ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1




  ความหมายของเทคโนโลยีสารสȨทศ

       หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื องมือทีเกียวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ ขอมูล
                                                                                         ้
และสารสนเทศโดยรวมทั)งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื อสาร โทรคมนาคม



       การแก้ปัญหาด้ วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

       การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาทีซับซ้อนด้วยวิธีการ
ต่างๆ ส่ วนมากจําเป็ นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยเพือเพิมความรวดเร็ว ถูกต้อง และสามารถ
ทําซํ)าได้ง่ายในกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยแก้ปัญหา จําเป็ นต้องปรับรู ปแบบวิธีการ
ทํางานให้เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
       วิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นวิธีคล้ายกับการแก้ปัญหาทาง
วิศวกรรมมาก แต่ในการนําระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา หรื อเพิมประสิ ทธิภาพในการ
ทํางานใดๆ ก็ตาม จะต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาและศึกษาความเป็ นไปได้ให้รอบคอบเสี ยก่อน ทั)งนี)
เนืองจากคอมพิวเตอร์ไม่ใช้เครื องมือวิเศษทีจะแก้ปัญหาได้ทุกเรื อง การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เหมาะกับระบบงานทีต้องทํางานอย่างใดอย่างหนึงซึงซากและมีปริ มาณงาน
มากหรื องานทีต้องการความรวดเร็วในการคํานวณเกินกว่าคนธรรมดาจะทําได้ วิธีการโดยทัวไปคือ
ปรับเปลียนวิธีการหรื อระบบการทํางานแบบเดิม มาใช้ระบบงานทีมีเครื องคอมพิวเตอร์ช่วยทํางานเป็ น
บางส่ วน หรื อทั)งหมด เท่าทีสามารถจะทําแทนคนได้.



ความหมายและขันตอนการแก้ปัญหา

       กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ กระบวนการ หรื อขั)นตอนทีใช้ในการแก้ปัญหา เพือ
ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซึงปัญหาดังกล่าวจะเกียวข้องกับการจัดการข้อมูล โดยมีการ
ถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหานั)นด้วยอัลกอริ ทึม ซึงการแก้ปัญหานั)นมี 4 ขั)นตอน ดังนี)
2




การวิเคราะห์ และกําหนดรายละเอียดของปัญหา

เป็ นขั)นตอนการทําความเข้าใจกับปัญหา เพือแบ่งแยกให้ชดเจนโดยใช้คาถามต่อไปนี)
                                                    ั          ํ

        ข้อมูลทีกําหนดมาในปัญหาหรื อเงือนไขของปัญหาคืออะไร เพือระบุขอมูลเข้า
                                                                    ้

        สิ งทีต้องการคืออะไรเพือระบุขอมูลออก
                                     ้

        วิธีการทีใช้ประมวลผลคืออะไรเพือกําหนดวิธีการประมวลผล



ตัวอย่ าง การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปัญหาเกียวกับการหาพื)นทีสี เหลียมผืนผ้า

        ระบุขอมูลเข้า →
             ้               ความกว้างและความยาวของสี เหลียมผืนผ้า

        ระบุขอมูลออก →
             ้               พื)นทีสี เหลียมผืนผ้า

        กําหนดวิธีการประมวลผล →              นําความกว้าง และความยาวของสี เหลียมผืนผ้ามาหาพื)นที
โดยการคูณ



การเลือกเครื#องมือ และออกแบบขันตอน

        เป็ นการนําการวิเคราะห์วธีการแก้ปัญหามากําหนดเครื องมือและขั)นตอนในการปฎิบติทีสามารถ
                                ิ                                                 ั
ทําได้เท่านั)น

    1. การเลือกเครื#องมือทีใช้ ในการแก้ปัญหา
                           #
3




             เป็ นการกําหนดทรัพยากรทีต้องใช้ในการแก้ปัญหา ซึงควรจะเลือกใช้ทรัพยากรทีมีอยู่
      แล้ว หรื อเพิมประสิ ทธิภาพของเครื องมือนั)นๆ มากกว่าการจัดหามาเพิมเติม โดยควรกําหนด
      รายละเอียดของเครื องมือให้ชดเจน
                                 ั
   2. การออกแบบขันตอนในการปฏิบัติงาน
             เป็ นการกําหนดแนวทางในการแก้ปัญหาก่อนการปฏิบติจริ ง โดยจะต้องกําหนดการ
                                                         ั
      ปฏิบติงานให้เป็ นลําดับขั)น แล้วจึงนํามาระบุผรับผิดชอบ และ ระยะการปฏิบติ
          ั                                        ู้                       ั




