผู้คนเสียง
6/12/2018 SITTISAK R. 8
รูปแบบการทางานร่วมกัน
ชุมชน
วางแผน
ออกแบบ
คัดเลือก
สร้าง
อธิบาย
จัดการ
สงวน
รักษา
เผยแพร่
ใช้และใช้
ซ้า
ใช้
ประโยชน์
• ความรู้
• งบประมาณ
• เครื่องมือ/เทคโนโลยี
• เวทีเครือข่าย
• การใช้ประโยชน์
ศมส.
+
เครือข่าย
6/12/2018 SITTISAK R. 9
2562 2563 2564 2565รุ่นที่1
• อบรมเครือข่ายเพื่อการ
ทางานครั้งที่ 1
• สนับสนุนทุนเพื่อเก็บข้อมูล
ชุมชน
• ติดตามและประเมินการ
ทางาน
• ส่งรายงานความก้าวหน้า
และรายงานสรุปผล
• ประชุมนาเสนอผลงานเครือข่ายรุ่น
ที่ 1
• สนับสนุนทุนต่อเนื่องให้เครือข่าย
รุ่นที่ 1 ที่ได้รับคัดเลือก
• ติดตามและประเมินการทางานโดย
ศมส.
• ส่งรายงานความก้าวหน้า และ
รายงานสรุปผล
• พัฒนาและผลักดันให้เกิดการนา
ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ที่ตอบสนอง
ความต้องการของชุมชน
ประชุมเครือข่ายรุ่นที่ 1 + 2
• เพื่อพิจารณาและประเมินผลการ
ดาเนินงานที่ผ่านมา
• เพื่อทบทวนและถอดบทเรียนการทางาน
• เพื่อวางแผนการดาเนินงานใน Phase
ถัดไป (2566-2570)
รุ่นที่2
• อบรมเครือข่ายเพื่อการทางานครั้ง
ที่ 2
• สนับสนุนทุนเพื่อเก็บข้อมูลชุมชน
• ติดตามและประเมินการทางานส่ง
รายงานความก้าวหน้า และ
รายงานสรุปผล
• ประชุมนาเสนอผลงานเครือข่าย
รุ่นที่ 2
• สนับสนุนทุนต่อเนื่องให้เครือข่าย
รุ่นที่ 2 ที่ได้รับคัดเลือก
• ติดตามและประเมินการทางาน
โดย ศมส.
• ส่งรายงานความก้าวหน้า และ
รายงานสรุปผล
• พัฒนาและผลักดันให้เกิดการนาข้อมูลไปใช้
ประโยชน์ที่ตอบสนองความต้องการของ
ชุมชน
6/12/2018 SITTISAK R. 12
EXAMPLE: THE COMMUNITY ARCHIVE, NZ
ที่มา: http://thecommunityarchive.org.nz/
6/12/2018 SITTISAK R. 13
EXAMPLE: COMMUNITY ARCHIVES
and HERITAGE Group, UK
ที่มา: http://www.communityarchives.org.uk/index.php
6/12/2018 SITTISAK R. 14
EXAMPLE: การต่อยอดเพื่อใช้ประโยชน์
ที่มา: http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/199395
ที่มา: http://www.tcdc.or.th/articles/business-industrial/14990/
6/12/2018 SITTISAK R. 15
Thank you
Email: sittisak.r@sac.or.th
ݺߣshare: sittisak017
Q & A
6/12/2018 SITTISAK R. 16

More Related Content

โครงการคลังྺ้อมูลมรดกวัฒȨรรมชุมชน