ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สถาปัตยกรรมสี เขียว

G
A   R   EEN
        CHITECTURE
สถาปั ตยกรรมสีเขียวเป็ นผลผลิตจากกระแสความคิดใหม่ในการออกแบบสถาปั ตยกรรม
ที่มีรากฐานมา จากสถาปั ตยกรรมยังยืน (Sustainable Architecture) ที่เกิดขึ ้นในช่วงเวลา
                                    ่
ไม่เกิน 20 ปี ที่ผ่านมา หลังจากที่แนวทางการออกแบบอาคารประหยัดพลังงาน
ปั จจุบนการบริโภคพลังงานจากแหล่ง
                     ั
พลังงานดั ้งเดิมเช่นถ่านหิน หรื อน ้ามันดิบ
ก่อให้ เกิดการปลดปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์สู่
บรรยากาศโลก และก๊ าซนี ้จะทาให้ ความร้ อนจาก
ผิวโลกไม่สามารถแผ่รังสีกลับสูอวกาศได้ ทาให้ เกิด
                                ่
ปรากฏการณ์โลกร้ อน (Global Warming)
ปั ญหาโลกร้ อนจะทาให้ เกิดปั ญหาตามมาอีก
สารพัด
ความหมาย และความสาคัญ
อาคาร สีเขียวนี ้ ก็คือ “การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ อาคารสามารถใช้ ประโยชน์จาก สภาวะ
แวดล้ อมตามธรรมชาติ (แสงแดด, ลม, ดิน, น ้า, พืชพันธ์, สัตว์)
กระแส ความคิดของสถาปัตยกรรมสี
เขียวเกิดขึ้นได้ มิใช่เพราะการขาดแคลนพลังงานแต่
เป็ นเพราะปัญหาสิ่ งแวดล้อม เช่นปรากฏการณ์เรื อน
กระจก (Greenhouse Effect) ปรากฎการณ์
หลุมโอโซน (Ozone Hole) เกาะความร้อน
(Urban Heat Island) ฝนกรด (Acid
Rain) การทาลายป่ า (Deforestation)
รวมทั้งการแพร่ กระจายของโรคติดต่ออันเกิดจาก
สภาพอากาศของโลกที่เปลี่ยนไป (Climate
Change)
เปาหมายของอาคารสีเขียวที่เพิ่มมาก็คือการผสมผสานองค์ความรู้จาก Passive
               ้
design เข้ ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ของศตวรรษที่ 20 ในการที่จะใช้ ประโยชน์จากพลังงาน
ธรรมชาติที่สะอาด และไม่มีวนหมดโดยตรง ในอีกความหมายหนึ่งก็คืออาคารสีเขียวจะไม่
                          ั
พยายามเสนอแนะการลดการใช้ พลังงาน หากพลังงานนั ้นมีความจาเป็ นต่อการผลิตหรื อการอยู่
อาศัยของมนุษย์ แต่จะเสนอแนะให้ อาคารใช้ พลังงานจากแหล่งที่สะอาด และไม่มีวนหมดไป
                                                                         ั
(renewable energy)
อาคารสีเขียวจึงจะต้ องประกอบไปด้ วยองค์ประกอบ 3 ส่วน