      การดําเนินการแก้ปัญหา
      เป็ นขั)นตอนของการลงมือปฏิบติตามทีเลือกออกแบบไว้ในตารางปฏิบติงาน โดยควรปฏิบติให้
                                 ั                               ั               ั
ตรงกับทีออกแบบไว้ให้มากทีสุ ดและควรบันทึกปั ญหาทีพบในการปฏิบติงานเพือประโยชน์ในการ
                                                            ั
ตรวจสอบและปรับปรุ งภายหลัง
                                 การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียด
                                             ของปัญหา




                              การเลือกเครื องมือและออกแบบขั)นตอน




                                        การดําเนินการแก้ปัญหา
4




การตรวจสอบและปรับปรุง

        ต้องคํานึงถึงสิ งทีต้องการจากการวิเคราะห์ในขั)นตอนแรกว่า ได้ผลตามทีต้องการหรื อไม่
แบ่งเป็ น 2 ขั)นตอน ดังนี)

        1. การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบ ควรทําทั)งก่อนและหลังการดําเนินการ ซึงเป็ น
การตรวจสอบก่อนการใช้งานจริ ง เช่น การตรวจสอบข้อมูลลูกค้า การตรวจสอบระบบบาร์โค้ด

        2. การตรวจสอบโดยผู้ใช้ งานจริง เป็ นการตรวจสอบหลังจากการดําเนินการ โดยเก็บข้อมูลจาก
ผูใช้งาน เช่น การทําแบบสอบถาม แล้วนํามาปรับปรุ งเทคโนโลยีสารสนเทศอีกทีหนึง
  ้



การถ่ ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้ วยอัลกอริทึม

        อัลกอริ ทึม (Algorithm) เกิดจากแนวคิดอย่างเป็ นระบบเพือนําไปสู่ ผลลัพธ์ทีต้องการ โดยทัวไป
                                      ั
นอยมใช้ในการวางแผนสร้างซอฟต์แวร์ทีใช้กบฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เพือให้ฮาร์ดแวร์น) นแก้ปัญหา
                                                                               ั
ตามทีต้องการอย่างถูกต้อง ซึงอัลกอริ ทึมทีดีควรมีลกษณะ ดังนี)
                                                 ั

        1. มีความถูกต้องแม่นยํา

        2. เข้าใจได้ง่ายและชัดเจน

        3. มีข) นตอนหลักและขั)นตอนย่อย
                ั



การเขียนรหัสจําลอง

        การเขียนรหัสจําลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริ ทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที
                                                       ็
สื อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่กสามารถใช้รูปแบบทีเป็ นภาษาพูดด้วย
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ได้
5




          โครงสร้างของรหัสจําลองเริ มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขั)นตอนการทํางานโดยใช้
คําสังต่าง ๆ ทีใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น

          คําสัง read หมายถึง การอ่านค่าหรื อรับค่าข้อมูลตัวแปรตามทีกําหนดไว้

          คําสัง print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ทีได้จากการคํานวณ

          และพิมพ์ขอความ End เมือจบการทํางาน
                   ้

       การเขียนรหัสจําลองจะต้องมีการวางแผนสําหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลทีจะต้องนําไปใช้ภายใน
โปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื องหมายเท่ากับ (= ) แทนการกําหนดค่าตัวแปร

การเขียนผังงาน ( Flowchart )
        ผังงาน คือ แผนภาพทีมีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรทีแสดงถึงขั)นตอนการทํางานของ
โปรแกรมหรื อระบบทีละขั)นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั)งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที
ต้องการ มี 2 ประเภท คือ ผังงานระบบ และผังงานโปรแกรม

ประโยชน์ ของผังงาน
• ช่วยลําดับขั)นตอนการทํางานของโปรแกรม และสามารถนําไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน
• ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมือเกิดข้อผิดพลาด
• ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทําได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
• ช่วยให้ผอืนสามารถศึกษาการทํางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ)น
          ู้


วิธีการเขียนผังงานทีดี
                    #
• ใช้สัญลักษณ์ตามทีกําหนดไว้
• ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรื อจากซ้ายไปขวา
• คําอธิบายในภาพควรสั)นกะทัดรัด และเข้าใจง่าย
• ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก
6




                               ่
• ไม่ควรโยงเส้นเชือมผังงานทีอยูไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชือมต่อแทน
• ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทํางานก่อนนําไปเขียนโปรแกรม



