ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ใบงานที่ 3 เรือง ขอบข่ายและประเภทของ
               ่
                โครงงานคอมพิวเตอร์


      คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา
ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งใน
ลักษณะของเนื้อหา กิจกรรมและลักษณะของประโยชน์หรือผลงาที่ได้
ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อ

เพื่อการศึกษา (Educational Media) 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ

(Tools Development) 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory

Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)

5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
โครงงานพัฒนาสือเพื่อการศึกษา (Educational Media)
              ่



เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการ
สร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาค
แบบฝึกหัด บททบทวนและคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียน
แบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็น
การพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้

     โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนใน
วิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชา
วิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือก
หัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนา
โปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบ
สุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)

      เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเรื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง
ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือ
ช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วย
การมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้น
สร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้
งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่
ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยใน
การมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ
เช่น โปรแกรมประเภท 3D

3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment)

     เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาองการทดลองของสาขา
ต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ
ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา
แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ
สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วย
คอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้
เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหล
ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการ
แบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น

4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)

     เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้
งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและ
ตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุ
คนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่ง
อาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์
ความต้องการของผู้ใช้ก่อนแล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และ
พัฒนา

     สิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบ
คุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงาน
ประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษา
โปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทาง
วิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย

5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)

        เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความ
เพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการคานวณเลข ซึ่งเกม
ที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึก
คิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและ
กฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรก
ไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกม
ต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่
แปลกใหม่และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกล่มต่าง ๆ
วิธดาเȨȨารทาโครงงาȨอมพิวเตอร์
   ี

     โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องหลาย
ขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนจะมีความสาคัญต่อโครงงานนั้น ๆ การแบ่ง
ขั้นตอนของการทาโครงงานอาจแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของ
โครงงานและการวางแผนการทาโครงงานในที่นี้จะบ่งการทางาน
ออกเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้

1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงานทีสนใจทา
                             ่

โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มา
จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง
ๆ รอบตัว นักเรียนสามารถจะศึกษาการได้มาของเรื่องที่จะทาโครงงาน
การอ่านค้นคว้า การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ การฟังบรรยาย รายการ
วิทยุโทรทัศน์ สนทนาอภิปราย กิจกรรมการเรียนการสอน งานอดิเรก
การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ใน
การตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร
พิจารณาองค์ประกอบสาคัญดังนี้
- จะต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะ
ศึกษา
                - สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่
เกี่ยวข้องได้
                - มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา

                - มีเวลาเพียงพอ

                - มีงบประมาณเพียงพอ

                - มีความปลอดภัย

2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล

        รวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิช่วยจะช่วยให้นักเรียน
ได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดของเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้
เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งความรู้เพิ่มเติมในเรื่งที่จะศึกษาจน
สามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่าง
เหมาะสมในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว นักเรียนจะต้องบันทึกสรุป
สาระสาคัญไว้ด้วย
คุณลักษณะของผลงาน (Requirement and Specification) วิธีการ
ประเมินผล วิธีการพัฒนา ข้อสรุปของโครงงาน ความแปลกใหม่
ความคิดสร้างสรรค์ แนวทางในการปรับปรุงหรือขยายการทดลองจาก
งานเดิม

3. การจัดทาเค้าโครงของโครงงานทีจะทา จาเป็นต้องกาหนดกรอบ
                               ่
แนวคิดและวงแผนการพัฒนาล่วงหน้าเพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้
ของโครงงาน ขั้นตอนที่สาคัญคือ ศึกษาค้นคว้าเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูล
ออกแบบการพัฒนา เสนอเค้าโครงของโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข
4. การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์
ที่ปรึกษาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการพัฒนาตามขั้นตอนที่ได้วางแผน
ไว้ดังนี้ เตรียมการ ลงมือพัฒนา ตรวจสอบผลงานและแกไข อภิปรายผล
และข้อเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาโครงงานในอนาคต
5. การเขียนรายงาน เป็นสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
แนวความคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุป
และข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนควรใช้ภาษา
ที่อ่านเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมาให้ครอบคลุม
หัวข้อต่าง ๆ
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน เป็นการนาเสนอเพื่อ
แสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทา
โครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจในโครงงานนั้น
ในการเสนออาจทาได้หลายรูปแบบ เช่น ติดโปสเตอร์ การรายงานตัว
ในที่ประชุม การแสดงผลงานด้วยสื่อต่าง การจัดนิทรรศการ การอธิบาย
ด้วยคาพูด
สืบค้นเมือ : 16 กรกฎาคม 2555
         ่

