ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คุณธรรม  ( Moral / Virtue ) “ คุณธรรม”  คือ คุณ  + ธรรม  คุณงามความดีที่เป็นธรรมชาติ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ซึ่งสรุปว่า คือ สภาพคุณงามความดี คุณธรรม  ( Virtue )  แนวความคิดที่ดีเป็นตัวบังคับให้ประพฤติดี 1. สภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ 2. คุณธรรม คือจริยธรรมที่แยกเป็นรายละเอียดแต่ละประเภท หากประพฤติปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ ก็จะเป็นสภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจของผู้นั้น
คำว่า  “จริยธรรม”  มีผู้นิยามความหมายไว้หลายอย่าง แต่เพื่อความเข้าใจชัดเจนแจ่มแจ้ง ควรศึกษาความหมายของคำอื่นที่ใกล้เคียงเกี่ยวข้องกับคำว่า “จริยธรรม” ด้วย ได้แก่คำว่า “จริยศาสตร์” “จริยศึกษา” และศีลธรรม เพราะคำเหล่านี้มีความหมายเกี่ยวเนื่องกันอย่างใกล้ชิด และบางครั้งก็มีผู้นำมาใช้แทนกันได้ โดยมีความหมายเหมือนกันและต่างกัน ดังนี้ จริยศาสตร์  เป็นคำผสมของคำ  2  คำ คือ จริย กับศาสตร์ โดยมีต้นกำเนิดของคำต่างกัน และคำว่า จริย  มาจากภาษาบาลี แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ ศาสตร์  มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า วิชา เมื่อนำคำสองคำนี้มาผสมกันจะได้นัยความหมายว่า วิชาที่มีเนื้อหาเรื่องความประพฤติ หรือสิ่งที่ควรประพฤติ
จริยศึกษา  เป็นคำผสมของคำ  2  คำเช่นเดียวกัน คือ จริย กับ ศึกษา โดยคำว่า จริย  มาจากภาษาบาลี แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ ศึกษา  เป็นคำที่มาจากภาษา สันสกฤต แปลว่า การเล่าเรียน การฝึกฝน การอบรม เมื่อนำมารวมเป็นคำเดียวกันจะมีความหมายว่า การเล่าเรียนฝึกอบรมเรื่องความประพฤติเพื่อประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรม และวัฒนธรรมตลอดจนระเบียบกฎหมายของบ้านเมืองแห่งชุมชนและประเทศนั้น ๆ
“ ศีลธรรม”  เป็นคำผสมของคำว่า ศีล กับ ธรรม และมีความหมายว่า  กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนหลักปฏิบัติทางศาสนาที่บุคคลพึงปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ประกอบด้วยคุณธรรม ซึ่งในความหมายของคำว่า ศีลธรรม จะมีความหมายที่แตกต่างออกไปจาก จริยศาสตร์ และจริยศึกษา คือ จริยศาสตร์จะเน้นที่อุดมคติ หรือทฤษฎีที่ควรปฏิบัติ  จริยศึกษา จะเน้นที่การเล่าเรียน กระบวนการเรียนรู้ และทั้งสองคำนั้นมีความหมายขยายความถึงศีลธรรม ความเป็นคนดีมีศีลธรรมก็เป็นอุดมการณ์ อุดมคติของชีวิต
จรรยา  หมายถึงความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่คณะ เช่น จรรยาครู จรรยาตำรวจ ฯลฯ จรรยาบรรณ  หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษา และส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของสมาชิก คุณธรรม  หมายถึง สภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ เช่นความเป็นผู้ไม่กล่าวเท็จ โดยหวังประโยชน์ส่วนตนเป็นคุณธรรม  มโนธรรม  หมายถึง ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี ความรู้สึกว่าอะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ เชื่อกันว่ามนุษย์ทุกคนมีมโนธรรม เนื่องจากบางขณะเราจะเกิดความรู้สึกขัดแย้งในใจระหว่างความรู้สึกว่าต้องการทำสิ่งหนึ่ง และรู้ว่าควรทำอีกสิ่งหนึ่ง มารยาท  หมายถึง กิริยา วาจา ที่สังคมกำหนดไว้เป็นที่ยอมรับในกลุ่มแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกันไป
วิชาชีพครู อาจารย์  เป็นวิชาชีพหนึ่งซึ่งเน้นความสำคัญของจริยธรรมในวิชาชีพไว้เป็นอย่างมาก ในกรณีนี้ได้มีการแบ่งไว้อย่างชัดเจน ระหว่าง จริยธรรมในวิชาชีพครูในโรงเรียน  และ จริยธรรมในวิชาชีพอาจารย์ในมหาวิทยาลัย  อย่างไรก็ตาม หลักจริยธรรมที่ได้กำหนดไว้นั้น มีลักษณะดังนี้ หน้าที่  1  วิชาชีพครู อาจารย์ วิชาชีพครู อาจารย์ เป็นวิชาชีพหนึ่งซึ่งเน้นความสำคัญของจริยธรรมในวิชาชีพไว้เป็นอย่างมาก ในกรณีนี้ได้มีการแบ่งไว้อย่างชัดเจน ระหว่างจริยธรรมในวิชาชีพครูในโรงเรียน และจริยธรรมในวิชาชีพอาจารย์ในมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม หลักจริยธรรมที่ได้กำหนดไว้นั้น มีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
จริยธรรมครู คุณลักษณะ 1. มีความเมตตากรุณา 1.1  พฤติกรรมหลัก -  มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานและสังคม พฤติกรรมบ่งชี้ -  ไม่นิ่งดูดาย และเต็มใจช่วยเหลือผู้อื่นตามกำลังความสามารถ 1.2  พฤติกรรมหลัก -  มีความสนใจและห่วงใยในการเรียน และความประพฤติของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งชี้ -  แนะนำเอาใจใส่ ช่วยเหลือเด็ก และเพื่อนร่วมงานให้ได้รับความสุขและ  พ้นทุกข์
-  เป็นกันเองกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้สึกเปิดเผย ไว้วางใจ และเป็นที่พึ่งของผู้เรียนได้ คุณลักษณะ 2.  มีความยุติธรรม 2.1  พฤติกรรมหลัก -  มีความเป็นธรรมต่อนักเรียน พฤติกรรมบ่งชี้ -  เอาใจใส่ และปฏิบัติต่อผู้เรียน และเพื่อนร่วมงานทุกคนอย่างเสมอภาค  และไม่ลำเอียง 2.2  พฤติกรรมหลัก -  มีความเป็นกลาง พฤติกรรมบ่งชี้ -  ยินดีช่วยเหลือผู้เรียน ผู้ร่วมงาน และผู้บริหาร โดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง
คุณลักษณะ 3.  มีความรัก และศรัทธาในวิชาชีพครู 3.1  พฤติกรรมหลัก -  เห็นความสำคัญของวิชาชีพครู พฤติกรรมบ่งชี้ -  สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรวิชาชีพครู -  เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาชีพครู -  ร่วมมือและส่งเสริมให้มีการพัฒนามาตราฐานวิชาชีพครู 3.2  พฤติกรรมหลัก -  รักษาชื่อเสียงวิชาชีพครู พฤติกรรมบ่งชี้ -  ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดี และเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม
-  รักษาความสามัคคี และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในหน้าที่การงาน -  ปกป้อง และสร้างความเข้าใจอันดีต่อสังคม เกี่ยวกับวิชาชีพครู 3.3  พฤติกรรมหลัก -  เกิดความสำนึก และตระหนักที่จะเป็นครูที่ดี พฤติกรรมบ่งชี้ -  ปฏิบัติตนให้เหมาะสม ที่เป็นปูชนียบุคคล
รักษาความลับของศิษย์อย่างเคร่งครัด พิทักษ์และปกป้องผลประโยชน์ของศิษย์ อุทิศเวลาเพื่องานอาจารย์ที่ปรึกษา ให้การช่วย๶หลืออย่างเต็มความสามารถ
อาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องช่วยงานให้งานอุดมศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ คือการสร้างบัณฑิตที่เป็นคนที่สมบูรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาจะช่วยพัฒนาความพร้อมทางสติปัญญา ให้ใฝ่รู้ และวิธีการแสวงหาความรู้ ช่วยให้นิสิตประสบความสำเร็จ และมีชีวิตสมบูรณ์อยู่ในมหาวิทยาลัย ช่วยให้นิสิตเข้าใจตนเอง รู้จักตนเอง รู้จักรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม พัฒนาทัศนคติ จริยธรรม และศิลปวัฒนธรรมให้แก่นิสิต
อาจารย์พึงวางตนให้เป็นผู้ควรแก่การยกย่อง เป็นผู้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ อาจารย์ควรเป็นผู้มีเหตุผล พึ่งเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น และไม่พึงบังคับไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ ให้ผู้อื่นมีความคิดเห็นคล้อยตามตน อาจารย์ไม่พึงปฏิบัติต่อผู้ใดอย่างมีอคติ โดยอาศัยเหตุผลทางเชื้อชาติ ศาสนา หรือลัทธิความเชื่อ อาจารย์ไม่พึงเรียก รับ หรือยอมจะรับประโยชน์ใด ๆ ซึ่งชักนำ หรืออาจจะชักนำไปให้การปฏิบัติงานในหน้าที่ของตน ไม่สุจริตเที่ยงธรรม หรือให้ หรือรับว่าจะให้ ซึ่งประโยชน์ที่ตนสามารถจะให้ได้ในอำนาจหน้าที่ของตน เพื่อแลกเปลี่ยนกับประโยชน์อันไม่ควรให้
