ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
มาตรฐาȨารปฏิบัตงาȨละภาระงาน
                  ิ
       กลุมบริหารวิชาการ




โรงเรียนนวมินทราชูทศ มัชฌิม จังหวัดนครสวรรค
                   ิ
 สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานครสวรรค เขต 1
               ้ ่
1

                                          คํานํา

        จากการกระจายอํานาจการบริหารงานวิชาการสูสถานศึกษา โดยเฉพาะการใหสถานศึกษามี
การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาดวยตนเอง มีการวัดผล และประเมินผลการเรียนเอง ยอมทําใหเกิด
ความแตกตางกันในเชิงคุณภาพ สวนที่จะเปนตัวควบคุมใหสถานศึกษาจัดการศึกษาไดเทาเทียมกันมี
คุณภาพใกลเคียงกัน คือ การกําหนดใหมีมาตรฐานการศึกษา ดวยเหตุนี้รัฐจึงกําหนดใหมีมาตรฐาน
การศึกษาแหงชาติอันไปสูการกําหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการศึกษาโรงเรียน
และเพื่อใหเกิดการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด กลุมบริหารงานวิชาการจึงจัดใหมีมาตรฐาน
การปฏิบัติงานเพื่อเปนหลักประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสูมาตรฐานการศึกษาขึน   ้
        มาตรฐานการปฏิบัติงาน และภาระงาน กลุมบริหารงานวิชาการ เปนเอกสารที่รวมกันวิเคราะห
                                                 
และประเมินจากสภาพบริบทและมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ มาตรฐานกลุมโรงเรียนนวมินทราชูทิศ
5 ภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติงานและสรางความเขาใจในการนําหลักการ
บริหารที่มีมาตรฐานมาสูการปฏิบติที่เปนจริงใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ พรอมกับการพัฒนางาน
                                 ั
วิชาการในโรงเรียนสูชุมชนและทองถิ่น ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การเรียนการสอนและการ
บริการจัดการ อันเปนการสนองนโยบายของโรงเรียนและทางราชการ ตามยุทธศาสตรการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ตามแนวการปฏิรูปการศึกษา ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542
        หวังเปนอยางยิ่งวา มาตรฐานการปฏิบัติงานและภาระงานนี้ คงมีประโยชนและเปนแนวทาง
ในการบริหารงาน               การพัฒนางานวิชาการในโรงเรียนใหเกิดประสิทธิภาพตามเจตนารมณตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
สืบไป




                                             (นายณรงค มูลจนะบาตร)
                              รองผูอํานวยการสถานศึกษา โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
                                             กลุมบริหารงานวิชาการ
2
                มาตรฐานการปฏิบัติงานกลุมบริหารงานวิชาการ
1. มาตรฐานการสอนของครู
   มาตรฐานที1 วิเคราะหหลักสูตรและจัดทําแผนการเรียนรูที่สอดคลองกับสาระและ
              ่
                          มาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา
   มาตรฐานที2 จัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ หลากหลายและเอาใจใส
                ่
                           การเรียนรูของผูเรียนเปนรายบุคคลอยางทั่วถึง
   มาตรฐานที3 ใชแหลงเรียนรูที่หลากหลายและเชื่อมโยงประสบการณกับชีวิตจริง
                    ่
                           ไดอยางดี
   มาตรฐานที4 ปลูกฝงระเบียบวินย คานิยม คุณธรรม และฝกคิด ฝกทํา ฝกแกปญหา
                      ่                     ั
                           ใหกับผูเรียนอยางมีประสิทธิภาพ
   มาตรฐานที5 สงเสริมใหนักเรียนศึกษาคนควาดวยตนเอง จดบันทึกความรูไดอยาง
            ่
                           เปนระบบ
   มาตรฐานที6 วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผูเรียนอยางเปนระบบ
                  ่
   มาตรฐานที7 จัดทํารายงานคุณภาพการเรียนการสอนอยางมีระบบ
                        ่
2. มาตรฐานการจัดแหลงเรียนรู
   มาตรฐานที8 จัดหองครู ที่มบรรยากาศสดใส ปลุกเรา จูงใจ เสริมแรงในการบริหาร
            ่                       ี
                         และการเรียนการสอน
   มาตรฐานที9 จัดหองเรียนรู/ หองปฏิบัติการเรียนรู ที่เอื้อตอการเรียนรูเต็มตามศักยภาพ
                ่
                        ตามสาระการเรียนรู
   มาตรฐานที10 จัดระบบเทคโนโลยีสาระสนเทศเพื่อการบริหารงานและการเรียนรู
                      ่
                         ที่ทันตอการใชงาน
   มาตรฐานที11 มีหองสมุดเปนแหลงเรียนรูที่ทันสมัย มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู
                    ่                       
   มาตรฐานที12 จัดหองแสดงผลงาน/นวัตกรรมทางการศึกษาที่เอื้อตอการเรียนรู
              ่
   มาตรฐานที13 บริหารจัดการแหลงเรียนรูอยางเปนระบบ
                  ่
3. มาตรฐานครู
   มาตรฐานที่ 14 ครูมีคุณลักษณะเหมาะสมกับความเปนครูและมีคุณธรรมจริยธรรม
3
                             ภาระงานของกลุมบริหารวิชาการ

