ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ร่างแผȨฏิบัติการ
                          ด้านการศึกษาอา๶ซียน + 3 ระหว่างปี 2553-2560

      ขอบข่ายแผนปฏิบัติการอา๶ซียน + 3 (2553-2560) 6 ประการ
1. การส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านการศึกษาและการฝึกอบรมแก่เด็กและ
   เยาวชนทุกระดับ การพัฒนาคุณภาพสถาบันการศึกษา
2. การส่งเสริมความร่วมมือ การสร้างเครือข่าย การวิจัยและพัฒนาระหว่าง
   สถาบันและหน่วยงานต่างๆ ด้านการศึกษา
3. ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพิ่มการเชื่อมโยง
   เครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัย โดยใช้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอา๶ซียน
   และส่งเสริมการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างมหาวิทยาลัย

   www.themegallery.com
ร่างแผȨฏิบัติการ
                        ด้านการศึกษาอา๶ซียน + 3 ระหว่างปี 2553 – 2560 (ต่อ)

 4. การสนั บ สนุ น กิ จ กรรมด้ า นการวิ จั ย และการแลกเปลี่ ย นทุ น และ
นักวิชาการในประเทศอา๶ซียน + 3 ที่มีความสนใจในการเสริมสร้าง
ความสัมพันธ์กับประเทศดังกล่าว
 5. การสร้างความพยายามในการเร่งรัดการออกวีซ่าให้แก่นักเรียนและ
นักวิชาการของประเทศสมาชิกอา๶ซียนซึ่งเดินทางไปประเทศดังกล่าว
เพื่อประโยชน์ด้านวิชาการ
  6. การปลูกฝังเอกลักษณ์เอเชียตะวันออกด้วยการส่งเสริมเกี่ยวกับ
การศึกษาอา๶ซียนและการศึกษาเอเชียตะวันออกในภูมิภาค


 www.themegallery.com
การประชุมเจ้าหน้ าที่อาวุโสด้านการศึกษาอา๶ซียนบวกสาม




www.themegallery.com
การประชุมความร่วมมือเอเชียตะวันออกด้านการศึกษา




www.themegallery.com
การประชุมด้านการศึกษาระหว่างอา๶ซียนกับรัฐอ่าวอาหรับ




www.themegallery.com
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอา๶ซียน


ประเทศไทยมีบทบาทสาคัญในการผลักดันให้เกิดความร่วมมือด้าน
 การศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน โดยได้เสนอปฏิญญา
 ชะอา-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อสร้าง
 ประชาคมอา๶ซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปันภายในปี ๒๕๕๘ ต่อผู้นา
 อา๶ซียน เพื่อให้การรับรองในระหว่างการประชุมสุดยอดอา๶ซียน ครั้งที่
 ๑๕ ณ ชะอา-หัวหิน ประเทศไทย




www.themegallery.com
ปฏิญญาชะอา-หัวหินว่าด้วยการ๶สริมสร้างความร่วมมือึϹาน
                                การศึกษาที่เอื้ออาทรที่แบ่งปัน

ที่ประชุมสุดยอดอา๶ซียนครั้งที่ ๑๕ ได้ให้การรับรอง เมื่อวันที่ ๒๔
 ตุลาคม ๒๕๕๒
เป็นการยกระดับเอกสารข้อเสนอด้านการศึกษาของที่ประชุม
 วิชาการระดับภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษา
 เพื่อก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน ระหว่างวันที่ ๒๓-๒๕ กุมภาพันธ์
 ๒๕๕๒ ณ โรงแรมอมารี วอเตอร์เกต และสวนนงนุช พัทยา จังหวัด
 ชลบุรี


www.themegallery.com
บทบาทྺองภาคการศึกษาใน
                       เสาการเมืองและความมันคงของอา๶ซียน
                                           ่

