บทบาทྺองการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวตอร์
- 1. บทบาทྺองการสื่อสารข้อมูล
และ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ครูปยะดนัย วิเคียน : โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม
ิ
http://krupiyadanai.wordpress.com/
- 2. บทบาทྺองการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวตอร์
การติดต่อสื่อสารเป็นการพูดคุยหรือส่งข่าวสารกันของมนุษย์ ซึ่งอาจ
เป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพูด หรือผ่านทางตัวอักษร โดย
ส่วนใหญ่เป็นการสื่อสารในระยะใกล้
ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้าขึ้นมีการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สาหรับใช้ในการสื่อสาร ทาให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกลและสะดวก
รวดเร็วมากขึ้น เช่น โทรเลข โทรศัพท์ และโทรสาร
- 3. บทบาทྺองการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
สาหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องใน
เวลาเดียวกัน ที่เรียกว่า ระบบเครือข่าย (network system) มีการพัฒนาให้
ดีขึ้นตามลาดับ จากในอดีตการใช้งานคอมพิวเตอร์จะเป็นคอมพิวเตอร์ที่มี
ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม การใช้งานจะมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องปลายทาง
หรือเทอร์มินัล (terminal) หลายเครื่อง ซึ่งถือว่าเป็นการติดต่อสื่อสาร
ระหว่างคอมพิวเตอร์กับเทอร์มินัลในยุคแรก
- 4. บทบาทྺองการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
ต่ อ มาเมื่ อ มี ก ารพั ฒ นาไมโครคอมพิ ว เตอร์ ห รื อ พี ซี ซึ่ ง มี ขี ด
ความสามารถในด้านความเร็วการทางานสูงขึ้น และมีราคาต่าลงมาเมื่อเทียบ
กับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทาให้การใช้งานแพร่หลายมากยิ่งขึ้น และมีความ
ต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน นอกเหนือจากการ
เชื่ อ มต่ อ เทอร์ มิ นั ล เข้ า กั บ คอมพิ ว เตอร์ ข นาดใหญ่ แ ล้ ว ยั ง มี ก ารก าหนด
มาตรฐานกลางที่ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่มาจากผู้ผลิตต่างกัน ให้
สามารถติ ด ต่ อ ถึ ง กั น ได้ เกิ ด การใช้ ง านระบบเครื อ ข่ า ยที่ ช่ ว ยเพิ่ ม ขี ด
ความสามารถในการทางาน เช่น การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน หรือการใช้
ทรัพยากรร่วมกัน ทาให้เกิดความสะดวก และรวดเร็วในการใช้งานเพิ่มขึ้น
- 5. บทบาทྺองการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
ลักษณะของเครือข่ายอาจเริ่มจากจุดเล็กๆ เช่น ระหว่างอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์บนแผงวงจรเดียวกัน ไปจนถึงระบบที่ทางานร่วมกันในห้อง
ทางานในอาคาร ระหว่างอาคาร ระหว่างสถาบัน ระหว่างเมือง หรือ
ระหว่างประเทศ
ลักษณะเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่กระจายไปทั่วโลก
- 6. บทบาทྺองการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
ปัจจุบันมีการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการคานวณและเก็บ
ข้อมูล รวมถึงการสื่อสารข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เช่น
ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automatic: OA) เป็นระบบงาน
ที่ใช้คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์และระบบเครือข่ายช่วยในงานที่เกี่ยวกับ
เอกสาร การโอนย้ายแลกเปลี่ยนไฟล์ การควบคุมเอกสารและส่งเอกสารไป
ยังหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และการส่งอีเมลล์ ผู้ใช้งานอาจอยู่ภายใน
อาคารเดียวกันหรืออยู่คนละเมืองก็ได้ การส่งข้อมูลข่าวสารเช่นนี้ต้องอาศัย
อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ห ลายประเภทที่ สามารถเชื่ อ มต่ อ และท างาน
ร่วมกัน โดยผ่านสื่อกลางในการส่งผ่านข้อมูล
- 7. บทบาทྺองการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
นอกจากนี้ยังมีการกระจายฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ ไว้ผ่านระบบ
เครือข่าย เช่น ฐานข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม งานวิจัย เศรษฐกิจ และ
สิน ค้ า ต่ า งๆ ในสถานศึ ก ษาอาจมี ข้อ มู ล เกี่ ย วกั บ หนั ง สื อ และต ารา
