ݺߣ
Submit Search
ทคȨคการถ่ายภาพ
•
Download as PPT, PDF
•
2 likes
•
759 views
K'donuz Drumz
Follow
1 of 34
Download now
Downloaded 17 times
More Related Content
ทคȨคการถ่ายภาพ
1.
เทคนิ ค การถ่
า ยภาพ
2.
เทคนิ ค การถ่
า ยภาพ LAND SCAPE • หรือการถ่ายภาพภูมิทัศน์ นิยมถ่ายด้วย เลนส์มุมกว้าง เพื่อให้เห็นพื้นที่ในบริเวณกว้าง แต่ก็ขึ้นอยู่กับความต้องการ โดยปกติใช้เลนส์ มาตรฐานก็ได้เช่นกัน การถ่ายภาพลักษณะนี ้ ควรใช้รูรับแสงที่แคบเพื่อให้เกิดระยะชัดมาก ที่สด ควรคำานึงถึง ฉากหน้า และฉากหลังของ ุ ภาพ และการวางจุดสนใจ (ตามที่ได้อธิบายไป แล้วในเรื่องของการจัดองค์ประกอบภาพ) หรือ อาจใช้อุปกรณ์เสริมอื่น ๆ เช่น ฟิลเตอร์โพรา ไรซ์ เพื่อให้สของภาพอิ่มตัวขึ้น ท้องฟ้าเข้มขึ้น ี
3.
ภาพสายรุ้งที่เมืองเชียงใหม่ วัดแสงที่ท้องฟ้า
แล้วลด 1 Stop เพื่อให้เห็นสีของเส้นรุ้ง
4.
อีกมุมหนึงของใต้สะพานข้ามแม่นำ้าแคว
่ ซึ่งเรือจะเป็นจุดเด่นของภาพ มีฉากหน้าคือ ดอกไม้สีต่าง ๆ ทำาให้ภาพดูมีระยะ
5.
มุมมองของเขื่อนป่าสักชลสิทธิ มีท่อทรงกลม
์ ทำาให้ภาพไม่จืดเกินไป
6.
หอประชุมกาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีเสาธงเป็นเส้นนำาสายตา
ใช้ฟิลเตอร์โพราไรซ์ ท้องฟ้าจึงเข้มขึ้น
7.
STOP ACTION เป็นเทคนิคการใช้ความเร็ว
ชัตเตอร์ที่สูง • เพื่อให้ภาพที่เคลื่อนไหวดูหยุดนิ่ง โดยใช้ ตั้งแต่ 1/250 วินาทีขึ้นไป ขึ้นอยู่กับความเร็ว ในการเคลื่อนที่ผ่านหน้าเลนส์ของวัตถุ การถ่ายภาพลักษณะนีต้องวางแผนให้ดี ปรับ ้ โฟกัส และวัดแสงไว้ล่วงหน้า อาศัยการกะระยะ และการตัดสินใจที่ฉับไวในการถ่ายภาพ แต่ ต้องอย่าลืมเรื่องการจัดองค์ประกอบภาพเพื่อให้ ภาพมีความงาม และมีคุณค่า
8.
ภาพรถจักรยานยนต์ วิ่งด้วยความเร็วสูง ใช้ ความเร็วชัตเตอร์
1/500 วินาที รูรับแสง F 5.6
9.
นักกีฬากระโดดสูง ใช้ความเร็วชัตเตอร์ 1/500
วินาที F 5.6
10.
ACTION เป็นการใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ตำ่า • ถ่ายภาพวัตถุที่เคลื่อนไหวเพื่อให้เห็นถึงการ
เคลื่อนไหว เพราะความเร็วชัตเตอร์ที่ช้า จึง ทำาให้วัตถุที่ต้องการเน้นไม่ชัดเจน พร่ามัว จะ ใช้ความเร็วชัตเตอร์ชามากเพียงใดขึ้นอยู่กับ ้ ความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ ผ่านเลนส์ ผูถ่าย ้ ภาพต้องสามารถประมาณความเร็วได้ ยิ่งช้า มากเท่าใด ภาพยิ่งพร่ามัวมากเท่านั้น แต่อย่า มากเกินไปเพราะจะทำาให้มองไม่เห็นวัตถุที่ถ่าย ให้ชัดเจน ลองดูภาพตัวอย่าง
11.
นักแข่งรถ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง การถ่ายภาพ
ใช้ความเร็ว ชัตเตอร์์ 1/30 วินาที รูรับแสง F 11
12.
สายนำ้า ที่อำาเภอภูเวียง จ.ขอนแก่น
ดูนุ่มนวล ด้วย ความเร็วชัตเตอร์ที่ตำ่า 1/8 วินาที ใช้ขาตั้งกล้อง ช่วย
13.