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม กําหนดบทบาทหนาที่และภาระงานที่เปนแนวทางในการ
ปฏิบัติงาน ดังตอไปนี้
             1.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
                    1)จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับสภาพปญหาความตองการ
                       ของผูเรียน ผูปกครอง ชุมชนและสังคมตามกรอบหลักสูตรแกนกลาง
                    2) บริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา
                    3) นิเทศเพื่อการพัฒนาการใชหลักสูตรภายในสถานศึกษา
                    4) ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให
                       เขตพื้นที่การศึกษารับทราบ
             1.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู
                    1) จัดทําแผนการเรียนรู โดยผูเรียนมีสวนรวม
                                                           
                    2) จัดกระบวนการเรียนรูใหยืดหยุนตามความเหมาะสมทั้งดานเวลาสาระ
                                                       
                       การเรียนรูและผูเรียน
                    3) จัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญใหผูเรียนไดเรียนรูดวย
                       การปฏิบัติจริงจากแหลงการเรียนรูและเครือขายการเรียนรู
                    4) ใชการแนะแนวเปนสวนหนึงของการจัดกระบวนการเรียนรู
                                                  ่
                    5) ใหผูปกครอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมเขามามีสวนรวมในการจัด
                       กระบวนการเรียนรู
                    6) สงเสริมใหครูไดรับการพัฒนาวิธีการจัดกระบวนกาเรียนรูอยาง
                       หลากหลายและตอเนื่อง
             1.3 การวัดผล ประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน
                    1) กําหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
                    2) จัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษาใหเปนไปตามระเบียบการวัดและ
                       ประเมินผลของสถาศึกษา
                    3) วัดผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณ เทียบโอนผลการเรียนและ
                        อนุมัติผลการเรียน
                    4) จัดใหมีการประเมินผลการเรียนทุกชวงชั้น และจัดใหมีการซอมเสริม กรณี
                       ทีมีผูเรียนไมผานเกณฑการประเมิน
                         ่
                    5) จัดใหมีการพัฒนาเครื่องมือในการวัดและประเมินผล
4
       6) มีการเทียบโอนผลการเรียนโดยคณะกรรมการ
       7) จัดระบบสารสนเทศดานการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการ
         เรียนเพื่อใชในการอางอิง ตรวจสอบและใชประโยชนในการพัฒนาการ
         เรียนการสอน
1.4 การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
       1) จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา
       2) สนับสนุน สงเสริมใหมีระบบการประกันคุณภาพในระดับหนวยงาน
            ภายในสถานศึกษา
       3) กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานผลการประกัน
            คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
       4) ปรับปรุงและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
1.5 การพัฒนาและใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
       1) สงเสริมและสนับสนุนใหครูผลิตพัฒนาและใชสื่อและเทคโนโลยี
            ที่เหมาะสมเพือการศึกษา
                            ่
       2) จัดหาจัดทําสือและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหกับครูและผูเรียนอยาง
                          ่
            เพียงพอและหลากหลาย
1.6 การพัฒนาและสงเสริมใหมีแหลงเรียนรู
       1) จัดใหมีแหลงเรียนรูทงภายในและภายนอกสถานศึกษาใหพอเพียงและ
                                   ั้
            สอดคลองกับการจัดกระบวนการเรียนรู
       2) สงเสริมใหครู และผูเรียนไดใชแหลงเรียนรู ทั้งในและนอกสถานศึกษา
            เพื่อพัฒนาการเรียนรู
1.7 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
       1) สงเสริมและสนับสนุนใหครูทําวิจัยเพื่อพัฒนาผูเรียน หลักสูตร กระบวน
             การเรียนรู การใชสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน
       2) รวบรวม และเผยแพรผลการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้ง
            สนับสนุนใหครูนําผลการวิจัยมาใชเพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา
                                                 ่
1.8 การสงเสริมชุมชนใหมีความเขมแข็งทางวิชาการ
       1) ดําเนินการเสริมความรูและประสบการณใหกับชุมชนโดยรวมมือกับ
            บุคคล ชุมชน องคกร หนวยงานและสถาบันทางสังคมอืน        ่
       2) สงเสริมและสนับสนุนใหชุมชนสามารถเลือกสรรภูมิปญญาและวิทยากร
           ตางๆ เพื่อพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ
5
   โดยรวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกร หนวยงานและสถาบันทางสังคมอื่น
3) สนับสนุนและชวยเหลือใหมการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ
                           ี
   ระหวางชุมชน โดยรวมมือกับบุคคลชุมชน องคกร หนวยงานและ
    สถาบันทางสังคมอืน
                    ่