ที่มา : มานพ ทะชัยวงค์. สนุกกับโครงงานคอมพิวเตอร์ กรุงเทพฯ :ไอดี

ซี,2547

     http://www.preeyadaedu.com/?p=621

จัดทาโดย

นาย กรวินท์    โตมี         เลขที่ 28

นางสาว สาลินี ข่ายสุวรรณ์      เลขที่ 29

นางสาว ณัฐสินี เมธาเจริญรักษ์ เลขที่ 35

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ค่ะ ^^

More Related Content

โครงงานคอมพิวเตอร์ ค่ะ ^^

  • 1. ใบงานที่ 3 เรือง ขอบข่ายและประเภทของ ่ โครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งใน ลักษณะของเนื้อหา กิจกรรมและลักษณะของประโยชน์หรือผลงาที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อ เพื่อการศึกษา (Educational Media) 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 2. โครงงานพัฒนาสือเพื่อการศึกษา (Educational Media) ่ เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการ สร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาค แบบฝึกหัด บททบทวนและคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียน แบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็น การพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนใน วิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือก หัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนา โปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบ สุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
  • 3. 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเรื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือ ช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วย การมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้น สร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยใน การมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาองการทดลองของสาขา ต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วย คอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้
  • 4. เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหล ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการ แบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้ งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและ ตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุ คนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่ง
  • 5. อาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ ความต้องการของผู้ใช้ก่อนแล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และ พัฒนา สิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบ คุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงาน ประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษา โปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทาง วิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความ เพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการคานวณเลข ซึ่งเกม ที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึก คิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและ กฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรก ไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกม ต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้ป็นเกมที่ แปลกใหม่และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกล่มต่าง ๆ
  • 6. วิธดาเȨȨารทาโครงงาȨอมพิวเตอร์ ี โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องหลาย ขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนจะมีความสาคัญต่อโครงงานนั้น ๆ การแบ่ง ขั้นตอนของการทาโครงงานอาจแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของ โครงงานและการวางแผนการทาโครงงานในที่นี้จะบ่งการทางาน ออกเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้ 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงานทีสนใจทา ่ โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มา จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว นักเรียนสามารถจะศึกษาการได้มาของเรื่องที่จะทาโครงงาน การอ่านค้นคว้า การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ การฟังบรรยาย รายการ วิทยุโทรทัศน์ สนทนาอภิปราย กิจกรรมการเรียนการสอน งานอดิเรก การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ใน การตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควร พิจารณาองค์ประกอบสาคัญดังนี้
  • 7. - จะต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะ ศึกษา - สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่ เกี่ยวข้องได้ - มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา - มีเวลาเพียงพอ - มีงบประมาณเพียงพอ - มีความปลอดภัย 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิช่วยจะช่วยให้นักเรียน ได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดของเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้ เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งความรู้เพิ่มเติมในเรื่งที่จะศึกษาจน สามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่าง เหมาะสมในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว นักเรียนจะต้องบันทึกสรุป สาระสาคัญไว้ด้วย
  • 8. คุณลักษณะของผลงาน (Requirement and Specification) วิธีการ ประเมินผล วิธีการพัฒนา ข้อสรุปของโครงงาน ความแปลกใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ แนวทางในการปรับปรุงหรือขยายการทดลองจาก งานเดิม 3. การจัดทาเค้าโครงของโครงงานทีจะทา จาเป็นต้องกาหนดกรอบ ่ แนวคิดและวงแผนการพัฒนาล่วงหน้าเพื่อคาดการณ์ความเป็นไปได้ ของโครงงาน ขั้นตอนที่สาคัญคือ ศึกษาค้นคว้าเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบการพัฒนา เสนอเค้าโครงของโครงงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข 4. การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ ที่ปรึกษาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการพัฒนาตามขั้นตอนที่ได้วางแผน ไว้ดังนี้ เตรียมการ ลงมือพัฒนา ตรวจสอบผลงานและแกไข อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาโครงงานในอนาคต 5. การเขียนรายงาน เป็นสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ แนวความคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุป และข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนควรใช้ภาษา ที่อ่านเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมาให้ครอบคลุม หัวข้อต่าง ๆ
  • 9. 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน เป็นการนาเสนอเพื่อ แสดงออกถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทา โครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจในโครงงานนั้น ในการเสนออาจทาได้หลายรูปแบบ เช่น ติดโปสเตอร์ การรายงานตัว ในที่ประชุม การแสดงผลงานด้วยสื่อต่าง การจัดนิทรรศการ การอธิบาย ด้วยคาพูด
  • 10. สืบค้นเมือ : 16 กรกฎาคม 2555 ่ ที่มา : มานพ ทะชัยวงค์. สนุกกับโครงงานคอมพิวเตอร์ กรุงเทพฯ :ไอดี ซี,2547 http://www.preeyadaedu.com/?p=621 จัดทาโดย นาย กรวินท์ โตมี เลขที่ 28 นางสาว สาลินี ข่ายสุวรรณ์ เลขที่ 29 นางสาว ณัฐสินี เมธาเจริญรักษ์ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5