อาจารย์พึ่งมีความรอบรู้ทางวิชาการ พึ่งเตรียมการสอน และเข้าสอนโดยสม่ำเสมอตามกำหนด ในการสอนนั้นจะต้องไม่จงใจปิดบังอำพราง หรือบิดเบื้อนเนื้อหาสาระทางวิชาการ นอกจากนั้น อาจารย์พึ่งตั้งใจค้นคว้าหาความรู้ในสาขาวิชาของตนมาให้แก่ศิษย์ และพึงสนับสนุนให้ศิษย์มีความก้าวหน้าทางวิชาการอยู่เสมอ นอกจากจะต้องสอนศิษย์ให้เป็นคนที่เก่ง และดีแล้ว ตัวครูอาจารย์ก็จะต้องเก่งและดีด้วย ซึ่งนับว่าเป็นภาระกิจหลักที่สำคัญและยากลำบากมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นความเป็นคนดีนั้น เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่า เป็นเรื่องที่ยากยิ่งที่จะสอนคนให้เป็นคนดี โดยที่ครูอาจารย์ ซึ่งเปรียบประดุจ  “แม่พิมพ์”  ของชาติสมควรจะต้องเป็นคนดีด้วย
จรรยาบรรณวิชาชีพครู  คือกฎแห่งความประพฤติสำหรับสมาชิกวิชาชีพครู ซึ่งองค์กรวิชาชีพครูเป็นผู้กำหนดและสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ ความสำคัญ  จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความสำคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความสำคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึ่งพอสรุปได้  3  ประการ คือ ปกป้องการปฏิบัติงานของสมาชิกในวิชาชีพ รักษามาตรฐานวิชาชีพ พัฒนาวิชาชีพ
แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู ครูต้องรักและเมตตาศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทำการใด ๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

More Related Content

  • 1.
  • 2.
  • 3. คุณธรรม ( Moral / Virtue ) “ คุณธรรม” คือ คุณ + ธรรม คุณงามความดีที่เป็นธรรมชาติ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ซึ่งสรุปว่า คือ สภาพคุณงามความดี คุณธรรม ( Virtue ) แนวความคิดที่ดีเป็นตัวบังคับให้ประพฤติดี 1. สภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ 2. คุณธรรม คือจริยธรรมที่แยกเป็นรายละเอียดแต่ละประเภท หากประพฤติปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ ก็จะเป็นสภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจของผู้นั้น
  • 4. คำว่า “จริยธรรม” มีผู้นิยามความหมายไว้หลายอย่าง แต่เพื่อความเข้าใจชัดเจนแจ่มแจ้ง ควรศึกษาความหมายของคำอื่นที่ใกล้เคียงเกี่ยวข้องกับคำว่า “จริยธรรม” ด้วย ได้แก่คำว่า “จริยศาสตร์” “จริยศึกษา” และศีลธรรม เพราะคำเหล่านี้มีความหมายเกี่ยวเนื่องกันอย่างใกล้ชิด และบางครั้งก็มีผู้นำมาใช้แทนกันได้ โดยมีความหมายเหมือนกันและต่างกัน ดังนี้ จริยศาสตร์ เป็นคำผสมของคำ 2 คำ คือ จริย กับศาสตร์ โดยมีต้นกำเนิดของคำต่างกัน และคำว่า จริย มาจากภาษาบาลี แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ ศาสตร์ มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า วิชา เมื่อนำคำสองคำนี้มาผสมกันจะได้นัยความหมายว่า วิชาที่มีเนื้อหาเรื่องความประพฤติ หรือสิ่งที่ควรประพฤติ
  • 5. จริยศึกษา เป็นคำผสมของคำ 2 คำเช่นเดียวกัน คือ จริย กับ ศึกษา โดยคำว่า จริย มาจากภาษาบาลี แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ ศึกษา เป็นคำที่มาจากภาษา สันสกฤต แปลว่า การเล่าเรียน การฝึกฝน การอบรม เมื่อนำมารวมเป็นคำเดียวกันจะมีความหมายว่า การเล่าเรียนฝึกอบรมเรื่องความประพฤติเพื่อประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรม และวัฒนธรรมตลอดจนระเบียบกฎหมายของบ้านเมืองแห่งชุมชนและประเทศนั้น ๆ