More Related Content

วิชาการ

  • 1. มาตรฐาȨารปฏิบัตงาȨละภาระงาน ิ กลุมบริหารวิชาการ โรงเรียนนวมินทราชูทศ มัชฌิม จังหวัดนครสวรรค ิ สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานครสวรรค เขต 1 ้ ่
  • 2. 1 คํานํา จากการกระจายอํานาจการบริหารงานวิชาการสูสถานศึกษา โดยเฉพาะการใหสถานศึกษามี การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาดวยตนเอง มีการวัดผล และประเมินผลการเรียนเอง ยอมทําใหเกิด ความแตกตางกันในเชิงคุณภาพ สวนที่จะเปนตัวควบคุมใหสถานศึกษาจัดการศึกษาไดเทาเทียมกันมี คุณภาพใกลเคียงกัน คือ การกําหนดใหมีมาตรฐานการศึกษา ดวยเหตุนี้รัฐจึงกําหนดใหมีมาตรฐาน การศึกษาแหงชาติอันไปสูการกําหนดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการศึกษาโรงเรียน และเพื่อใหเกิดการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด กลุมบริหารงานวิชาการจึงจัดใหมีมาตรฐาน การปฏิบัติงานเพื่อเปนหลักประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสูมาตรฐานการศึกษาขึน ้ มาตรฐานการปฏิบัติงาน และภาระงาน กลุมบริหารงานวิชาการ เปนเอกสารที่รวมกันวิเคราะห  และประเมินจากสภาพบริบทและมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ มาตรฐานกลุมโรงเรียนนวมินทราชูทิศ 5 ภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติงานและสรางความเขาใจในการนําหลักการ บริหารที่มีมาตรฐานมาสูการปฏิบติที่เปนจริงใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ พรอมกับการพัฒนางาน ั วิชาการในโรงเรียนสูชุมชนและทองถิ่น ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การเรียนการสอนและการ บริการจัดการ อันเปนการสนองนโยบายของโรงเรียนและทางราชการ ตามยุทธศาสตรการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ตามแนวการปฏิรูปการศึกษา ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 หวังเปนอยางยิ่งวา มาตรฐานการปฏิบัติงานและภาระงานนี้ คงมีประโยชนและเปนแนวทาง ในการบริหารงาน การพัฒนางานวิชาการในโรงเรียนใหเกิดประสิทธิภาพตามเจตนารมณตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สืบไป (นายณรงค มูลจนะบาตร) รองผูอํานวยการสถานศึกษา โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม กลุมบริหารงานวิชาการ
  • 3. 2 มาตรฐานการปฏิบัติงานกลุมบริหารงานวิชาการ 1. มาตรฐานการสอนของครู มาตรฐานที1 วิเคราะหหลักสูตรและจัดทําแผนการเรียนรูที่สอดคลองกับสาระและ ่ มาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานที2 จัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ หลากหลายและเอาใจใส ่ การเรียนรูของผูเรียนเปนรายบุคคลอยางทั่วถึง มาตรฐานที3 ใชแหลงเรียนรูที่หลากหลายและเชื่อมโยงประสบการณกับชีวิตจริง ่ ไดอยางดี มาตรฐานที4 ปลูกฝงระเบียบวินย คานิยม คุณธรรม และฝกคิด ฝกทํา ฝกแกปญหา ่ ั ใหกับผูเรียนอยางมีประสิทธิภาพ มาตรฐานที5 สงเสริมใหนักเรียนศึกษาคนควาดวยตนเอง จดบันทึกความรูไดอยาง ่ เปนระบบ มาตรฐานที6 วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผูเรียนอยางเปนระบบ ่ มาตรฐานที7 จัดทํารายงานคุณภาพการเรียนการสอนอยางมีระบบ ่ 2. มาตรฐานการจัดแหลงเรียนรู มาตรฐานที8 จัดหองครู ที่มบรรยากาศสดใส ปลุกเรา จูงใจ เสริมแรงในการบริหาร ่ ี และการเรียนการสอน มาตรฐานที9 จัดหองเรียนรู/ หองปฏิบัติการเรียนรู ที่เอื้อตอการเรียนรูเต็มตามศักยภาพ ่ ตามสาระการเรียนรู มาตรฐานที10 จัดระบบเทคโนโลยีสาระสนเทศเพื่อการบริหารงานและการเรียนรู ่ ที่ทันตอการใชงาน มาตรฐานที11 มีหองสมุดเปนแหลงเรียนรูที่ทันสมัย มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู ่  มาตรฐานที12 จัดหองแสดงผลงาน/นวัตกรรมทางการศึกษาที่เอื้อตอการเรียนรู ่ มาตรฐานที13 บริหารจัดการแหลงเรียนรูอยางเปนระบบ ่ 3. มาตรฐานครู มาตรฐานที่ 14 ครูมีคุณลักษณะเหมาะสมกับความเปนครูและมีคุณธรรมจริยธรรม