PANNING เป็นการใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ตำ่า •
ถ่ายภาพวัตถุที่เคลื่อนไหวเหมือนกับภาพ Action แต่จะใช้เทคนิคการแพน หรือการส่าย กล้องตามวัตถุที่เคลื่อนที่ และกดชั ต เตอร์ ขณะที ่ ส ่ า ยกล้ อ ง ทำาให้วัตถุที่ต้องการเน้นนิ่ง เห็นรายละเอียดมากยิ่งขึ้น แต่ฉากหน้าและฉาก หลังที่นิ่งอยู่กับที่ลู่ตามวัตถุ เป็นที่นิยมมากใน การถ่ายภาพกีฬาประเภทต่าง ๆ
14.
นักวิ่งลมกรด การถ่ายภาพใช้ความเร็วชัตเตอร์์ 1/2 วินาที
รูรับแสง F 22 ส่ายกล้องตามนักกีฬา พร้อมกดชัตเตอร์
15.
เหิรฟ้า ใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่ตำ่า ส่ายกล้องตาม นักแข่งรถพร้อมกดชัตเตอร์
ความเร็วชัตเตอร์ 1/8 วินาที รูรับแสง F 22
16.
CLOSE UP
เป็นการถ่ายภาพระยะใกล้ • เพื่อเน้นรายละเอียด หรือการถ่ายภาพวัตถุ ขนาดเล็ก สามารถถ่ายโดยใช้ฟิลเตอร์ Close up ซึ่งมีลักษณะเป็นเลนส์ขยาย จำาหน่ายเป็นชุด ๆ ละ 3 อัน สามารถต่อกันได้ แต่ต้องระวังใน การถ่ายเพราะ ภาพจะชัดเฉพาะ ตรงกลางภาพ ส่วนด้านขอบของภาพจะไม่ชดเพราะความโค้ง ั ของเลนส ์์ ยิ่งใช้ฟิลเตอร์หลายตัวยิ่งลดความ คมชัดของภาพลง
17.
ถ้าต้องการคุณภาพดี ควรใช้เลนส์มาโคร •
หรือเลนส์ถ่ายใกล้ จะให้รายละเอียดของภาพ มากยิ่งขึ้น การถ่ายภาพต้องระวังอย่าให้สั่นไหวเด็ด ขาด ควรใช้ขาตั้งกล้องและสายลั่นชัตเตอร์เข้า ช่วย หรือพยายามใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่สง จะ ู ช่วยได้มาก
18.
แมลงปอ ถ่ายด้วยเลนส์มาโคร 55
มม. • ระยะห่าง 10 ซม. โฟกัสที่ปลายไม้ และใช้สาย ลั่นชัตเตอร์ยาว รอจังหวะให้ดี • ผีเสื้อและดอกไม้ ถ่ายด้วยเลนส์มาโคร 55 มม. ระยะห่าง 10 ซม. โฟกัสที่ปลายไม้ และใช้สาย ลั่นชัตเตอร์ยาว เช่นกัน
19.
ดอกไม้สสดใส ถ่ายด้วยเลนส์มาตรฐาน 50
มม. ี ถ่ายใกล้ประมาณ 1 ฟุต
20.
᰿հշ
เป็นทคȨคการถ่ายภาพย้อนแสง • โดยจะไม่เห็นรายละเอียดของวัตถุ ควรถ่ายในช่วงเช้า หรือช่วง เย็น แสงแดดเริ่มอ่อน อย่าวัดแสงกับดวงอาทิตย์ตรง ๆ ควรวัด แสงที่ท้องฟ้า เฉียง 45 องศา กับดวงอาทิตย์ และลดรูรับแสงให้ แคบลง 2-4 Stop หรือถ้าเป็นเวลาเย็นมาก สามารถมองดวง อาทิตย์ด้วยตาเปล่าได้ ก็วัดแสงที่ดวงอาทิตย์ได้เลย
21.
การถ่ายภาพปรเภทนี้ต้องระวังเรื่องฉากหน้า
และฉากหลังด้วย • เพราะจะทำาให้รบกวนภาพทำาให้ภาพดูรกตา ภาพพระอาทิตยขึ้นที่ภูกระดึง วัดแสงที่ดวงอาทิย์ (แสงยังไม่จ้า มองด้วยตาเปล่าได้) ความเร็วชัตเตอร์ 1/60 วินาที รูรับแสง F 5.6
22.
ภาพคอยใครเอ่ย ? วัดแสงที่ท้องฟ้า
ลด 2 Stop ความเร็วชัตเตอร์ 1/250 วินาที รูรับแสง F 11
23.