     1) ความสอดคล้ องกับสภาพอากาศ

     2) ความน่ าสบาย

     3) การใช้ พลังงานธรรมชาติ
ความสอดคล้ องกับสภาพอากาศ

การ สอดคล้ องกับสภาพอากาศหมายถึงการออกแบบจัดวางพื ้นที่ใช้ สอยอาคาร ตามทิศทางแดด
ทิศทางลมธรรมชาติ และการเลือกใช้ วสดุก่อสร้ างตกแต่งที่ทาให้ “อาคาร” น่าสบาย ไม่ร้อน ไม่
                                          ั
หนาว ไม่ชื ้น ไม่แห้ งเกินไป ก่อนที่จะเริ่มอาศัยเครื่องจักรกลที่บริโภคพลังงาน ซึงหมายถึงการ
                                                                                ่
ออกแบบ Passive Design นันเอง         ่
ความน่ าสบาย
การรักษาสภาวะน่าสบายของมนุษย์ให้ อยู่ในเกณฑ์
มาตรฐานที่เป็ นที่ยอมรับอย่างเป็ นสากลในส่วนที่
เกี่ยวข้ องกับสิงต่อไปนี ้
                ่
 ·สภาวะน่าสบายเชิงอุณหภาพ (Thermal
comfort)
 ·แสงสว่าง (Visual/lighting comfort)
 ·เสียง (Acoustical comfort)
 ·คุณภาพอากาศภายใน (Indoor air quality:
IAQ)
การใช้ พลังงานธรรมชาติ
แหล่งพลังงานที่อาคารสามารถนามาใช้ ได้ มกจะเป็ นพลังงานที่หาทดแทนได้ (Renewable
                                           ั
Energy) ซึงจะได้ แก่
            ่
 ·พลังงานแสงอาทิตย์ (ด้ วยการใช้ รังสีจากดวงอาทิตย์เพื่อให้ ความร้ อนและผลิตกระแสไฟฟา)
                                                                                    ้
 ·พลังงานจากน ้า (จากการผลิตกระแสไฟฟา และการใช้ เป็ นแหล่งความร้ อน/ความเย็น)
                                         ้
 ·พลังงานจากดิน (จากการสะสมความร้ อนในดิน)
 ·พลังงานลม (จากการผลิตกระแสไฟฟาโดยตรงและการเพิ่มสภาวะน่าสบายด้ วย ventilation)
                                      ้
 ·พลังงานจากพืชพันธ์ (จากการกันแดดและการระเหยของน ้าเพื่อสร้ างความเย็น)
 ·พลังงานจากสัตว์ มูลสัตว์ (จากการสร้ างพลังงานชีวมวล–Biomass)
การให้ ความสาคัญกับการ
อนุรักษ์ ไม่ใช่อื่นใด หากแต่เพื่อหลอมรวม
มนุษย์เข้ ากับธรรมชาติ ไม่ทาลายล้ างธรรมชาติ
เพื่อแสดงศักยภาพแห่งการสร้ างสรรค์ของตน
อย่างไม่ลืมหู ลืมตา และเหนืออื่นใด ก็เพื่อโลก
ใบนี ้จะได้ บอบช ้าน้ อยลง กระทังเย็นลงเป็ นโลก
                                 ่
ใบสดใสให้ เราได้ อยู่อาศัยอย่างมีความสุขชัว ่
ลูกชัว หลาน และอยูยงยืนตราบชัวกาลนาน
      ่                 ่ ั่       ่

More Related Content

สถาปัตยกรรมสีเขียว

  • 2. สถาปั ตยกรรมสีเขียวเป็ นผลผลิตจากกระแสความคิดใหม่ในการออกแบบสถาปั ตยกรรม ที่มีรากฐานมา จากสถาปั ตยกรรมยังยืน (Sustainable Architecture) ที่เกิดขึ ้นในช่วงเวลา ่ ไม่เกิน 20 ปี ที่ผ่านมา หลังจากที่แนวทางการออกแบบอาคารประหยัดพลังงาน
  • 3. ปั จจุบนการบริโภคพลังงานจากแหล่ง ั พลังงานดั ้งเดิมเช่นถ่านหิน หรื อน ้ามันดิบ ก่อให้ เกิดการปลดปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์สู่ บรรยากาศโลก และก๊ าซนี ้จะทาให้ ความร้ อนจาก ผิวโลกไม่สามารถแผ่รังสีกลับสูอวกาศได้ ทาให้ เกิด ่ ปรากฏการณ์โลกร้ อน (Global Warming) ปั ญหาโลกร้ อนจะทาให้ เกิดปั ญหาตามมาอีก สารพัด
  • 4. ความหมาย และความสาคัญ อาคาร สีเขียวนี ้ ก็คือ “การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ อาคารสามารถใช้ ประโยชน์จาก สภาวะ แวดล้ อมตามธรรมชาติ (แสงแดด, ลม, ดิน, น ้า, พืชพันธ์, สัตว์)
  • 5. กระแส ความคิดของสถาปัตยกรรมสี เขียวเกิดขึ้นได้ มิใช่เพราะการขาดแคลนพลังงานแต่ เป็ นเพราะปัญหาสิ่ งแวดล้อม เช่นปรากฏการณ์เรื อน กระจก (Greenhouse Effect) ปรากฎการณ์ หลุมโอโซน (Ozone Hole) เกาะความร้อน (Urban Heat Island) ฝนกรด (Acid Rain) การทาลายป่ า (Deforestation) รวมทั้งการแพร่ กระจายของโรคติดต่ออันเกิดจาก สภาพอากาศของโลกที่เปลี่ยนไป (Climate Change)
  • 6. เปาหมายของอาคารสีเขียวที่เพิ่มมาก็คือการผสมผสานองค์ความรู้จาก Passive ้ design เข้ ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ของศตวรรษที่ 20 ในการที่จะใช้ ประโยชน์จากพลังงาน ธรรมชาติที่สะอาด และไม่มีวนหมดโดยตรง ในอีกความหมายหนึ่งก็คืออาคารสีเขียวจะไม่ ั พยายามเสนอแนะการลดการใช้ พลังงาน หากพลังงานนั ้นมีความจาเป็ นต่อการผลิตหรื อการอยู่ อาศัยของมนุษย์ แต่จะเสนอแนะให้ อาคารใช้ พลังงานจากแหล่งที่สะอาด และไม่มีวนหมดไป ั (renewable energy)
  • 7. อาคารสีเขียวจึงจะต้ องประกอบไปด้ วยองค์ประกอบ 3 ส่วน 1) ความสอดคล้ องกับสภาพอากาศ 2) ความน่ าสบาย 3) การใช้ พลังงานธรรมชาติ
  • 8. ความสอดคล้ องกับสภาพอากาศ การ สอดคล้ องกับสภาพอากาศหมายถึงการออกแบบจัดวางพื ้นที่ใช้ สอยอาคาร ตามทิศทางแดด ทิศทางลมธรรมชาติ และการเลือกใช้ วสดุก่อสร้ างตกแต่งที่ทาให้ “อาคาร” น่าสบาย ไม่ร้อน ไม่ ั หนาว ไม่ชื ้น ไม่แห้ งเกินไป ก่อนที่จะเริ่มอาศัยเครื่องจักรกลที่บริโภคพลังงาน ซึงหมายถึงการ ่ ออกแบบ Passive Design นันเอง ่
  • 9. ความน่ าสบาย การรักษาสภาวะน่าสบายของมนุษย์ให้ อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานที่เป็ นที่ยอมรับอย่างเป็ นสากลในส่วนที่ เกี่ยวข้ องกับสิงต่อไปนี ้ ่ ·สภาวะน่าสบายเชิงอุณหภาพ (Thermal comfort) ·แสงสว่าง (Visual/lighting comfort) ·เสียง (Acoustical comfort) ·คุณภาพอากาศภายใน (Indoor air quality: IAQ)
  • 10. การใช้ พลังงานธรรมชาติ แหล่งพลังงานที่อาคารสามารถนามาใช้ ได้ มกจะเป็ นพลังงานที่หาทดแทนได้ (Renewable ั Energy) ซึงจะได้ แก่ ่ ·พลังงานแสงอาทิตย์ (ด้ วยการใช้ รังสีจากดวงอาทิตย์เพื่อให้ ความร้ อนและผลิตกระแสไฟฟา) ้ ·พลังงานจากน ้า (จากการผลิตกระแสไฟฟา และการใช้ เป็ นแหล่งความร้ อน/ความเย็น) ้ ·พลังงานจากดิน (จากการสะสมความร้ อนในดิน) ·พลังงานลม (จากการผลิตกระแสไฟฟาโดยตรงและการเพิ่มสภาวะน่าสบายด้ วย ventilation) ้ ·พลังงานจากพืชพันธ์ (จากการกันแดดและการระเหยของน ้าเพื่อสร้ างความเย็น) ·พลังงานจากสัตว์ มูลสัตว์ (จากการสร้ างพลังงานชีวมวล–Biomass)
  • 11. การให้ ความสาคัญกับการ อนุรักษ์ ไม่ใช่อื่นใด หากแต่เพื่อหลอมรวม มนุษย์เข้ ากับธรรมชาติ ไม่ทาลายล้ างธรรมชาติ เพื่อแสดงศักยภาพแห่งการสร้ างสรรค์ของตน อย่างไม่ลืมหู ลืมตา และเหนืออื่นใด ก็เพื่อโลก ใบนี ้จะได้ บอบช ้าน้ อยลง กระทังเย็นลงเป็ นโลก ่ ใบสดใสให้ เราได้ อยู่อาศัยอย่างมีความสุขชัว ่ ลูกชัว หลาน และอยูยงยืนตราบชัวกาลนาน ่ ่ ั่ ่