ผังงานระบบ (System Flowchart)

       จะแสดงภาพรวมของระบบ เน้นแสดงเฉพาะสื อทีทําหน้าทีนําข้อมูลเข้าและออก โดยจะไม่
แสดงถึงรายละเอียดวิธีการประมวลผล ซึงจะนําไปแสดงไว้ในส่ วนของผังงานโปรแกรมแทน



ผังงานโปรแกรม ( Program Flowchart )
การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ทีเรี ยกว่า สัญลักษณ์ ANSI (
American National Standards Institute ) ในการสร้างผังงาน ดังตัวอย่างทีแสดงในรู ปต่อไปนี)

                      จุดเริ มต้น / สิ) นสุ ดของโปรแกรม


                      ลูกศรแสดงทิศทางการทํางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล


                                                                            ั
                      ใช้แสดงคําสังในการประมวลผล หรื อการกําหนดค่าข้อมูลให้กบตัวแปร

                      แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสํารองเข้าสู่ หน่วยความจําหลักภายใน
                      เครื องหรื อการแสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมา

                      การตรวจสอบเงือนไขเพือตัดสิ นใจ โดยจะมีเส้นออกจารรู ปเพือแสดงทิศ
                      ทางการทํางานต่อไป เงือนไขเป็ นจริ งหรื อเป็ นเท็จ
7




แสดงผลหรื อรายงานทีถูกสร้างออกมา

แสดงจุดเชือมต่อของผังงานภายใน หรื อเป็ นทีบรรจบของเส้นหลายเส้นทีมาจาก
หลายทิศทางเพือจะไปสู่ การทํางานอย่างใดอย่างหนึงทีเหมือนกัน

การขึ)นหน้าใหม่ ในกรณี ทีผังงานมีความยาวเกินกว่าทีจะแสดงพอในหนึงหน้า
8




                                              คํานํา

          รายงานเรื อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เล่มนี)จดทําขึ)นเพือศึกษาค้นคว้าความรู ้ที
                                                          ั
เกียวกับกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพือทําเป็ นเอกสารประกอบการเรี ยนคอมพิวเตอร์
อีกด้วย โดยในรายงานเล่มนี)ประกอบด้วยเนื)อหาดังนี) ความหมายและขั)นตอนการแก้ปัญหา การถ่ายทอด
ความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริ ทึม และสุ ดท้ายยังมีแผนผังความคิดสรุ ปประเด็นสําคัญไว้ทายเล่ม
                                                                                       ้
รวมทั)งคําถามเพือตรวจสอบความเข้าใจของผูทีได้ศึกษาด้วย
                                       ้

         ทั)งนี)ทางคณะผูจดทําหวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเล่มนี)จะเป็ นประโยชน์ต่อผูทีได้มาศึกษาเป็ น
                        ้ั                                                        ้
อย่างดี และทางคณะผูจดทําขอขอบคุณผูทีมีส่วนช่วยให้รายงานเล่มนี)สาเร็จมา ณ โอกาสนี)ดวย
                   ้ั             ้                            ํ                  ้




                                                                                   `a มิถุนายน baaa

                                                                                        คณะผูจดทํา
                                                                                             ้ั
9




                                              สารบัญ

เรื#อง                                                   หน้ า

         คํานํา

         ความหมายของเทคโนโลยีสารสȨทศ                      1

         การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ      1

         ความหมายและขั)นตอนการแก้ปัญหา                      1

         การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปั ญหา           2

         การเลือกเครื องมือและออกแบบขั)นตอน                 2

         การดําเนิ นการแก้ปัญหา                             3

         การตรวจสอบและปรับปรุ ง                                3

         การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริ ทึม         4

         การเขียนรหัสจําลอง                                     4

         การเขียนผังงาน                                        5-6

         แผนผังความคิด

         คําถาม

         เอกสารอ้ างอิง
10




                                              เอกสารอ้างอิง
https://sites.google.com/site/nanglove1hotmailcom/krabwnkar-thekhnoloyi-sarsnthes 16/6/55 17:04

อํานวย เดชชัยศรี , ณัฐกานต์ ภาคพรต. หนังสื อเรี ยนรายวิชาพืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 5 กรุ งเทพฯ:
โรงพิมพ์วฒนาพานิช, 2551.
         ั
11