  • 4. 3 ภาระงานของกลุมบริหารวิชาการ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม กําหนดบทบาทหนาที่และภาระงานที่เปนแนวทางในการ ปฏิบัติงาน ดังตอไปนี้ 1.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 1)จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับสภาพปญหาความตองการ ของผูเรียน ผูปกครอง ชุมชนและสังคมตามกรอบหลักสูตรแกนกลาง 2) บริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา 3) นิเทศเพื่อการพัฒนาการใชหลักสูตรภายในสถานศึกษา 4) ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให เขตพื้นที่การศึกษารับทราบ 1.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู 1) จัดทําแผนการเรียนรู โดยผูเรียนมีสวนรวม  2) จัดกระบวนการเรียนรูใหยืดหยุนตามความเหมาะสมทั้งดานเวลาสาระ  การเรียนรูและผูเรียน 3) จัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญใหผูเรียนไดเรียนรูดวย การปฏิบัติจริงจากแหลงการเรียนรูและเครือขายการเรียนรู 4) ใชการแนะแนวเปนสวนหนึงของการจัดกระบวนการเรียนรู ่ 5) ใหผูปกครอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมเขามามีสวนรวมในการจัด กระบวนการเรียนรู 6) สงเสริมใหครูไดรับการพัฒนาวิธีการจัดกระบวนกาเรียนรูอยาง หลากหลายและตอเนื่อง 1.3 การวัดผล ประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน 1) กําหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา 2) จัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษาใหเปนไปตามระเบียบการวัดและ ประเมินผลของสถาศึกษา 3) วัดผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณ เทียบโอนผลการเรียนและ อนุมัติผลการเรียน 4) จัดใหมีการประเมินผลการเรียนทุกชวงชั้น และจัดใหมีการซอมเสริม กรณี ทีมีผูเรียนไมผานเกณฑการประเมิน ่ 5) จัดใหมีการพัฒนาเครื่องมือในการวัดและประเมินผล
  • 5. 4 6) มีการเทียบโอนผลการเรียนโดยคณะกรรมการ 7) จัดระบบสารสนเทศดานการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการ เรียนเพื่อใชในการอางอิง ตรวจสอบและใชประโยชนในการพัฒนาการ เรียนการสอน 1.4 การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา 1) จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา 2) สนับสนุน สงเสริมใหมีระบบการประกันคุณภาพในระดับหนวยงาน ภายในสถานศึกษา 3) กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานผลการประกัน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 4) ปรับปรุงและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 1.5 การพัฒนาและใชสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 1) สงเสริมและสนับสนุนใหครูผลิตพัฒนาและใชสื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมเพือการศึกษา ่ 2) จัดหาจัดทําสือและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหกับครูและผูเรียนอยาง ่ เพียงพอและหลากหลาย 1.6 การพัฒนาและสงเสริมใหมีแหลงเรียนรู 1) จัดใหมีแหลงเรียนรูทงภายในและภายนอกสถานศึกษาใหพอเพียงและ ั้ สอดคลองกับการจัดกระบวนการเรียนรู 2) สงเสริมใหครู และผูเรียนไดใชแหลงเรียนรู ทั้งในและนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู 1.7 การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1) สงเสริมและสนับสนุนใหครูทําวิจัยเพื่อพัฒนาผูเรียน หลักสูตร กระบวน การเรียนรู การใชสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน 2) รวบรวม และเผยแพรผลการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้ง สนับสนุนใหครูนําผลการวิจัยมาใชเพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา ่ 1.8 การสงเสริมชุมชนใหมีความเขมแข็งทางวิชาการ 1) ดําเนินการเสริมความรูและประสบการณใหกับชุมชนโดยรวมมือกับ บุคคล ชุมชน องคกร หนวยงานและสถาบันทางสังคมอืน ่ 2) สงเสริมและสนับสนุนใหชุมชนสามารถเลือกสรรภูมิปญญาและวิทยากร ตางๆ เพื่อพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ
  • 6. 5 โดยรวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกร หนวยงานและสถาบันทางสังคมอื่น 3) สนับสนุนและชวยเหลือใหมการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ ี ระหวางชุมชน โดยรวมมือกับบุคคลชุมชน องคกร หนวยงานและ สถาบันทางสังคมอืน ่