ประกอบด้วย การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้
 เรื่องกฎบัตรอา๶ซียนโดยผ่านหลักสูตรอา๶ซียนในโรงเรียน การ
 เน้ นในหลักการแห่งประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิมนุษยชน
 และค่านิยมในเรื่องแนวทางสันติภาพในหลักสูตรของโรงเรียน
 การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้ในความ
 หลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อในภูมิภาค



www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ


ประกอบด้วย การพัฒนากรอบทักษะภายในประเทศของแต่ละประเทศ
 สมาชิกเพื่อช่วยสนับสนุนการมุ่งไปสู่การจัดทาการยอมรับทักษะใน
 อา๶ซียน การสนับสนุนการถ่ายโอนของนักเรียน นักศึกษาให้มากขึน การ
                                                            ้
 พัฒนามาตรฐานด้านอาชีพบนพืนฐานของความสามารถในภูมิภาค
                               ้
 อา๶ซียนโดยมุ่งการสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถ
 แข่งขันได้ทงในระดับภูมิภาคและระดับโลก และเพื่อสนองตอบต่อความ
            ั้
 ต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดยประสานกับกระบวนการกรอบการ
 ประชุมรัฐมนตรีอา๶ซียนด้านแรงงาน



www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม


การพัฒนาเนื้ อหาสาระร่วมในเรื่องอา๶ซียนสาหรับโรงเรียนเพื่อใช้อ้างอิง
 สาหรับการฝึ กอบรมและการสอนของครูอาจารย์
การเสนอให้มีหลักสูตรปริญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอา๶ซียนใน
 มหาวิทยาลัย
การกาหนดให้ภาษาประจาชาติอา๶ซียนเป็ นภาษาต่างประเทศวิชาเลือก
 ในโรงเรียน
การสนับสนุนโครงการระดับภูมิภาคที่ม่งเน้ นที่การส่งเสริมการตระหนัก
                                     ุ
 รับรู้เกี่ยวกับอา๶ซียนให้แก่เยาวชน


www.themegallery.com
บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม (ต่อ)


การประชุมวิจัยทางด้านการศึกษาอา๶ซียนเพื่อส่งเสริมความ
 ร่วมมือทางการวิจัยและพัฒนาในภูมิภาคให้เป็นเวทีสาหรับ
 นักวิจัยจากประเทศสมาชิก
การสร้างความเข้าใจและการตระหนักรับรู้ในเรื่องสิ่งแวดล้อม
 ในภูมิภาคอา๶ซียนโดยการบูรณาการให้อยู่ในหลักสูตรใน
 โรงเรียน
การเฉลิมฉลอง วันอา๶ซียน (วันที่ ๘ สิงหาคม) ในโรงเรียน


www.themegallery.com
แผȨุทธศาสตร์การศึกษาྺองไทย




                           .




www.themegallery.com
นโยบายของประเทศไทยสู่อา๶ซียน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เน้นการ
  สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอา๶ซียน ด้วยการพัฒนาบุคลากร
  และเสริมสร้างสถาบันการศึกษาให้มีมาตรฐาน
นโยบายนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร สร้างความสามัคคี
  และ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอา๶ซียน เพื่อให้บรรลุ
              เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอา๶ซียนและส่งเสริมความ
              ร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใต้กรอบความ
              ร่วมมือด้านค่างๆ และเตรียมความพร้อมของทุกภาคใน
               การพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘

        ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอา๶ซียน

 ด้วยการเสริมสร้างความตระหนักและค่านิยมร่วมการเป็นประชาชน
 อา๶ซียนในสังคมทุกระดับ รวมทั้งในสาขาการศึกษา
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดทารูปแบบ
 โครงการอา๶ซียนศึกษาในภูมิภาค การจัดการเรียนการสอน เรื่องอา๶ซียน
 ในหลักสูตรโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การจัดทา
 โครงการฝึกอบรมครูและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภายในภูมิภาค
 รวมทั้งการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และการแลกเปลี่ยน
 วัฒนธรรม

www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)

           ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๑ เสริมสร้างโอกาสในการได้รับการศึกษา
                      ในระดับประถมและมัธยมศึกษา
เพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน จากการประชุมโลกว่า
 การศึกษาเพื่อปวงชน เมื่อปี ๒๕๓๓ ซึ่งประเทศสมาชิกอา๶ซียนได้ให้การ
 รับรองการสร้างโอกาสการเรียนรู้และส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษาใน
 ระดับประถมศึกษาทั่วโลกและให้มีการลดอัตราผู้ไม่รู้หนังสือ และต่อมา
 ประชาคมโลกได้กาหนดเป้าหมายเพื่อให้ทั่วโลกบรรลุเป้าหมายการจัด
 การศึกษาเพื่อปวงชนภายในปี ๒๕๕๘



www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)


  ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๒ การเพิ่มคุณภาพการศึกษา การจัดมาตรฐานการศึกษา
                   การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาอาชีพ
 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
 ส่งเสริมการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน
 ส่งเสริมโอกาสให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถ
  ศึกษาอย่างต่อเนื่อง
 การส่งเสริมให้มีการประกันคุณภาพและการเพิ่มคุณค่าแก่กลวิธีใหม่ๆ และ
  นวัตกรรมเพื่อฝึกอบรมครูและผู้นาการศึกษา
 ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีการสื่อสาร
   www.themegallery.com
ข้อเสนอแนะ


การแบ่งปันแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประเมินนักเรียน
การจัดตั้งเครือข่ายย่อยสาหรับเสริมสร้างศักยภาพครู
การสนับสนุนให้มีการจัดทากรอบการประกันคุณภาพครูในภูมิภาค
การส่งเสริมให้มีการพัฒนาอาชีพครูและผู้บริหารโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีในการสร้างแรงจูงใจครู
การส่งเสริมโครงการเทียบโอนหน่วยกิตของครูและการเคลื่อนย้ายครู
การเสริมสร้างศักยภาพเกี่ยวกับการบริหารโรงเรียน



www.themegallery.com
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)

      ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและการจัดการศึกษา
                             ให้มีความเป็นสากล
1. การจัดการศึกษาแก่ผเรียนเป็ นไปเพื่อตอบสนองความต้องการของ
                         ู้
    ตลาดแรงงานและสภาพเศรษฐกิจของยุคโลกาภิวตน์ ซึ่งต้องอาศัย
                                                  ั
    แรงงานที่มีทกษะและความชานาญการสูง และสามารถเคลื่อนย้าย
                 ั
2. การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจาเป็ นต้องได้รบการพัฒนาในด้าน
                                                    ั
    คุณภาพ
3. สังคมเศรษฐกิจความรู้ทาให้ประเทศต่างๆ มีความต้องการแรงงานที่มี
    ทักษะสูง ที่จาเป็ นจะต้องได้รบพัฒนาความเชี่ยวชาญภายใต้การจัด
                                 ั
    โครงการทางการศึกษาเฉพาะด้าน

www.themegallery.com
ข้อเสนอแนะ


การแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรในภูมิภาคและการเชื่อมโยงของประเทศ
 สมาชิกอา๶ซียน เช่น การจัดประชุมวิชาการเกี่ยวกับความเป็นสากลของ
 มหาวิทยาลัย การแบ่งปันทรัพยากรห้องสมุดและฐานข้อมูลระหว่างประเทศ
 สมาชิกอา๶ซียนและการจัดทาศูนย์การเรียนรู้
การส่งเสริมการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยน
 นักเรียน และทุนการศึกษาในทุกระดับ
การจัดทาแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อให้สถาบันการอุดมศึกษามีความเป็นสากล
 โดยมุ่งเน้นที่ยุทธศาสตร์ในภูมิภาค เช่น การแลกเปลี่ยนนักเรียนในภูมิภาค การ
 แลกเปลี่ยนคณาจารย์ และจัดโครงการฝึกอบรมด้าน


   www.themegallery.com
พัոาคุณภาพและมาตรฐาน
                           การศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย




 ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัด
การศึกษาเพื่อเตรียมการก้าวสู่         นโยบายการ
     ประชาคมอา๶ซียน                  ปฏิรูปการศึกษา
                                    ในทศวรรษที่สอง
ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ)


 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรรายสาขาอื่นๆ
                        เพื่อพัฒนาการศึกษา
การดาเนินงานของสาขาอื่นๆ ของอา๶ซียนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ
 ดาเนินงานด้านการศึกษา เช่น การศึกษาด้านสภาพแวดล้อม การจัดการ
 ด้านความเสี่ยงและภัยพิบัติ การจัดการศึกษาเพื่อสิทธิมนุษยชน การ
 จัดการศึกษาเพื่อการป้องกัน HIV/AIDS




www.themegallery.com
การดาเȨȨานึϹานการศึกษา๶พื่อขับเคลื่อน
                         สู่ประชาคมอา๶ซียนของประเทศไทย