                           รายงาน

       เรื อง      กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ



                          จัดทําโดย

       1.นาย ธานรา ชูมนตรี                    เลขที 10

       2.นาย ปกรณ์ สุ ขแสงเดือนฉาย            เลขที 11

       3.น.ส พรรณปพร สว่างดี                  เลขที 29

        4.น.ส ชุติมา สมลา                     เลขที 30

        5.น.ส ปวีณา จรรยาลักษณ์               เลขที 31

       6.น.ส ปวีณา กิตติธงชัยกุล              เลขที 32



                    ชั)นมัธยมศึกษาปี ที 5/2



                            เสนอ

                อาจารย์ ทรงศักดิq โพธิq เอียม



โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี

More Related Content

ความหมายของเทคโนโลยีสารสȨทศ

  • 1. 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสȨทศ หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื องมือทีเกียวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ ขอมูล ้ และสารสนเทศโดยรวมทั)งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื อสาร โทรคมนาคม การแก้ปัญหาด้ วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหาทีซับซ้อนด้วยวิธีการ ต่างๆ ส่ วนมากจําเป็ นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยเพือเพิมความรวดเร็ว ถูกต้อง และสามารถ ทําซํ)าได้ง่ายในกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยแก้ปัญหา จําเป็ นต้องปรับรู ปแบบวิธีการ ทํางานให้เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นวิธีคล้ายกับการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรมมาก แต่ในการนําระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา หรื อเพิมประสิ ทธิภาพในการ ทํางานใดๆ ก็ตาม จะต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาและศึกษาความเป็ นไปได้ให้รอบคอบเสี ยก่อน ทั)งนี) เนืองจากคอมพิวเตอร์ไม่ใช้เครื องมือวิเศษทีจะแก้ปัญหาได้ทุกเรื อง การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เหมาะกับระบบงานทีต้องทํางานอย่างใดอย่างหนึงซึงซากและมีปริ มาณงาน มากหรื องานทีต้องการความรวดเร็วในการคํานวณเกินกว่าคนธรรมดาจะทําได้ วิธีการโดยทัวไปคือ ปรับเปลียนวิธีการหรื อระบบการทํางานแบบเดิม มาใช้ระบบงานทีมีเครื องคอมพิวเตอร์ช่วยทํางานเป็ น บางส่ วน หรื อทั)งหมด เท่าทีสามารถจะทําแทนคนได้. ความหมายและขันตอนการแก้ปัญหา กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ กระบวนการ หรื อขั)นตอนทีใช้ในการแก้ปัญหา เพือ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซึงปัญหาดังกล่าวจะเกียวข้องกับการจัดการข้อมูล โดยมีการ ถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหานั)นด้วยอัลกอริ ทึม ซึงการแก้ปัญหานั)นมี 4 ขั)นตอน ดังนี)
  • 2. 2 การวิเคราะห์ และกําหนดรายละเอียดของปัญหา เป็ นขั)นตอนการทําความเข้าใจกับปัญหา เพือแบ่งแยกให้ชดเจนโดยใช้คาถามต่อไปนี) ั ํ ข้อมูลทีกําหนดมาในปัญหาหรื อเงือนไขของปัญหาคืออะไร เพือระบุขอมูลเข้า ้ สิ งทีต้องการคืออะไรเพือระบุขอมูลออก ้ วิธีการทีใช้ประมวลผลคืออะไรเพือกําหนดวิธีการประมวลผล ตัวอย่ าง การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปัญหาเกียวกับการหาพื)นทีสี เหลียมผืนผ้า ระบุขอมูลเข้า → ้ ความกว้างและความยาวของสี เหลียมผืนผ้า ระบุขอมูลออก → ้ พื)นทีสี เหลียมผืนผ้า กําหนดวิธีการประมวลผล → นําความกว้าง และความยาวของสี เหลียมผืนผ้ามาหาพื)นที โดยการคูณ การเลือกเครื#องมือ และออกแบบขันตอน เป็ นการนําการวิเคราะห์วธีการแก้ปัญหามากําหนดเครื องมือและขั)นตอนในการปฎิบติทีสามารถ ิ ั ทําได้เท่านั)น 1. การเลือกเครื#องมือทีใช้ ในการแก้ปัญหา #
