ݺߣ
Submit Search
โครงงาȨมบูรณ์
•
1 like
•
5,657 views
Kantisa Motalee
1 of 5
Download now
Downloaded 49 times
More Related Content
โครงงาȨมบูรณ์
1.
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน การใช้โปรแกรม GSP ออกแบบลายไทย (GSP program design Thai pattern) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวกันติศา โมตาลี เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 4 2. นางสาวพิไลพร บัวใหล เลขที่ 36 ชั้น ม.6 ห้อง 4 3. นายธงไชย แซ่เฮ้ง เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2.
2
ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวกันติศา โมตาลี เลขที่ 32 ชั้น ม.6/4 2. นางสาวพิไลพร บัวใหล เลขที่ 36 ชั้น ม.6/4 3. นายธงไชย แซ่เฮ้ง เลขที่ 40 ชั้น ม.6/4 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การใช้โปรแกรม GSP ออกแบบลายไทย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) GSP program design Thai pattern ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกันติศา โมตาลี เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 4 นางสาวพิไลพร บัวใหล เลขที่ 36 ชั้น ม.6 ห้อง 4 นายธงไชย แซ่เฮ้ง เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) โปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ใน หลายๆด้าน กลุ่มผู้จัดทาเห็นว่าในคุณสมบัติในการเขียนกราฟทางคณิตศาสตร์นั้นมีความสะดวก ประหยัดเวลา ในการเขียนกราฟ จึงนาคุณสมบัติในข้อนี้มาบูรณาการควบคู่ไปกับลายไทย ซึ่งเป็นภูมิปัญญาไทยอันเป็น เอกลักษณ์สาคัญอย่างหนึ่งของชาติ ไทย เพราะความรู้ในการวาดลายไทยนั้น เป็นความรู้ที่อยู่ในตัวของแต่ละ บุคคลซึ่งต้องอาศัยความชานาญในการวาด และความสามารถทางจิตรกรรม จากการสังเกตของกลุ่มผู้จัดทา พบว่าการเขียนกราฟด้วยโปรแกรม GSP นั้นให้เส้นลายที่อ่อนช้อย มีความชัดเจนในเส้นลาย สามารถตกแต่ง ให้เส้นลายนั้นสวยงามได้และประกอบกับในสมัยก่อนการออกแบบลายไทย ต้องใช้การออกแบบโดยการวาด ซึ่งอาจทาให้เกิดความผิดพลาดได้ เช่น เส้นบิดเบี้ยวบ้าง ขนาดไม่เท่ากันบ้าง ลายไทยลายเดียวกันแต่มีลักษณะ แตกต่างกัน ยิ่งคนวาดหลายคน ลายไทยก็จะเริ่มแตกต่างกันไปทุกที กลุ่มผู้จัดทาจึงใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) มาช่วยสร้างและวาดลายไทยแบบต่างๆโดยเป็นการบูรณาการภูมิปัญญาไทย กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ และวิชาคณิตศาสตร์ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) สร้างลายไทยจากกราฟของสมการทาง คณิตศาสตร์
3.
3
2. เพื่อออกแบบลายไทยในการปักผ้าครอสติส 3. เพื่ออนุรักษ์ศิลปกรรมไทยอันเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติไทย ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) ออกแบบลายไทย 2. ทาการออกแบบลายไทยเฉพาะลายไทยตามที่กาหนดจานวน 10 ลาย ดังนี้ ลายกระจังฟันปลา ลายตาอ้อย ลายประจายาม ลายประจายามกลีบซ้อน ลายดอกบัวตูม ลายดอกบัวบาน ลายดอกลาดวน ลาย ดอกบัวแปดกลีบ ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ และลายพุ่มข้าวบิณฑ์ใบเทศ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. ศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรม GSP และลายไทยโดยเลือกลายไทยที่จะนามาใช้ออกแบบ 2. นาลายไทยที่ออกแบบโดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) มาเปรียบ เทียบกับลายไทยจากหนังสือสมุดตาราลายไทย เขียนโดยพระเทวาภินิมมิต และหนังสือลายไทยภาคปฏิบัติ เขียนโดยวรรณะ เกิดสนอง ศัพท์เทคนิค 1. โปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) หมายถึง โปรแกรมที่ใช้สร้างลายไทยขึ้นมาโดย ใช้สมการทางคณิตศาสตร์ 2. ลายไทย หมายถึง ลายที่เกิดจากกราฟของสมการทางคณิตศาสตร์ซึ่งกลุ่มข้าพเจ้าได้เลือกมา 10 ลาย ดังนี้ คือ ลายกระจังฟันปลา ลายตาอ้อย ลายประจายาม ลายประจายามกลีบซ้อน ลายดอกบัวตูม ลาย ดอกบัวบาน ลายดอกลาดวน ลายดอกบัวแปดกลีบ ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ และลายพุ่มข้าวบิณฑ์ใบเทศ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาโปรแกรม GSP และลายไทยที่มีในปัจจุบัน โดยได้เลือกสรรมาทั้งหมด 10 ลายตามที่ระบุไว้ ข้างต้น 2. สืบค้นและหาข้อมูลลายเส้นของลายไทยทั้ง 10 ลาย ว่าสามารถหาได้จากกราฟของสมการทาง คณิตศาสตร์อะไรได้บ้าง 3. นาลายไทยไปสร้างสมการทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) 4. ลบส่วนของเส้นกราฟสมการคณิตศาสตร์ที่ไม่ใช่ส่วนประกอบของเส้นลายไทย 5. รวบรวมลายไทยที่เสร็จสมบูรณ์มาจับคู่กับสมการทางคณิตศาสตร์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของ องค์ประกอบเส้นลายไทย 6. นาลายไทยไปปักผ้าครอสติสตามที่ออกแบบจากโปรแกรม GSP 7. นามาสรุปและจัดทารูปเล่มโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ 2. โปรแกรมThe Geometer's Sketchpad (GSP)
4.
4
3. โปรแกรม Paint 4. โปรแกรม Adobe Photoshop 5. เครื่องสแกนเนอร์ 6. เครื่องพิมพ์ 7. กระดาษ 8. ดินสอ 9. ยางลบ งบประมาณ ไม่ทราบจานวนงบประมาณที่แน่นอน ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทา เอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ได้เรียนรู้การทางานร่วมกันเป็นทีม ความรับผิดชอบและการแบ่งบทบาทหน้าที่รวมทั้งการคิดอย่างมี ขั้นตอน 2.ใช้ประโยชน์จากความสามารถของโปรมแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) 3.ได้ฝึกความอดทน เพราะในการปักลายไทยบนผ้าครอสติส ต้องใช้สมาธิและระยะเวลานานกว่าจะ สาเร็จ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
5.
5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ดนัย ยังคง. “การสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนโดยใช้ The Geometer’s Sketchpad สร้างสื่อ ” นิตยสาร สสวท , ฉบับที่ 157 (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2551) 18-20 ไพศาล นาคมหาชลาสินธุ์. “การใช้ The Geometer’s Sketchpad ในมหาวิทยาลัย ” นิตยสาร สสวท , ฉบับ ที่ 157 (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2551) 7-8 พระเทวาภินิมมิต. (2540). สมุดตาราลายไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร http://www.krudung.com/webst/2552/501/12/11.html (วันที่ค้นข้อมูล : 19 กันยายน 2555). http://www.nicecrosstitch.com/CrossBasic.html (วันที่ค้นข้อมูล : 19 กันยายน 2555).
Download