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการก้าวสู่การเป็น
 ประชาคมอา๶ซียน
แก้ไขปัญหาพื้นฐานระยะยาวของประเทศ พร้อมทั้งให้ความสาคัญต่อคุณภาพ
 การศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนใน
 วิชา ภาษาไทยภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) เพื่อพัฒนาคนอย่างรอบด้าน
 และสมดุล สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรียนรู้
 และพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาคน



www.themegallery.com
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษสอง

เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ ด้วยการผลักดันนโยบาย
 เรียนฟรี ๑๕ ปี เพื่อสร้างโอกาสการศึกษาให้แก่คนไทยทุกคนให้ได้รับ
 การศึกษาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง โดยเฉพาะ สร้างเด็กให้เป็นคนดี
 คนเก่ง มีความสุข มีความสามารถ สนับสนุนการแข่งขันของประเทศ อยู่
 ร่วมในสังคมโลกได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของความเป็นไทย ส่งเสริม
 การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง




www.themegallery.com
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอา๶ซียนของประเทศไทย



นโยบายที่ ๑ การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับ
 อา๶ซียน เพื่อสร้างความตระหนักและเตรียมความพร้อมของครู
 คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน
 เพื่อก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน ภายในปี ๒๕๕๘




www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม

การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน
 ภายในปี ๒๕๕๘ ของประเทศไทย
จัดโครงการเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านประชาคมอา๶ซียน ให้แก่ บุคลากร
  ข้าราชการและประชาชนทัวไป เช่น โครงการอบรมและประชุมปฏิบติการ
                            ่                                   ั
  หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะข้าราชการเพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคม
  อา๶ซียน
จัดเวทีวิชาการเพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับอา๶ซียน และบูรณาการความ
  ร่วมมือระหว่างหน่ วยงานที่ดาเนินการอา๶ซียนด้านการศึกษาอย่าง
  สมาเสมอเพื่อให้เกิดผลปฏิบติที่เป็ นรูปธรรม
     ่                        ั


www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม

                                              โครงการ/กิจกรรม
จัดโครงการสัมมนาทางวิชาการเพื่อสร้างความร่วมมือทางการศึกษาใน
 ภูมิภาคอา๶ซียน
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับอา๶ซียนในหลักสูตรการศึกษาไทยทุกระดับ
 เพื่อให้ความรู้และสร้างเจตคติที่ดีเยาวชน และประชาชนชาวไทยเพื่อ
 พร้อมก้าวสู่การเป็ นประชาคมอา๶ซียน ภายในปี ๒๕๕๘




www.themegallery.com
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอา๶ซียนของประเทศไทย


นโยบายที่ ๒ การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้
 มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน
 เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะ
 และความชานาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทาง
 อุตสาหกรรมและการเพิ่มโอกาสในการหางานทาของประชาชน รวมทั้ง
 การพิจารณาแผนผลิตกาลังคน




   www.themegallery.com
โครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาของกลุ่ม
 ประเทศสมาชิกอา๶ซียน
โครงการพัฒนาวิชาอา๶ซียนศึกษา รายวิชาเลือกหรือบูรณาการเนื้ อหา
 ดังกล่าวลงในรายวิชาที่เกี่ยวข้องตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
 พ.ศ.๒๕๕๑
จัดกิจกรรม/การแข่งขันทางวิชาการในอา๶ซียน
จัดหลักสูตร การฝึ กอบรม ค่ายเยาวชน ฯลฯ




www.themegallery.com
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอา๶ซียนของประเทศไทย


นโยบายที่ ๓ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริมการหมุนเวียน
 ของนักศึกษาและครูอาจารย์ในอา๶ซียน รวมทังเพื่อให้มีการยอมรับใน
                                           ้
 คุณสมบัติทางวิชาการร่วมกันในอา๶ซียน การส่งเสริมความร่วมมือ
 ระหว่างสถาบันการศึกษาต่างๆ และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนา
 ระบบการศึกษาทางไกล ซึ่งช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต การ
 ส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมทาง
 อาชีพทังในขันต้นและขันต่อเนื่ อง ตลอดจนส่งเสริมและเพิ่มพูนความ
         ้   ้        ้
 ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศสมาชิกของอา๶ซียน



   www.themegallery.com

More Related Content

อา๶ซียน

  • 1. ร่างแผȨฏิบัติการ ด้านการศึกษาอา๶ซียน + 3 ระหว่างปี 2553-2560 ขอบข่ายแผนปฏิบัติการอา๶ซียน + 3 (2553-2560) 6 ประการ 1. การส่งเสริมให้มีการลงทุนด้านการศึกษาและการฝึกอบรมแก่เด็กและ เยาวชนทุกระดับ การพัฒนาคุณภาพสถาบันการศึกษา 2. การส่งเสริมความร่วมมือ การสร้างเครือข่าย การวิจัยและพัฒนาระหว่าง สถาบันและหน่วยงานต่างๆ ด้านการศึกษา 3. ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพิ่มการเชื่อมโยง เครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัย โดยใช้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอา๶ซียน และส่งเสริมการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างมหาวิทยาลัย www.themegallery.com
  • 2. ร่างแผȨฏิบัติการ ด้านการศึกษาอา๶ซียน + 3 ระหว่างปี 2553 – 2560 (ต่อ) 4. การสนั บ สนุ น กิ จ กรรมด้ า นการวิ จั ย และการแลกเปลี่ ย นทุ น และ นักวิชาการในประเทศอา๶ซียน + 3 ที่มีความสนใจในการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับประเทศดังกล่าว 5. การสร้างความพยายามในการเร่งรัดการออกวีซ่าให้แก่นักเรียนและ นักวิชาการของประเทศสมาชิกอา๶ซียนซึ่งเดินทางไปประเทศดังกล่าว เพื่อประโยชน์ด้านวิชาการ 6. การปลูกฝังเอกลักษณ์เอเชียตะวันออกด้วยการส่งเสริมเกี่ยวกับ การศึกษาอา๶ซียนและการศึกษาเอเชียตะวันออกในภูมิภาค www.themegallery.com
  • 6. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอา๶ซียน ประเทศไทยมีบทบาทสาคัญในการผลักดันให้เกิดความร่วมมือด้าน การศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน โดยได้เสนอปฏิญญา ชะอา-หัวหินว่าด้วยการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาเพื่อสร้าง ประชาคมอา๶ซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปันภายในปี ๒๕๕๘ ต่อผู้นา อา๶ซียน เพื่อให้การรับรองในระหว่างการประชุมสุดยอดอา๶ซียน ครั้งที่ ๑๕ ณ ชะอา-หัวหิน ประเทศไทย www.themegallery.com
  • 7. ปฏิญญาชะอา-หัวหินว่าด้วยการ๶สริมสร้างความร่วมมือึϹาน การศึกษาที่เอื้ออาทรที่แบ่งปัน ที่ประชุมสุดยอดอา๶ซียนครั้งที่ ๑๕ ได้ให้การรับรอง เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๒ เป็นการยกระดับเอกสารข้อเสนอด้านการศึกษาของที่ประชุม วิชาการระดับภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษา เพื่อก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน ระหว่างวันที่ ๒๓-๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ ณ โรงแรมอมารี วอเตอร์เกต และสวนนงนุช พัทยา จังหวัด ชลบุรี www.themegallery.com
  • 8. บทบาทྺองภาคการศึกษาใน เสาการเมืองและความมันคงของอา๶ซียน ่ ประกอบด้วย การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้ เรื่องกฎบัตรอา๶ซียนโดยผ่านหลักสูตรอา๶ซียนในโรงเรียน การ เน้ นในหลักการแห่งประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิมนุษยชน และค่านิยมในเรื่องแนวทางสันติภาพในหลักสูตรของโรงเรียน การสนับสนุนความเข้าใจและความตระหนักรับรู้ในความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อในภูมิภาค www.themegallery.com
  • 9. บทบาทการศึกษาในเสาเศรษฐกิจ ประกอบด้วย การพัฒนากรอบทักษะภายในประเทศของแต่ละประเทศ สมาชิกเพื่อช่วยสนับสนุนการมุ่งไปสู่การจัดทาการยอมรับทักษะใน อา๶ซียน การสนับสนุนการถ่ายโอนของนักเรียน นักศึกษาให้มากขึน การ ้ พัฒนามาตรฐานด้านอาชีพบนพืนฐานของความสามารถในภูมิภาค ้ อา๶ซียนโดยมุ่งการสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถ แข่งขันได้ทงในระดับภูมิภาคและระดับโลก และเพื่อสนองตอบต่อความ ั้ ต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดยประสานกับกระบวนการกรอบการ ประชุมรัฐมนตรีอา๶ซียนด้านแรงงาน www.themegallery.com
  • 10. บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม การพัฒนาเนื้ อหาสาระร่วมในเรื่องอา๶ซียนสาหรับโรงเรียนเพื่อใช้อ้างอิง สาหรับการฝึ กอบรมและการสอนของครูอาจารย์ การเสนอให้มีหลักสูตรปริญญาด้านศิลปวัฒนธรรมอา๶ซียนใน มหาวิทยาลัย การกาหนดให้ภาษาประจาชาติอา๶ซียนเป็ นภาษาต่างประเทศวิชาเลือก ในโรงเรียน การสนับสนุนโครงการระดับภูมิภาคที่ม่งเน้ นที่การส่งเสริมการตระหนัก ุ รับรู้เกี่ยวกับอา๶ซียนให้แก่เยาวชน www.themegallery.com
  • 11. บทบาทการศึกษาในเสาสังคมและวัฒนธรรม (ต่อ) การประชุมวิจัยทางด้านการศึกษาอา๶ซียนเพื่อส่งเสริมความ ร่วมมือทางการวิจัยและพัฒนาในภูมิภาคให้เป็นเวทีสาหรับ นักวิจัยจากประเทศสมาชิก การสร้างความเข้าใจและการตระหนักรับรู้ในเรื่องสิ่งแวดล้อม ในภูมิภาคอา๶ซียนโดยการบูรณาการให้อยู่ในหลักสูตรใน โรงเรียน การเฉลิมฉลอง วันอา๶ซียน (วันที่ ๘ สิงหาคม) ในโรงเรียน www.themegallery.com
  • 13. นโยบายของประเทศไทยสู่อา๶ซียน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เน้นการ สร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอา๶ซียน ด้วยการพัฒนาบุคลากร และเสริมสร้างสถาบันการศึกษาให้มีมาตรฐาน นโยบายนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร สร้างความสามัคคี และ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอา๶ซียน เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอา๶ซียนและส่งเสริมความ ร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ ในเอเชียภายใต้กรอบความ ร่วมมือด้านค่างๆ และเตรียมความพร้อมของทุกภาคใน การพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
  • 14. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างความตระหนักเกี่ยวกับอา๶ซียน ด้วยการเสริมสร้างความตระหนักและค่านิยมร่วมการเป็นประชาชน อา๶ซียนในสังคมทุกระดับ รวมทั้งในสาขาการศึกษา ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดทารูปแบบ โครงการอา๶ซียนศึกษาในภูมิภาค การจัดการเรียนการสอน เรื่องอา๶ซียน ในหลักสูตรโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การจัดทา โครงการฝึกอบรมครูและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภายในภูมิภาค รวมทั้งการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และการแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม www.themegallery.com
  • 15. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๑ เสริมสร้างโอกาสในการได้รับการศึกษา ในระดับประถมและมัธยมศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน จากการประชุมโลกว่า การศึกษาเพื่อปวงชน เมื่อปี ๒๕๓๓ ซึ่งประเทศสมาชิกอา๶ซียนได้ให้การ รับรองการสร้างโอกาสการเรียนรู้และส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษาใน ระดับประถมศึกษาทั่วโลกและให้มีการลดอัตราผู้ไม่รู้หนังสือ และต่อมา ประชาคมโลกได้กาหนดเป้าหมายเพื่อให้ทั่วโลกบรรลุเป้าหมายการจัด การศึกษาเพื่อปวงชนภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 16. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๒.๒ การเพิ่มคุณภาพการศึกษา การจัดมาตรฐานการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาอาชีพ  การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา  ส่งเสริมการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน  ส่งเสริมโอกาสให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง  การส่งเสริมให้มีการประกันคุณภาพและการเพิ่มคุณค่าแก่กลวิธีใหม่ๆ และ นวัตกรรมเพื่อฝึกอบรมครูและผู้นาการศึกษา  ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีการสื่อสาร www.themegallery.com
  • 17. ข้อเสนอแนะ การแบ่งปันแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประเมินนักเรียน การจัดตั้งเครือข่ายย่อยสาหรับเสริมสร้างศักยภาพครู การสนับสนุนให้มีการจัดทากรอบการประกันคุณภาพครูในภูมิภาค การส่งเสริมให้มีการพัฒนาอาชีพครูและผู้บริหารโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีในการสร้างแรงจูงใจครู การส่งเสริมโครงการเทียบโอนหน่วยกิตของครูและการเคลื่อนย้ายครู การเสริมสร้างศักยภาพเกี่ยวกับการบริหารโรงเรียน www.themegallery.com
  • 18. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและการจัดการศึกษา ให้มีความเป็นสากล 1. การจัดการศึกษาแก่ผเรียนเป็ นไปเพื่อตอบสนองความต้องการของ ู้ ตลาดแรงงานและสภาพเศรษฐกิจของยุคโลกาภิวตน์ ซึ่งต้องอาศัย ั แรงงานที่มีทกษะและความชานาญการสูง และสามารถเคลื่อนย้าย ั 2. การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจาเป็ นต้องได้รบการพัฒนาในด้าน ั คุณภาพ 3. สังคมเศรษฐกิจความรู้ทาให้ประเทศต่างๆ มีความต้องการแรงงานที่มี ทักษะสูง ที่จาเป็ นจะต้องได้รบพัฒนาความเชี่ยวชาญภายใต้การจัด ั โครงการทางการศึกษาเฉพาะด้าน www.themegallery.com
  • 19. ข้อเสนอแนะ การแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรในภูมิภาคและการเชื่อมโยงของประเทศ สมาชิกอา๶ซียน เช่น การจัดประชุมวิชาการเกี่ยวกับความเป็นสากลของ มหาวิทยาลัย การแบ่งปันทรัพยากรห้องสมุดและฐานข้อมูลระหว่างประเทศ สมาชิกอา๶ซียนและการจัดทาศูนย์การเรียนรู้ การส่งเสริมการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยน นักเรียน และทุนการศึกษาในทุกระดับ การจัดทาแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อให้สถาบันการอุดมศึกษามีความเป็นสากล โดยมุ่งเน้นที่ยุทธศาสตร์ในภูมิภาค เช่น การแลกเปลี่ยนนักเรียนในภูมิภาค การ แลกเปลี่ยนคณาจารย์ และจัดโครงการฝึกอบรมด้าน www.themegallery.com
  • 20. พัոาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัด การศึกษาเพื่อเตรียมการก้าวสู่ นโยบายการ ประชาคมอา๶ซียน ปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง
  • 21. ยุทธศาสตร์ ๕ ปี ด้านการศึกษาของอา๶ซียน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรรายสาขาอื่นๆ เพื่อพัฒนาการศึกษา การดาเนินงานของสาขาอื่นๆ ของอา๶ซียนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ ดาเนินงานด้านการศึกษา เช่น การศึกษาด้านสภาพแวดล้อม การจัดการ ด้านความเสี่ยงและภัยพิบัติ การจัดการศึกษาเพื่อสิทธิมนุษยชน การ จัดการศึกษาเพื่อการป้องกัน HIV/AIDS www.themegallery.com
  • 22. การดาเȨȨานึϹานการศึกษา๶พื่อขับเคลื่อน สู่ประชาคมอา๶ซียนของประเทศไทย การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศไทย เพื่อรองรับการก้าวสู่การเป็น ประชาคมอา๶ซียน แก้ไขปัญหาพื้นฐานระยะยาวของประเทศ พร้อมทั้งให้ความสาคัญต่อคุณภาพ การศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนใน วิชา ภาษาไทยภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) เพื่อพัฒนาคนอย่างรอบด้าน และสมดุล สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรียนรู้ และพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาคน www.themegallery.com
  • 23. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษสอง เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ ด้วยการผลักดันนโยบาย เรียนฟรี ๑๕ ปี เพื่อสร้างโอกาสการศึกษาให้แก่คนไทยทุกคนให้ได้รับ การศึกษาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง โดยเฉพาะ สร้างเด็กให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข มีความสามารถ สนับสนุนการแข่งขันของประเทศ อยู่ ร่วมในสังคมโลกได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของความเป็นไทย ส่งเสริม การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง www.themegallery.com
  • 24. การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอา๶ซียนของประเทศไทย นโยบายที่ ๑ การเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเจตคติที่ดีเกี่ยวกับ อา๶ซียน เพื่อสร้างความตระหนักและเตรียมความพร้อมของครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน เพื่อก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน ภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 25. โครงการ/กิจกรรม การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน ภายในปี ๒๕๕๘ ของประเทศไทย จัดโครงการเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านประชาคมอา๶ซียน ให้แก่ บุคลากร ข้าราชการและประชาชนทัวไป เช่น โครงการอบรมและประชุมปฏิบติการ ่ ั หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะข้าราชการเพื่อเตรียมการก้าวสู่ประชาคม อา๶ซียน จัดเวทีวิชาการเพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับอา๶ซียน และบูรณาการความ ร่วมมือระหว่างหน่ วยงานที่ดาเนินการอา๶ซียนด้านการศึกษาอย่าง สมาเสมอเพื่อให้เกิดผลปฏิบติที่เป็ นรูปธรรม ่ ั www.themegallery.com
  • 26. โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม จัดโครงการสัมมนาทางวิชาการเพื่อสร้างความร่วมมือทางการศึกษาใน ภูมิภาคอา๶ซียน สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับอา๶ซียนในหลักสูตรการศึกษาไทยทุกระดับ เพื่อให้ความรู้และสร้างเจตคติที่ดีเยาวชน และประชาชนชาวไทยเพื่อ พร้อมก้าวสู่การเป็ นประชาคมอา๶ซียน ภายในปี ๒๕๕๘ www.themegallery.com
  • 27. การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอา๶ซียนของประเทศไทย นโยบายที่ ๒ การพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนให้ มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอา๶ซียน เช่น ความรู้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะ และความชานาญการที่สอดคล้องกับการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงทาง อุตสาหกรรมและการเพิ่มโอกาสในการหางานทาของประชาชน รวมทั้ง การพิจารณาแผนผลิตกาลังคน www.themegallery.com
  • 28. โครงการ/กิจกรรม โครงการพัฒนาบุคลากรด้านภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาของกลุ่ม ประเทศสมาชิกอา๶ซียน โครงการพัฒนาวิชาอา๶ซียนศึกษา รายวิชาเลือกหรือบูรณาการเนื้ อหา ดังกล่าวลงในรายวิชาที่เกี่ยวข้องตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ พ.ศ.๒๕๕๑ จัดกิจกรรม/การแข่งขันทางวิชาการในอา๶ซียน จัดหลักสูตร การฝึ กอบรม ค่ายเยาวชน ฯลฯ www.themegallery.com
  • 29. การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาในกรอบอา๶ซียนของประเทศไทย นโยบายที่ ๓ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่งเสริมการหมุนเวียน ของนักศึกษาและครูอาจารย์ในอา๶ซียน รวมทังเพื่อให้มีการยอมรับใน ้ คุณสมบัติทางวิชาการร่วมกันในอา๶ซียน การส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างสถาบันการศึกษาต่างๆ และการแลกเปลี่ยนเยาวชน การพัฒนา ระบบการศึกษาทางไกล ซึ่งช่วยสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต การ ส่งเสริมและปรับปรุงการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมทาง อาชีพทังในขันต้นและขันต่อเนื่ อง ตลอดจนส่งเสริมและเพิ่มพูนความ ้ ้ ้ ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของประเทศสมาชิกของอา๶ซียน www.themegallery.com