  • 3. 3 เป็ นการกําหนดทรัพยากรทีต้องใช้ในการแก้ปัญหา ซึงควรจะเลือกใช้ทรัพยากรทีมีอยู่ แล้ว หรื อเพิมประสิ ทธิภาพของเครื องมือนั)นๆ มากกว่าการจัดหามาเพิมเติม โดยควรกําหนด รายละเอียดของเครื องมือให้ชดเจน ั 2. การออกแบบขันตอนในการปฏิบัติงาน เป็ นการกําหนดแนวทางในการแก้ปัญหาก่อนการปฏิบติจริ ง โดยจะต้องกําหนดการ ั ปฏิบติงานให้เป็ นลําดับขั)น แล้วจึงนํามาระบุผรับผิดชอบ และ ระยะการปฏิบติ ั ู้ ั การดําเนินการแก้ปัญหา เป็ นขั)นตอนของการลงมือปฏิบติตามทีเลือกออกแบบไว้ในตารางปฏิบติงาน โดยควรปฏิบติให้ ั ั ั ตรงกับทีออกแบบไว้ให้มากทีสุ ดและควรบันทึกปั ญหาทีพบในการปฏิบติงานเพือประโยชน์ในการ ั ตรวจสอบและปรับปรุ งภายหลัง การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียด ของปัญหา การเลือกเครื องมือและออกแบบขั)นตอน การดําเนินการแก้ปัญหา
  • 4. 4 การตรวจสอบและปรับปรุง ต้องคํานึงถึงสิ งทีต้องการจากการวิเคราะห์ในขั)นตอนแรกว่า ได้ผลตามทีต้องการหรื อไม่ แบ่งเป็ น 2 ขั)นตอน ดังนี) 1. การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบ ควรทําทั)งก่อนและหลังการดําเนินการ ซึงเป็ น การตรวจสอบก่อนการใช้งานจริ ง เช่น การตรวจสอบข้อมูลลูกค้า การตรวจสอบระบบบาร์โค้ด 2. การตรวจสอบโดยผู้ใช้ งานจริง เป็ นการตรวจสอบหลังจากการดําเนินการ โดยเก็บข้อมูลจาก ผูใช้งาน เช่น การทําแบบสอบถาม แล้วนํามาปรับปรุ งเทคโนโลยีสารสนเทศอีกทีหนึง ้ การถ่ ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้ วยอัลกอริทึม อัลกอริ ทึม (Algorithm) เกิดจากแนวคิดอย่างเป็ นระบบเพือนําไปสู่ ผลลัพธ์ทีต้องการ โดยทัวไป ั นอยมใช้ในการวางแผนสร้างซอฟต์แวร์ทีใช้กบฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เพือให้ฮาร์ดแวร์น) นแก้ปัญหา ั ตามทีต้องการอย่างถูกต้อง ซึงอัลกอริ ทึมทีดีควรมีลกษณะ ดังนี) ั 1. มีความถูกต้องแม่นยํา 2. เข้าใจได้ง่ายและชัดเจน 3. มีข) นตอนหลักและขั)นตอนย่อย ั การเขียนรหัสจําลอง การเขียนรหัสจําลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริ ทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที ็ สื อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่กสามารถใช้รูปแบบทีเป็ นภาษาพูดด้วย ภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ได้
  • 5. 5 โครงสร้างของรหัสจําลองเริ มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขั)นตอนการทํางานโดยใช้ คําสังต่าง ๆ ทีใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น คําสัง read หมายถึง การอ่านค่าหรื อรับค่าข้อมูลตัวแปรตามทีกําหนดไว้ คําสัง print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ทีได้จากการคํานวณ และพิมพ์ขอความ End เมือจบการทํางาน ้ การเขียนรหัสจําลองจะต้องมีการวางแผนสําหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลทีจะต้องนําไปใช้ภายใน โปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื องหมายเท่ากับ (= ) แทนการกําหนดค่าตัวแปร การเขียนผังงาน ( Flowchart ) ผังงาน คือ แผนภาพทีมีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรทีแสดงถึงขั)นตอนการทํางานของ โปรแกรมหรื อระบบทีละขั)นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั)งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที ต้องการ มี 2 ประเภท คือ ผังงานระบบ และผังงานโปรแกรม ประโยชน์ ของผังงาน • ช่วยลําดับขั)นตอนการทํางานของโปรแกรม และสามารถนําไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน • ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมือเกิดข้อผิดพลาด • ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทําได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว • ช่วยให้ผอืนสามารถศึกษาการทํางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ)น ู้ วิธีการเขียนผังงานทีดี # • ใช้สัญลักษณ์ตามทีกําหนดไว้ • ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรื อจากซ้ายไปขวา • คําอธิบายในภาพควรสั)นกะทัดรัด และเข้าใจง่าย • ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก
  • 6. 6 ่ • ไม่ควรโยงเส้นเชือมผังงานทีอยูไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชือมต่อแทน • ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทํางานก่อนนําไปเขียนโปรแกรม ผังงานระบบ (System Flowchart) จะแสดงภาพรวมของระบบ เน้นแสดงเฉพาะสื อทีทําหน้าทีนําข้อมูลเข้าและออก โดยจะไม่ แสดงถึงรายละเอียดวิธีการประมวลผล ซึงจะนําไปแสดงไว้ในส่ วนของผังงานโปรแกรมแทน ผังงานโปรแกรม ( Program Flowchart ) การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ทีเรี ยกว่า สัญลักษณ์ ANSI ( American National Standards Institute ) ในการสร้างผังงาน ดังตัวอย่างทีแสดงในรู ปต่อไปนี) จุดเริ มต้น / สิ) นสุ ดของโปรแกรม ลูกศรแสดงทิศทางการทํางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล ั ใช้แสดงคําสังในการประมวลผล หรื อการกําหนดค่าข้อมูลให้กบตัวแปร แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสํารองเข้าสู่ หน่วยความจําหลักภายใน เครื องหรื อการแสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมา การตรวจสอบเงือนไขเพือตัดสิ นใจ โดยจะมีเส้นออกจารรู ปเพือแสดงทิศ ทางการทํางานต่อไป เงือนไขเป็ นจริ งหรื อเป็ นเท็จ
  • 7. 7 แสดงผลหรื อรายงานทีถูกสร้างออกมา แสดงจุดเชือมต่อของผังงานภายใน หรื อเป็ นทีบรรจบของเส้นหลายเส้นทีมาจาก หลายทิศทางเพือจะไปสู่ การทํางานอย่างใดอย่างหนึงทีเหมือนกัน การขึ)นหน้าใหม่ ในกรณี ทีผังงานมีความยาวเกินกว่าทีจะแสดงพอในหนึงหน้า
  • 8. 8 คํานํา รายงานเรื อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เล่มนี)จดทําขึ)นเพือศึกษาค้นคว้าความรู ้ที ั เกียวกับกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพือทําเป็ นเอกสารประกอบการเรี ยนคอมพิวเตอร์ อีกด้วย โดยในรายงานเล่มนี)ประกอบด้วยเนื)อหาดังนี) ความหมายและขั)นตอนการแก้ปัญหา การถ่ายทอด ความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริ ทึม และสุ ดท้ายยังมีแผนผังความคิดสรุ ปประเด็นสําคัญไว้ทายเล่ม ้ รวมทั)งคําถามเพือตรวจสอบความเข้าใจของผูทีได้ศึกษาด้วย ้ ทั)งนี)ทางคณะผูจดทําหวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเล่มนี)จะเป็ นประโยชน์ต่อผูทีได้มาศึกษาเป็ น ้ั ้ อย่างดี และทางคณะผูจดทําขอขอบคุณผูทีมีส่วนช่วยให้รายงานเล่มนี)สาเร็จมา ณ โอกาสนี)ดวย ้ั ้ ํ ้ `a มิถุนายน baaa คณะผูจดทํา ้ั
  • 9. 9 สารบัญ เรื#อง หน้ า คํานํา ความหมายของเทคโนโลยีสารสȨทศ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 ความหมายและขั)นตอนการแก้ปัญหา 1 การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปั ญหา 2 การเลือกเครื องมือและออกแบบขั)นตอน 2 การดําเนิ นการแก้ปัญหา 3 การตรวจสอบและปรับปรุ ง 3 การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริ ทึม 4 การเขียนรหัสจําลอง 4 การเขียนผังงาน 5-6 แผนผังความคิด คําถาม เอกสารอ้ างอิง
  • 10. 10 เอกสารอ้างอิง https://sites.google.com/site/nanglove1hotmailcom/krabwnkar-thekhnoloyi-sarsnthes 16/6/55 17:04 อํานวย เดชชัยศรี , ณัฐกานต์ ภาคพรต. หนังสื อเรี ยนรายวิชาพืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 5 กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์วฒนาพานิช, 2551. ั
  • 11. 11 รายงาน เรื อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดทําโดย 1.นาย ธานรา ชูมนตรี เลขที 10 2.นาย ปกรณ์ สุ ขแสงเดือนฉาย เลขที 11 3.น.ส พรรณปพร สว่างดี เลขที 29 4.น.ส ชุติมา สมลา เลขที 30 5.น.ส ปวีณา จรรยาลักษณ์ เลขที 31 6.น.ส ปวีณา กิตติธงชัยกุล เลขที 32 ชั)นมัธยมศึกษาปี ที 5/2 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิq โพธิq เอียม โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี