งาȨำเสนอ
- 1. แอนิเ มชัน
่
ระบบสุร ิย ะจัก รวาล
อาจารย์ท ี่ป รึก ษา
อาจารย์ส ุก ิจ ทองหล่อ
ผู้จ ัด ทำา
นางสาวนิธ ิก านต์ คำา กิต ิ
(หัว หน้า )
นายสุม งคล สมบรูณ ด ี (รอง
์
หัว หน้า )
- 2. หลัก การและเหตุผ ล
ในปัจจุบันนีเทคโนโลยีได้ก้าวหน้าอย่างต่อเนือง
้ ่
ในหลาย ๆ ด้าน ทังทางด้านการทำางาน การใช้ชีวิต
้
ประจำาวัน รวมทังทางด้านการศึกษา การนำา
้
เทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาก็เพือเป็นการกระตุ้นผู้
่
เรียนให้เกิดความสนใจ เด็กในยุคปัจจุบันส่วนมาก มี
ความสนใจเกี่ยวกับการ์ตูนต่าง ๆ และภาพเคลื่อนไหว
เพื่อความสนุกสนาน การ์ตูนเหล่านีมกจะสอดแทรก
้ ั
สาระหรือข้อคิดสอนใจไว้ในเนื้อหา การ์ตูนแอนิเมชั่นก็
เป็นสื่อชนิดหนึ่งทีนยมนำามาจัดทำาเป็นการ์ตูน และ
่ ิ
สาระคดีทมภาพเคลื่อนไหวจำาลองสถานการณ์ต่าง ๆ
ี่ ี
เพือให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น
่
จากเนือหา เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลซึงเป็นส่วน
้ ่
หนึงในรายวิชาพื้นฐาน
่
- 3. และยากต่อการรียนรู้จึงทำาให้บรรยากาศในการเรียนȨน ้
เกิดความน่าเบื่อ เพือให้เกิด
่
การเรียนรู้ทมีประสิทธิภาพจึงนำาเอาเทคโนโลยีการ์ตูนเม
ี่
ชั่นมาประยุกต์เข้ากับตำารา
เรียนเพื่อให้มความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น และง่ายต่อการ
ี
เรียนรู้มากขึ้นกว่าเดิม
ดังนั้น ทางผู้จัดทำาจึงได้จัดทำาสือการเรียนการสอน
่
แบบการ์ตูนแอนิเมชั่น
เกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล เพือทีจะช่วยให้เด็ก ๆ หรือ
่ ่
เยาวชนทีสนใจได้เรียนรู้
่
เกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาล และยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้
เรียนเกิดความสนใจในการ
เรียนรู้มากยิงขึ้น
่
- 4. วัต ถุป ระสงค์
1. เพือให้นกเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจใน
่ ั
เนื้อหา เรื่อง ระบบสุริยะ
จักรวาล
2. เพือเป็นแนวทางในการพัฒนาสื่อการเรียน
่
การสอน
เป้า หมาย
เชิง ปริม าณ
การ์ตูนแอนิเมชั่น เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลจำานวน
1 ชุด
เชิง คุณ ภาพ
1. ช่วยให้นกเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจใน
ั
เนื้อหา เรื่อง ระบบสุริย
- 5. ขอบเขตเนื้อ หา (ทฤษฎีท ี่เ กี่ย วข้อ ง)
1. ความหมายของแอนิเมชั่น
2. ความเป็นมาของแอนิเมชัน ่
3. ลักษณะของแอนิเมชั่น
4. องค์ประกอบของแอนิเมชั่น
5. ประโยชน์ของแอนิเมชั่น
6. ข้อดี - ข้อเสียของแอนิเมชัน
่
7. โปรแกรมที่ใช้สร้าง แอนิเมชั่น
8. ประเภทของแอนิเมชั่น
9. Story board คืออะไร
10. การทำา Story board
11. ความหมายของระบบสุริยะจักรวาล
- 6. ขอบเขตเนือ หา (ทฤษฎีท ี่เ กี่ย วข้อ ง ) (ต่อ)
้
12. ความเป็นมาของระบบสุริยะจักรวาล
13. ความสำาคัญของระบบสุริยะจักรวาล
14. ลักษณะของระบบสุริยะจักรวาล
15. องค์ประกอบของระบบสุริยะจักรวาล
ประโยชน์ท ไ ด้ร ับ
ี่
1. ช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
2. ช่วยเป็นแนวทางในการพัฒนาสือการเรียนการสอน
่
- 7. การจัดทำาโครงการแอนิเมชั่น เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
ผู้จัดทำาโครงการ
จัดทำาเพื่อใช้เป็นสือการเรียนการสอน
่ เพื่อให้นกศึกษา
ั
สามารถเรียนรู้ได้ดวยตนเอง
้
ซึ่งมีวิธีการดำาเนินงานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ขั้นวางแผน และออกแบบ
2. ขั้นดำาเนินการ
3. ขั้นทดลองใช้ และปรับปรุง
- 8. 1. ขั้น วางแผน และออกแบบ
1.1 ขั้น วางแผน
- ศึกษาเอกสาร และทฤษฎีทเกี่ยวข้อง
ี่
แอนิเมชั่น (Animation) หมายถึง "การสร้างภาพ
เคลื่อนไหว" ด้วยการ
นำาภาพนิ่งมาเรียงลำาดับกัน และแสดงผลอย่างต่อเนือง่
ทำาให้ดวงตาเห็นภาพทีมการ
่ ี
เคลื่อนไหวในลักษณะภาพ ติดตา (Persistence of Vision) เมื่อ
ตามนุษย์
มองเห็นภาพทีฉาย อย่างต่อเนือง เรตินาระรักษาภาพนีไว้
่ ่ ้
ในระยะสัน ๆ ประมาณ
้
1/3 วินาที หากมีภาพอื่นแทรกเข้ามาในระยะเวลาดังกล่าว
สมองของมนุษย์จะ
- 9. - ความเป็นมาของแอนิเมชั่น
แอนิเมชั่น ก็มความหมายทีแปลได้โดยตรงคือ
ี ่
ความมีชีวิตชีวา มาจากราก
ศัพท์จากคำาว่า Anima ซึ่งแปลว่าจิตวิญญาณ หรือมีชีวิต
แต่ต่อมา แอนิเมชั่นก็
มีความหมายตามทีเรา ๆ ท่าน ๆ เข้าใจกันในปัจจุบันนี้ ก็
่
คือ การสร้าง
ภาพเคลื่อนไหวได้ หรือ ภาพการ์ตูนทีเคลื่อนไหวได้ ส่วน
่
แอนิเมชั่นในความหมาย
เชิงภาพยนตร์ก็คือ กระบวนการการฉายรูปเฟรมภาพ
ออกมาทีละเฟรม หรือสร้างด้วย
คอมพิวเตอร์กราฟิค หรือ ทำาด้วยการวาดมือ
1.2 การออกแบบ Story Board
ผู้จัดทำาโครงการได้ทำาการศึกษาข้อมูล และจัดทำา
- 11. 2. ขั้น ดำา เนิน การ
2.1 ดำาเนินการสร้างแอนิเมชั่นด้วยโปรแกรม 3Ds
max ตาม Story board ทีได้ทำา
่
การออกแบบไว้
2.2 สร้างตัวละครโดยใช้โปรกรม 3Ds max ตามท่
ได้ออกแบตัวละครไว้
2.3 ทำาการตัดต่อโดยใช้โปรแกรม corel video
studio
2.4 ทำาการอัดเสียงและภาคเสียงโดยใช้โปรแกรม
corel video studio
3.ขั้น ทดลองใช้ และปรับ ปรุง
- ทำาการทดลองใช้งานแอนิเมชั่น เรื่อง ระบบสุริยะ
จักรวาล เพือหาข้อผิดพลาด
่