NIGHT PICTURE
หรือการถ่ายภาพไฟกลางคืนที่สวยงาม จะได้ ภาพที่แปลกตา • อุปกรณ์ที่ต้องใช้ 1. กล้องถ่ายภาพพร้อมฟิล์ม 2. ขาตั้งกล้องพร้อมสายลั่นชัตเตอร์ 3. อื่น ๆ เช่น ไฟฉาย ผ้าดำา วิธีการถ่ายภาพ 1. ติดตั้งกล้องกับขาตั้งกล้องให้มั่นคง พร้อมติดตั้งสายลั่น ชัตเตอร์ให้พร้อม 2. ส่องกล้องหาทิศทางในการถ่ายภาพ ให้ได้มุมที่เหมาะที่สุด 3. คาดคะเน สภาพแสงเพื่อกำาหนดเวลา และรูรับแสง (โดยปกติ ถ้าเป็นไฟตามถนนปกติ จะใช้ประมาณ 5.6หรือ 8) 4. ตั้งความเร็วชัตเตอร์ที่ B ลั่นชัตเตอร์ค้างไว้ให้รถวิ่งผ่านจนเป็น ที่พอใจ ประมาณ 10 -60 วินาที หรือถ้าทิ้งช่วงเวลานาน ใช้ ผ้าดำาคลุมหน้าเลนส์ไว้ก่อนก็ได้
24.
การถ่ายภาพไฟกลางคืน ควรถ่ายเผือหลาย
่ ๆ ภาพ • โดยใช้เวลาในการบันทึกภาพ และขนาดรูรับแสงต่าง ๆ กัน และ จดบันทึกไว้จะดีที่สุด และควรฝึกหัดเป็นประจำาเพราะต้องอาศัย ความชำานาญอย่างสูงในการถ่ายภาพประเภทนี้
25.
เส้นสียามราตรีที่สารคาม ความเร็วชัตเตอร์ 20
วินาที รูรับแสง F 5.6 เลนส์ 35-200 มม.
26.
งานปฏิมากรรมบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ความเร็วชัตเตอร์ 10 วินาที
รูรับแสง F 5.6 เลนส์ 35-200 มม.
27.
ภาพแสงแห่งความหวัง ความเร็วชัตเตอร์ 15
วินาที รูรับแสง F 8 เลนส์ 35-70 มม.
28.
LOW KEY
ภาพที่มีโทนสีดำามาก และมีสีตัดกันสูง • ภาพจะดูลึกลับ สะดุดตา น่าสนใจ อาจใช้แสงจากธรรมชาติโดย แสงเข้าในทิศทางเดียว หรือกระทบที่วตถุที่จะถ่ายเพียงด้าน ั เดียว โดยวัดแสงที่จุดกระทบของแสง คือ วัดแสงใกล้ ๆ กับวัตถุ แล้วถอยกล้องออกมาถ่าย โดยไม่ต้องปรับรูรับแสง หรือความเร็ว ชัตเตอร์อีก
29.
ภาพสาวน้อย แสงเข้าด้านข้าง วัดแสงด้านข้าง
แล้วเพิ่มอีก 1 Stop • เพือให้เกิดการตัดกันของโทนสีมาก ่ ความเร็วชัตเตอร์ 1/250 วินาที รูรับแสง F 5.6 เลนส์ 135 มม.
30.
ภาพคนลูกทุ่ง แสงจากหลอดทังสะเตน • วัดแสงที่ใบหน้า
ผู้เป็นแบบ ความเร็วชัตเตอร์ 1/15 วินาที รูรับ แสง F 1.4 เลนส์ 35-70 มม. ภาพลุงชาลี แสงธรรมชาติวัดแสงที่ใบหน้า ผู้เป็นแบบ ความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วินาที รูรับแสง F 8 เลนส์ 135 มม.
31.
CREATIVE การถ่ายภาพ หามุมมองที่แปลก ๆ
สวยงาม น่า สนใจ • มีความเป็นตัวของตัวเอง เพราะจะช่วยให้ประสบความสำาเร็จได้ เร็วขึ้น หลายครั้งทีเห็นนักถ่ายภาพไปถ่ายภาพในสถานที่ต่าง ๆ ่ แล้วได้ภาพออกมาเหมือนกันหมด หรือถ่ายแต่มุม ส.ค.ส หรือมุม ปฏิทิน ที่มีจำาหน่ายหรือตีพิมพ์ออกมาจนเห็นชินตา
32.
ภาพสะพานแขวน ใช้ฟิลเตอร์ Rianbow
ปรับ โฟกัสใด้คลาดเคลื่อน ความเร็วชัตเตอร์ 12 วินาที รูรับแสง F 5.6
33.
ภาพเงาพระธรรม ความเร็วชัตเตอร์ 1/125
วินาที รูรับ แสง F 5.6 ภาพแม่ส ความเร็วชัตเตอร์ 1/125 วินาที รูรับ ี แสง F 8
34.
เว็บไซต์แนะนำา www
Download