โครงงาȨาษาไทย
- 1. โครงงาȨาษาไทย
โดย ครูณฐญา กาลันสีมา
ั
ครู ช้านาญการ โรงเรียนถ้าปินวิทยาคม สพม.36
- 2. ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระภาษาไทย
- กาเมียงลับแลแป๋ เป็ นไทย(ภาษาถิ่นลับแลแปลเป็ นภาษาไทยกลาง) โรงเรียน
เทศบาลวัดคลองโพธิ์
- คิดสนุกวรรณยุกต์พาเพลิน โรงเรียนเทศบาลท่าอิฐ
- ปริศนาคาทาย ฉายความหมาย โรงเรียนเทศบาลวัดท้ายตลาด(กวีธรรมสาร)
- การใช้ภาษาของกลุมบุคคลในวงการเมือง วงการธุรกิจและวงการบันเทิง จาก
่
หนังสือพิมพ์ โรงเรียนเทศบาลวัดหนองผา
- 4. ความหมาย
โครงงานหมายถึง กิจกรรมทีเ่ ปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้ศึกษา
ค้นคว้าและลงมือปฏิบติดวยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และ
ั ้
ความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่น
ใดไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบในเรื่องนันๆ ้
- 5. ประเภทของโครงงาน
๑.๑ โครงงานประเภทสารวจ
โครงงานประเภทสารวจ เป็ นโครงงานประเภทเก็บ
รวบรวมข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปั ญหาหรือสารวจความคิด
่ ่
เห็น ข้อมูลทีรวบรวมได้บางอย่างอาจเป็ นปั ญหาทีนาไปสูการ
่
่ ้
ทดลองหรือค้นพบสาเหตุ ของปั ญหาทีตองหาวิธีแก้ไขปรับปรุง
่ ั
ร่วมกัน เช่น โครงงานการสารวจคาทีมกเขียนผิด โครงงาน
สารวจการใช้คาคะนองในหนังสือพิมพ์ เป็ นต้น
- 6. ๑.๒ โครงงานประเภทการทดลอง
โครงงานประเภทการทดลอง เป็ นโครงงานที่ตองออกแบบ
้
ทดลอง เพื่อการศึกษาผลการทดลองว่าเป็ นไปตามที่ตงสมมติฐานไว้
ั้
หรือไม่ โครงงานประเภทนี้ตองสรุปความรูหรือผลการทดลองเป็ น
้ ้
หลักการหรือแนวทางการ ปฏิบติไว้ เช่น โครงงานการทดลองยากันยุง
ั
จากพืชสมุนไพร โครงงานการทดลองปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ปุ๋ย
วิทยาศาสตร์ เป็ นต้น
- 7. ๑.๓ ่
โครงงานประเภทสิงประดิษฐ์
โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็ นโครงงานทีประยุกต์
่
หลักการทางวิทยาศาสตร์เข้าสู่กระบวนการปฏิบติ โดยอาศัยเครื่องมือ
ั
วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อประดิษฐ์ช้ ินงานใหม่ อาจเป็ นของใช้ เครื่องประดับ
จากวัสดุเหลือใช้ หรือนาวัสดุทองถิ่นทีมีมากมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์
้ ่
เช่น โครงงานการประดิษฐ์เครื่องจักสานจากผักตบชวา โครงงานการ
ประดิษฐ์เครื่องช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
- 8. โครงงานประเภททฤษฎี
่ ั
โครงงานประเภททฤษฎี เป็ นโครงงานทีมีลกษณะเป็ นการ
หาความรูใ้ หม่ โดยการรวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์จากสถิติแล้ว
อภิปราย หรือเป็ นโครงงานทีศึกษาค้นคว้าข้อมูลทีเ่ กิดจากข้อสงสัย
่
อาจเป็ นการนาบทเรียนมาขยายเพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้ความรู ้
ในแง่มุม ที่กว้างและลึกกว่าเดิม เช่น โครงงานการศึกษาคาซ้อนใน
วรรณคดีรอยแก้ว โครงงานการศึกษาข้อคิดจากเรื่องพระมโหสถชาดก
้
เป็ นต้น
- 9. ขันตอนการทาโครงงาน
้
การทาโครงงานมีขนตอนการปฏิบติ ดังนี้
ั้ ั
่ ่
๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรือง ผูเ้ รียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรืองของ
โครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรืองของ ่
โครงงานมักจะได้มาจากปั ญหา คาถามหรือความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับเรือง
้ ่
ต่างๆ ของผูเ้ รียนเอง หัวเรืองของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใคร
่
่ ่ ่ ่
ได้อานชือเรืองแล้วควรเข้าใจและรูเ้ รืองว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัว
่ ่
เรืองของโครงงานนันมีแหล่งทีจะช่วยกระตุนให้เกิดความคิดและ ความสนใจหลาย
้ ้
แหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยียมชมสถานที่
่
ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวด
โครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกต
ปรากฏการณ์ตางๆ รอบตัว เป็ นต้น
่
- 11. ๒.๒ การวางแผน
การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครง
ของโครงงาน ซึงต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการ
่
เป็ นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สบสน แล้วนาเสนอต่อผูสอนหรือ
ั ้
ครูทปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขัน ต่อไป การเขียน
ี่ ้
เค้าโครงของโครงงาน โดยทัวไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และ
่
ขันตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
้
- 12. ๑) ชือโครงงาน ควรเป็ นข้อความทีกะทัดรัด ชัดเจน สื่อ
่ ่
ความหมายได้ตรง
่ ้
๒) ชือผูทาโครงงาน
่ ่
๓) ชือทีปรึกษาโครงงาน
๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็ นการอธิบายว่าเหตุใด
่
จึงเลือกทาโครงงานเรืองนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไร
ทีเ่ กี่ยวข้อง เรืองทีทาเป็ นเรืองใหม่หรือมีผูอนได้ศึกษาค้นคว้าเรืองนี้ไว้บาง
่ ่ ่ ้ ื่ ่ ้
แล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรืองทีทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องทีผูอน
่ ่ ่ ้ ่ื
ทาไว้อย่างไร หรือเป็ นการทาซาเพื่อตรวจสอบผล
้
๕) จุดมุงหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และ
่
่
สามารถวัดได้ เป็ นการบอกขอบเขตของงานทีจะทาได้ชดเจนขึ้น ั
- 13. ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็ นคาตอบ
่ ่
หรือคาอธิบายทีคาดไว้ล่วงหน้า ซึงอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควร
่ ่
มีเหตุมผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และทีสาคัญ คือ เป็ นข้อความทีมองเห็น
ี
แนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัว
แปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
๗) วิธดาเนินงานและขันตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะ
ี ้
ออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทังระบุวสดุอุปกรณ์ท่ี
้ ั
จาเป็ นต้องใช้ มีอะไรบ้าง
๘) แผนปฏิบตงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตังแต่เริมต้นจนเสร็จ
ัิ ้ ่
สิ้นการดาเนินงานในแต่ละขันตอน้
่
๙) ผลทีคาดว่าจะได้รบ
ั
๑๐) เอกสารอ้างอิง
- 14. ๒.๓ การดาเนินงาน เมื่อทีปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครง
่
้ ั ้ ่
ของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็ นขันลงมือปฏิบติงานตามขันตอนทีระบุไว้
ผูเ้ รียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และ
่
สถานทีให้พร้อมปฏิบติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความ
ั
ประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ
ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร
พยายามบันทึกให้เป็ นระเบียบและครบถ้วน
- 15. ๒.๔ การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็ นวิธีสื่อความหมาย
วิธีหนึ่งทีจะให้ผูอื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลทีได้
่ ้ ่
ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ทีเ่ กี่ยวกับโครงงานนัน การ ้
่่
เขียนโครงงานควรใช้ภาษาทีอานแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุม
ประเด็นสาคัญๆ ทังหมดของโครงงาน
้
- 16. ๒.๕ การนาเสนอผลงาน
การนาเสนอผลงาน เป็ นขันตอนสุดท้ายของการทา
้
โครงงานและเข้าใจถึงผลงานนัน การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลาย
้
รูปแบบ ขึ้นอยูกบความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา
่ ั
ระดับของผูเ้ รียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียน
่
รายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึงอาจมีทง ั้
การจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การ
บรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนันดึงดูดความ
้
สนใจของผูชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา
้
- 17. ๓. การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโครงงาน เป็ นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอ
่
ผลงานของโครงงานทีผูเ้ รียนได้ศึกษาค้นคว้า ตังแต่ตนจนจบ การ
้ ้
กาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกัน
ทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับ
ประเภทของโครงงานและระดับชันของ ผูเ้ รียน องค์ประกอบของการ
้
เขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็ น ๓ ส่วน ดังนี้
- 18. ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย
่
๑) ชือโครงงาน
่ ้ ี่ ั
๒) ชือผูทาโครงงาน ชัน โรงเรียน และวันเดือนปี ทจดทา
้
่ ี่
๓) ชืออาจารย์ทปรึกษา
๔) คานา
๕) สารบัญ
๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี)
้ ่ ่ ่
๗) บทคัดย่อสันๆ ทีบอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึงประกอบด้วย เรือง
วัตถุประสงค์ วิธการศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล
ี
๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงาน
่
ทีให้ความช่วยเหลือหรือมีสวนเกี่ยวข้อง
่
- 19. ่
๒. ส่วนเนื้อเรือง
ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย
๑) บทนา บอกความเป็ นมา ความสาคัญของโครงงาน
บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน
๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน
๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
- 20. ๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็ นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การ
่
ดาเนินงานเป็ นไปตามหัวข้อเรือง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และ
่
พิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นทีกาหนด ดังตัวอย่างการเขียน
แผนผังโครงงานต่อไปนี้
ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย
่ ่ ่ ้
มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้วาสิงทีตองการทราบ คือ หัวข้อย่อย
หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละ
หัวข้อ พร้อมทังบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตาม
้
่ ่ ้
แผนผังให้ครบทุกข้อ สิงทีตองการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่ง
่ ่ ้
ศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรืองของโครงงานทีตองการหา
คาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต
ศึกษาโดยการดู-ฟั ง จากสือชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล
่
- 21. ๕) สรุปผลการศึกษา เป็ นการอธิบายคาตอบทีได้จาก
่
การศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ตองการทราบ ว่าเป็ นไปตาม
้
สมมติฐานหรือไม่
๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานทีได้่
และบอกข้อจากัดหรือปั ญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทังบอก
้
ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
- 22. ๓. ส่วนท้าย
ส่วนท้าย ประกอบด้วย
๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารทีใช้คนคว้า ซึ่งมีหลาย
่ ้
่
ประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึงจะมีวธีการเขียนบรรณานุกรม
ิ
ต่างกัน เช่น
่ ่ ่ ่
หนังสือ ชือ นามสกุล. ชือหนังสือ. สถานทีพิมพ์ : สานักพิมพ์, ปี ทีพิมพ์
บทความในวารสาร ชือผูเ้ ขียน "ชือบทความ," ชือวารสาร. ปี ทีหรือเล่มที่
่ ่ ่ ่
: หน้า ;วัน เดือน ปี .
คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ ชือผูเ้ ขียน "ชือคอลัมน์ : ชือเรื่องในคอลัมน์"
่ ่ ่
่
ชือหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี . หน้า.
๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บท
สัมภาษณ์