วิชาการ หากผู้ใช้ต้องการข้อมูลใดก็สามารถติดต่อผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
ด้วย คอมพิวเตอร์มายังศูนย์บริการข้อมูลนั้น ทาให้การได้รับข้อมูลเป็นไป
อย่างสะดวกรวดเร็ว
- 8. ประโยชȨของการสื่อสารྺ้อมูลและครือข่ายคอมพิวตอร์
1. ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล ปัจจุบันมีข้อมูลจานวนมาก
สามารถถู ก ส่ ง ผ่ า นเครื อ ข่ า ยการสื่ อ สารได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ
ร ว ด เ ร็ ว เ ช่ น ก า ร ส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ า น เ ค รื อ ข่ า ย โ ท ร ศั พ ท์ ร ะ บ บ ดี เ อ ส
แอล (Digital Subscriber Line: DSL) ถ้าส่งด้วยอัตราเร็ว 2 Mbps หรือ
ประมาณ 256 kB/s จะส่งข้อมูลจานวน 200 หน้าได้ในเวลาไม่น้อย
กว่า 10 วินาที
2. ความถูกต้องของข้อมูล การรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์
ผ่านเครือข่ายการสื่อสารเป็นการส่งแบบดิจิทัล ซึ่งระบบการสื่อสารจะมีการ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ส่ง และแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาดให้ถูกต้อง
ได้โดยอัตโนมัติ ดังนั้นการสื่อสารข้อมูลจึงมีความเชื่อถือได้สูง
- 9. ประโยชȨของการสื่อสารྺ้อมูลและครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
3. ค ว า ม เ ร็ ว ข อ ง ก า ร รั บ ส่ ง
ข้ อ มู ล การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นการส่ ง ข้ อ มู ล
หรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ทา
ได้ อย่างรวดเร็ว เนื่องจากสัญญาณทางไฟฟ้า
เดิ น ทางด้ ว ยความเร็ ว ใกล้ เ คี ย งความเร็ ว
แสง เช่น การดูภาพยนตร์ หรือรายการ
โทรทัศน์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต การตรวจสอบ
หรือการจองที่นั่งของสายการบินสามารถทา
ได้ทันที
- 10. ประโยชȨของการสื่อสารྺ้อมูลและครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
4. การประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล การรับและส่งข้อมูล
ผ่ า นเครื อ ข่ า ยการสื่ อ สารสามารถท าได้ ใ นราคาถู ก กว่ า การสื่ อ สารแบบ
อื่น เช่น การใช้งานโทรศัพท์โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า วอยซ์
โอเวอร์ไอพี (Voice over IP: V๐IP) จะมีค่าใช้จ่ายต่ากว่าการใช้งานโทรศัพท์
โดยผ่านระบบโทรศัพท์พื้นฐาน หรือการใช้อีเมลล์ส่งข้อมูลหรือเอกสารใน
รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์จะมีค่าใช้จ่าย ต่ากว่า และรวดเร็วกกว่าการส่งเอกสาร
ด้วยวิธีอื่น
- 11. ประโยชȨของการสื่อสารྺ้อมูลและครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
5. ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร ในองค์กรสามารถใช้
อุปกรณ์สารสนเทศร่วมกันได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายติดตั้งอุปกรณ์ให้กับทุก
เครื่อง เช่น เครื่องพิมพ์ นอกจากนี้ยังสามารถใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกัน
ได้ โดยจัดเก็บโปรแกรมและข้อมูลเหล่านั้นไว้ที่แหล่งเก็บข้อมูลที่เป็นศูนย์
กลาง เช่น เครื่องบริการไฟล์ (file server) เป็นต้น
6. ความสะดวกในการประสานงาน ในองค์กรที่มีหน่วยงานย่อย
หลายแห่ ง ที่ อ ยู่ ห่ า งไกลกั น สามารถท างานประสานกั น ผ่ า นทางระบบ
อินเทอร์เน็ต เช่น ประชุมทางไกล และการแก้ไขเอกสารร่วมกันผ่านระบบ
เครือข่าย
- 12. ประโยชȨของการสื่อสารྺ้อมูลและครือข่ายคอมพิวตอร์
(ต่อ)
7. ขยายบริการขององค์กร เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้องค์กร
สามารถกระจายที่ทาการไปตามจุดต่างๆ ที่ต้องการให้บริการ เช่น ธนาคาร
มีสาขาทั่วประเทศ สามารถถอนเงินได้จากตู้เอทีเอ็ม หรือฝากเงินได้ที่ตู้ฝาก
เงินสด เป็นต้น
8. การสร้ า งบริ ก ารรู ป แบบใหม่ บ นเครื อ ข่ า ย การให้ บ ริ ก าร
ต่างๆ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้บริการได้ทุกที่ทุก
เวลา เช่นการซื้อสินค้าผ่านร้านค้าออนไลน์ ซึ่งเป็นบริการแบบหนึ่งของ
พาณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-commerce) และการช าระค่ า สิ น ค้ า ค่ า
สาธารณูปโภค ผ่านจุดรับชาระแบบออนไลน์ ที่เรียกว่าเคาน์เตอร์เซอร์วิส
(counter service)