  • 6. “ ศีลธรรม” เป็นคำผสมของคำว่า ศีล กับ ธรรม และมีความหมายว่า กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนหลักปฏิบัติทางศาสนาที่บุคคลพึงปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ประกอบด้วยคุณธรรม ซึ่งในความหมายของคำว่า ศีลธรรม จะมีความหมายที่แตกต่างออกไปจาก จริยศาสตร์ และจริยศึกษา คือ จริยศาสตร์จะเน้นที่อุดมคติ หรือทฤษฎีที่ควรปฏิบัติ จริยศึกษา จะเน้นที่การเล่าเรียน กระบวนการเรียนรู้ และทั้งสองคำนั้นมีความหมายขยายความถึงศีลธรรม ความเป็นคนดีมีศีลธรรมก็เป็นอุดมการณ์ อุดมคติของชีวิต
  • 7. จรรยา หมายถึงความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติในหมู่คณะ เช่น จรรยาครู จรรยาตำรวจ ฯลฯ จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษา และส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของสมาชิก คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ เช่นความเป็นผู้ไม่กล่าวเท็จ โดยหวังประโยชน์ส่วนตนเป็นคุณธรรม มโนธรรม หมายถึง ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี ความรู้สึกว่าอะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ เชื่อกันว่ามนุษย์ทุกคนมีมโนธรรม เนื่องจากบางขณะเราจะเกิดความรู้สึกขัดแย้งในใจระหว่างความรู้สึกว่าต้องการทำสิ่งหนึ่ง และรู้ว่าควรทำอีกสิ่งหนึ่ง มารยาท หมายถึง กิริยา วาจา ที่สังคมกำหนดไว้เป็นที่ยอมรับในกลุ่มแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกันไป
  • 8.
  • 9. วิชาชีพครู อาจารย์ เป็นวิชาชีพหนึ่งซึ่งเน้นความสำคัญของจริยธรรมในวิชาชีพไว้เป็นอย่างมาก ในกรณีนี้ได้มีการแบ่งไว้อย่างชัดเจน ระหว่าง จริยธรรมในวิชาชีพครูในโรงเรียน และ จริยธรรมในวิชาชีพอาจารย์ในมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม หลักจริยธรรมที่ได้กำหนดไว้นั้น มีลักษณะดังนี้ หน้าที่ 1 วิชาชีพครู อาจารย์ วิชาชีพครู อาจารย์ เป็นวิชาชีพหนึ่งซึ่งเน้นความสำคัญของจริยธรรมในวิชาชีพไว้เป็นอย่างมาก ในกรณีนี้ได้มีการแบ่งไว้อย่างชัดเจน ระหว่างจริยธรรมในวิชาชีพครูในโรงเรียน และจริยธรรมในวิชาชีพอาจารย์ในมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม หลักจริยธรรมที่ได้กำหนดไว้นั้น มีลักษณะคล้ายคลึงกันเป็นส่วนใหญ่ ดังนี้
  • 10. จริยธรรมครู คุณลักษณะ 1. มีความเมตตากรุณา 1.1 พฤติกรรมหลัก - มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานและสังคม พฤติกรรมบ่งชี้ - ไม่นิ่งดูดาย และเต็มใจช่วยเหลือผู้อื่นตามกำลังความสามารถ 1.2 พฤติกรรมหลัก - มีความสนใจและห่วงใยในการเรียน และความประพฤติของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งชี้ - แนะนำเอาใจใส่ ช่วยเหลือเด็ก และเพื่อนร่วมงานให้ได้รับความสุขและ พ้นทุกข์
  • 11. - เป็นกันเองกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้สึกเปิดเผย ไว้วางใจ และเป็นที่พึ่งของผู้เรียนได้ คุณลักษณะ 2. มีความยุติธรรม 2.1 พฤติกรรมหลัก - มีความเป็นธรรมต่อนักเรียน พฤติกรรมบ่งชี้ - เอาใจใส่ และปฏิบัติต่อผู้เรียน และเพื่อนร่วมงานทุกคนอย่างเสมอภาค และไม่ลำเอียง 2.2 พฤติกรรมหลัก - มีความเป็นกลาง พฤติกรรมบ่งชี้ - ยินดีช่วยเหลือผู้เรียน ผู้ร่วมงาน และผู้บริหาร โดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง
  • 12. คุณลักษณะ 3. มีความรัก และศรัทธาในวิชาชีพครู 3.1 พฤติกรรมหลัก - เห็นความสำคัญของวิชาชีพครู พฤติกรรมบ่งชี้ - สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรวิชาชีพครู - เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาชีพครู - ร่วมมือและส่งเสริมให้มีการพัฒนามาตราฐานวิชาชีพครู 3.2 พฤติกรรมหลัก - รักษาชื่อเสียงวิชาชีพครู พฤติกรรมบ่งชี้ - ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดี และเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม
  • 13. - รักษาความสามัคคี และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในหน้าที่การงาน - ปกป้อง และสร้างความเข้าใจอันดีต่อสังคม เกี่ยวกับวิชาชีพครู 3.3 พฤติกรรมหลัก - เกิดความสำนึก และตระหนักที่จะเป็นครูที่ดี พฤติกรรมบ่งชี้ - ปฏิบัติตนให้เหมาะสม ที่เป็นปูชนียบุคคล
  • 15. อาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องช่วยงานให้งานอุดมศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ คือการสร้างบัณฑิตที่เป็นคนที่สมบูรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาจะช่วยพัฒนาความพร้อมทางสติปัญญา ให้ใฝ่รู้ และวิธีการแสวงหาความรู้ ช่วยให้นิสิตประสบความสำเร็จ และมีชีวิตสมบูรณ์อยู่ในมหาวิทยาลัย ช่วยให้นิสิตเข้าใจตนเอง รู้จักตนเอง รู้จักรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม พัฒนาทัศนคติ จริยธรรม และศิลปวัฒนธรรมให้แก่นิสิต
  • 16. อาจารย์พึงวางตนให้เป็นผู้ควรแก่การยกย่อง เป็นผู้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ อาจารย์ควรเป็นผู้มีเหตุผล พึ่งเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น และไม่พึงบังคับไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ ให้ผู้อื่นมีความคิดเห็นคล้อยตามตน อาจารย์ไม่พึงปฏิบัติต่อผู้ใดอย่างมีอคติ โดยอาศัยเหตุผลทางเชื้อชาติ ศาสนา หรือลัทธิความเชื่อ อาจารย์ไม่พึงเรียก รับ หรือยอมจะรับประโยชน์ใด ๆ ซึ่งชักนำ หรืออาจจะชักนำไปให้การปฏิบัติงานในหน้าที่ของตน ไม่สุจริตเที่ยงธรรม หรือให้ หรือรับว่าจะให้ ซึ่งประโยชน์ที่ตนสามารถจะให้ได้ในอำนาจหน้าที่ของตน เพื่อแลกเปลี่ยนกับประโยชน์อันไม่ควรให้
  • 17. อาจารย์พึ่งมีความรอบรู้ทางวิชาการ พึ่งเตรียมการสอน และเข้าสอนโดยสม่ำเสมอตามกำหนด ในการสอนนั้นจะต้องไม่จงใจปิดบังอำพราง หรือบิดเบื้อนเนื้อหาสาระทางวิชาการ นอกจากนั้น อาจารย์พึ่งตั้งใจค้นคว้าหาความรู้ในสาขาวิชาของตนมาให้แก่ศิษย์ และพึงสนับสนุนให้ศิษย์มีความก้าวหน้าทางวิชาการอยู่เสมอ นอกจากจะต้องสอนศิษย์ให้เป็นคนที่เก่ง และดีแล้ว ตัวครูอาจารย์ก็จะต้องเก่งและดีด้วย ซึ่งนับว่าเป็นภาระกิจหลักที่สำคัญและยากลำบากมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นความเป็นคนดีนั้น เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่า เป็นเรื่องที่ยากยิ่งที่จะสอนคนให้เป็นคนดี โดยที่ครูอาจารย์ ซึ่งเปรียบประดุจ “แม่พิมพ์” ของชาติสมควรจะต้องเป็นคนดีด้วย
  • 18. จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือกฎแห่งความประพฤติสำหรับสมาชิกวิชาชีพครู ซึ่งองค์กรวิชาชีพครูเป็นผู้กำหนดและสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ ความสำคัญ จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความสำคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความสำคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึ่งพอสรุปได้ 3 ประการ คือ ปกป้องการปฏิบัติงานของสมาชิกในวิชาชีพ รักษามาตรฐานวิชาชีพ พัฒนาวิชาชีพ
  • 19. แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู ครูต้องรักและเมตตาศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทำการใด ๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
  • 20. ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย