ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สารชีวโม๶ลกุล (Biomolecule)
    KruAoijai Wichaisiri PCCCR
ชีวเคมี (BIOCHEMISTRY)
ชีวเคมี คือการศึกษาสิงมีชีวิตในทางเคมี โดยในร่ างกายของ
                        ่
สิงมีชีวิตมีสารเคมีที่รวมเรี ยกว่าชีวโมเลกุล (biomolecules) ซึง
  ่                                                           ่
สามารถแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทหลัก คือ
(1) peptides and proteins
(2) nucleic acids
(3) carbohydrates
(4) lipids
บทบาทྺองชีวโมเลกล
                  ุ
ชีวโมเลกุลมีบทบาทที่สาคัญในร่ างกายดังต่ อไปนี ้
                             ํ
เป็ นส่ วนประกอบโครงสร้ าง เช่น ผม เล็บ ผิวหนัง กล้ ามเนื ้อ
กระดูก เนื ้อเยื่อ ผนังเซลล์
เร่ งปฏิกริยา ได้ แก่ เอ็นไซม์
             ิ
ควบคุม ได้ แก่ ฮอร์ โมน
ให้ พลังงาน
ขนส่ งสารเคมี เช่น ขนส่งออกซิเจน กรดแอมิโน ไอออน นํ ้าตาล
สารสื่อประสาท
ปองกัน เช่น แอนติบอดี ้
 ้
รั บรู้ ได้ แก่ รี เซปเตอร์
หน่ วยเรียนที่ 1 บทนํา
ความสําคัญของวิชาชีวเคมี
1. ด้านการแพทย์
            สรีรวิทยา, ระบบต่างๆ
            เทคนิคการเพิ่มจํานวน DNA ในหลอดทดลอง (PCR)
            หลักฐานทางนิติเวช
            ตรวจเลือด และปัสสาวะ ใช้ในการวินิจฉัยโรค
2. ด้านการเกษตร
         ⌧ การสังเคราะห์แสง การตรึงไนโตรเจน
         ⌧วิ เคราะห์องค์ประกอบ และคุณค่าอาหารสัตว์
3. ด้านอุตสาหกรรม
           เทคนิคพันธุวิศวกรรม เช่น การผลิตฮอร์โมนอินซูลิน
           เอนไซม์อะไมเลส ในอุตสาหกรรมกระดาษ
           ผลิตเอทานอลจากแป้ ง การหมักสุรา
PRINCESS CHULABHORN’S COLLEGE CHAIGRAI

        Regional science school

5
               PROTEIN
                          Aoijai Wichaisiri
Protein
    เป็ น polypeptide ของ amino acid ที่ต่อกัน
เป็ นลําดับเฉพาะตัวสําหรั บโปรตีนแต่ ละชนิด
  โปรตีนสามารถทํางานได้ ต้ องมีรูปร่ าง
(conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว
  มนุษย์ มีโปรตีนมากกว่ า 10,000 ชนิด แต่ ละชนิดมี
โครงสร้ างและหน้ าที่แตกต่ างกัน
ประเภทของโปรตีน
   โปรตีนก้ อนกลม           โปรตีนเส้ นใย
เกิดจากสายพอลิเพป       เกิดจากสายพอลิเพป
ไทด์รวมตัวม้วนพับพัน    ไทด์พนกันใน
                              ั
กันและอัดแน่นเป็ น      ลักษณะเหมือนเส้นใย
ก้อนกลม                 ยาวๆ
ละลายนํ้าได้ดี          ละลายนํ้าได้นอย ้
ทําหน้าที่เกี่ยวกับ     ทําหน้าที่เป็ นโปรตีน
                    ิ
่
ตัวอยางโปรตีนเส้นใย



Keratin       Silk
่        ้
ตัวอยางโปรตีนกอนกลม


            Casein




Albumin
            Enzyme
ประเภทของโปรตีน
ประเภทของโปรตีน                   หน้ าที่           ตัวอย่ าง
โปรตีนเร่ งปฏิกิริยา     เร่ งปฏิกิริยาในเซลล์       เอ็นไซม์
                                 สิ่ งมีชีวต
                                           ิ
   โปรตีนขนส่ ง        ขนส่ งสารไปสู่ส่วนต่างๆ      ฮีโมโกลบิน
                                ของร่ างกาย
โปรตีนโครงสร้าง        ให้ความแข็งแรงและช่วย        คอลลาเจน
                       คงรู ปร่ างโครงสร้างต่าง ๆ    เคราติน
                                ของร่ างการ
   โปรตีนสะสม               สะสมธาตุต่าง ๆ           เฟอริ ทิน
ประเภทของโปรตีน
 ประเภทของ              หน้ าที่             ตัวอย่ าง
   โปรตีน
โปรตีนป้ องกัน  ป้ องกันและกําจัดสิ่ ง      แอนติบอดี
               แปลกปลอมที่เข้ามาใน
                         เซลล์
โปรตีนฮอร์โมน แตกต่างกันตามชนิดของ
                    ฮอร์โมนนั้นๆ
              •ควบคุมการเจริ ญเติบโต     Growth hormone
               •ควบคุมการเผาผลาญ
                                             Insulin
                    คาร์โบไฮเดรต
Amino acid เป็ นสารอินทรีย์ท่ มีหมู่ carboxyl และหมู่
                                         ี
amino ต่ อกับอะตอมคาร์ บอนที่เป็ นศูนย์ กลาง อะตอมที่เป็ นศูนย์ กลางยังต่ อ
กับอะตอม hydrogen และหมู่ R group 1 หมู่ท่ แตกต่ างกัน
                                                  ี


                      H             H            O
                           N        C       C
                      H                          OH
                                    R

              Amino                   Carboxyl
              group                   group
Amino acid กลุ่ม Nonpolar
Amino acid แบ่ งออกเป็ นกลุ่มตามคุณสมบัติ
ของ R group
  R group ที่แตกต่ างกันนี ้ ทําให้ เกิด amino
acid แตกต่ างกัน 20 ชนิด แต่ ละชนิดมีคุณสมบัตทาง
                                             ิ
เคมีและชีววิทยาแตกต่ างกัน
กลุ่ม Polar
กลุ่ม Electrically charged
Making a polypeptide
             chain




    Amino acid ต่ อกันเป็ นสายยาวด้ วย
covalent bond เรี ยกว่ า peptide bond
ปลายที่มีหมู่ amino เรี ยกว่ า N-terminus
ปลายที่มีหมู่ carboxyl เรี ยกว่ า C-terminus
สาย polypeptide ประกอบด้ วย amino
acid          ทัง 20 ชนิ ด เรี ยงต่ อกันเป็ นอิสระ สาย
                ้
polypeptide จึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่ เหมือนกันนับ
หมื่นชนิดได้
โปรตีนสามารถทํางานได้ ต้องมีรูปร่ าง
(conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว
  โปรตีนที่ทางานได้ ประกอบด้ วย polypeptide 1
            ํ
สายหรื อมากกว่ า ซึ่งม้ วนพับไปมาตามแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง
side chain ของ amino acid
 รู ปร่ างของโปรตีนจึงขึนอยู่กับลําดับของ amino
                        ้
acid ที่เรี ยงกันอยู่
แรงยึดเหยียวระหว่ างโมเลกุลของโปรตีน
          ่
 H-bond
 Disulfide bond
 Van der waals force
H-BOND : α - HELIX
H-BOND : PLEATED SHEET STRUCTURE




ที่มา : http://web.mit.edu/esgbio/www/lm/proteins/structure/structure.html
H-bond :   Pleated sheet structure
พันธะไดซัลไฟด์ (DISULFIDE   BOND)
A protein’s function depends on its
specific conformation




  Ribbon model       Space filling model
โครงสร้ างของโปรตีนถูกแบ่ งออกเป็ น
      Primary structure
      Secondary structure
      Tertiary structure
       Quaternary structure สําหรั บโปรตีน
ที่ประกอบด้ วย polypeptide มากกว่ า 1 สาย
The primary
structure of a
protein
    Primary structure คือ
 ลําดับของ amino acid ที่
 ประกอบขึนเป็ นโปรตีน
           ้
    Primary structure ถูก
 กําหนดโดยข้ อมูลทางพันธุกรรม
 (DNA)
การเปลี่ยนแปลงลําดับ amino acid ใน
โปรตีนอาจมีผลให้ รูปร่ างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมี
ผลต่ อการทํางานของโปรตีนชนิดนันๆ้
ตัวอย่ างเช่ น โรค sickle-cell anemia
A single amino acid substitution in
a protein causes sickle-cell disease
The secondary structure of a
         protein
            Secondary structure เป็ น
              โครงสร้ างที่เกิดขึนจาก H-bond
                                 ้
              ระหว่ างหมู่ carboxylและหมู่
              amino
                                   Secondary
                              structure ที่พบบ่ อย
                              ในธรรมชาติได้ แก่
                              αHelix และ β
                              Pleated sheet
ตัวอย่ างเช่ น เส้ นใยแมงมุม มีโครงสร้ างแบบ β
Pleated sheet ทําให้ เส้ นใยแมงมุมมีความแข็งแรง
มาก
          Spider silk: a structural
                        protein
Tertiary structure of a protein
Tertiary structure เป็ นรู ปร่ างของ polypeptide สาย
หนึ่งตลอดสาย ซึ่งการม้ วนพบไปมาขึนอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง R
                                 ้
group ด้ วยกันเอง หรื อ R group กับโครงสร้ างหลัก
  แรงยึดเหนี่ยวหมายถึง
       H-bond
       ionic bond
       Hydrophobic interaction
       Van der Waals interaction
           นอกจากนีบางตอนยึดติดกันด้ วย covalent bond ที่แข็งแรง
                   ้
เรี ยกว่ า disulfide bridges ระหว่ างหมู่ sulhydryl (-SH)
ของกรดอะมิโน cysteine ที่อยู่ใกล้ กัน
The Quaternary structure of proteins
      เป็ นโครงสร้ างของโปรตีนที่ประกอบด้ วย
 polypeptide มากกว่ า 1 สายเท่ านัน เกิดจาก tertiary
                                     ้
 structure ของ polypeptide แต่ ละสายมารวมกัน
                            ตัวอย่ างเช่ น :
              Polypeptide
              chain       Collagen เป็ น fibrous
                            protein ประกอบด้ วย
                            polypeptide 3 สายพันกัน
                            อยู่ ซึ่งทําให้ โปรตีนชนิดนีมีความ
                                                        ้
                            แข็งแรงและพบใน
                            connective tissue
Hemoglobin ประกอบด้ วย polypeptide 4
สายรวมกันกลายเป็ นโปรตีนที่มีรูปร่ างเป็ นก้ อน
The four levels of protein
       structure
Denaturation and renaturation of a
protein
ปฏิกริยาเคมีของ macromolecules ได้ แก่
    ิ
       Condensation เป็ นปฏิกริยาสังเคราะห์
                                   ิ
macromolecules จาก monomers
เล็กๆเป็ นจํานวนมาก และได้ ผลผลิต H2O ด้ วย
ดังนันอาจเรี ยกว่ า ปฏิกริยา dehydration
     ้                  ิ
        Hydrolysis เป็ นปฏิกริยาย่ อยสลายิ
macromolecules ให้ เล็กลง เพื่อให้ สามารถ
นําผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ เข้ าสู่เซลล์ ได้ หรื อย่ อยสลาย
macromolecules ที่ไม่ ใช้ แล้ วภายในเซลล์
The synthesis of a
     polymer
The Breakdown of a
     polymer
Carbohydrates
    Carbohydrates เป็ นสารประกอบจําพวก
นําตาล และ polymer ของนําตาล
  ้                     ้
   แบ่ งกลุ่ม carbohydrates ได้ เป็ น 3 กลุ่ม ตาม
จํานวนโมเลกุลของนําตาลที่เป็ นองค์ ประกอบ ได้ แก่
                   ้
  Monosaccharide
  Disaccharide
  Polysaccharide
Monosaccharide เป็ นนําตาลโมเลกุล
                                    ้
เดี่ยว ที่ประกอบด้ วย C, O และ H มีสูตรคือ
(CH2O)n
        โดยมีอะตอมของ C ต่ อกันเป็ นสาย และมี
Carbonyl group และ hydroxy group
ต่ อกับอะตอมของ C
    Carbonyl
    group
               aldehydes      ketones
The structure and classification of some
monosaccharides
Linear and ring forms of
        glucose
นําตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจาก
         ้
การรวมตัวของนําตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล โดย
                ้
ปฏิกริยา condensation
    ิ
    Covalent bond ที่เกิดขึน เรี ยกว่ า
                           ้
Glycosidic linkage
Examples of disaccharides
       synthesis
Polysaccharide เป็ น carbohydrate
ที่มีขนาดใหญ่ มาก ประกอบด้ วย
monosaccharides จํานวนมากต่ อกันด้ วย
glycosidic linkage
    ชนิดของ polysaccharide ขึนอยู่กับ
                             ้
    1. ชนิดของ monosaccharide
    2. ชนิดของ Glycosidic linkage
    ตัวอย่ าง polysaccharide ได้ แก่ starch,
  glycogen, cellulose และ chitin
Storage polysaccharides
Starch: 1-4 linkage of
α glucose monomers




Cellulose: 1-4
linkage of β glucose
monomers
Cellulose มี glucose เป็ นองค์ ประกอบ
เช่ นเดียวกับ แปง แต่ มีพนธะแบบ β1-4 glycosidic
                ้        ั
linkage ผนังเซลล์ ของพืชประกอบด้ วย cellulose
เป็ นจํานวนมาก
The arrangement of cellulose in plant cell
                walls
Chitin, a structural polysaccharide




 Chitin forms the   Chitin is used to make a
 exoskeleton of     strong and flexible surgical
 Arthropods         thread
Chitin มีโครงสร้ างคล้ ายกับ Cellulose ต่ างกัน
ที่ว่า หน่ วยย่ อยเป็ น N-acetylglucosamine
ต่ อกันเป็ นโมเลกุลสายยาว
หน้ าที่ของ carbohydrate
Sugars :
    ทําหน้ าที่ให้ พลังงานและเป็ นแหล่ งคาร์ บอนแก่ ส่ ิงมีชีวต
                                                              ิ
   ribose และ deoxyribose เป็ นองค์ ประกอบของ
  nucleic acid
Polysaccharide :
     เป็ นแหล่ งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวต โดยพืชเก็บสะสม
                                       ิ
  พลังงานในรูปของ starch ส่ วนสัตว์ เก็บสะสมพลังงานใน
  รูปของ glycogen
     Cellulose และ chitin เป็ นโครงสร้ างของพืชและ
  สัตว์
Lipids
Diverse Hydrophobic
     molecules
Lipids เป็ นสารที่ไม่ เป็ น polymer
    Lipids ไม่ ละลายนํา เนื่องจากโครงสร้ างของ lipids
                      ้
ประกอบด้ วย nonpolar covalent bonds เป็ น
ส่ วนมาก
  Lipids ได้ แก่
             ไขมัน (Fat)
             Phospholipid
             Steroid
             ขีผง (Wax)
               ้ ึ้
Fats : เป็ นแหล่ งสะสมพลังงาน
    Fats ถึงแม้ จะไม่ เป็ น polymer แต่ เป็ นสารที่มีโมเลกุล
ขนาดใหญ่ ประกอบด้ วยสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ ามาต่ อกัน
ด้ วยปฏิกริยา Dehydration
         ิ
 Fats ประกอบด้ วย Glycerol และ กรดไขมัน (Fatty
acid)
ส่ วน “tail” ของ fatty acid ที่เป็ น hydrocarbon ที่
มักมีอะตอมคาร์ บอนต่ อกันประมาณ 16-18 อะตอม เป็ นส่ วนที่ทาให้
                                                          ํ
fats ไม่ ละลายนํา (hydrophobic)
                ้
Triglycerol
      ไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้ วย Glycerol 1 โมเลกุล
และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
กรดไขมันแบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้ แก่
           Saturated fatty acid (กรดไขมันชนิดอิ่มตัว)
           Unsaturated fatty acid (กรดไขมันชนิดไม่
อิ่มตัว)
    ไขมันที่ได้ จากสัตว์ เช่ น เนย มี saturated fatty acid
เป็ นองค์ ประกอบ มีลักษณะเป็ นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง
  ไขมันจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็ น
องค์ ประกอบ มีลักษณะเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง
Saturated fat    Unsaturated fat
and fatty acid    and fatty acid
Phospholipids
  เป็ นองค์ ประกอบหลักของ cell membrane
  ประกอบด้ วย glycerol 1 โมเลกุล fatty acid
2 โมเลกุล และ phosphate group
(phosphate group มีประจุ -)
  มีส่วนหัวที่มีประจุ และเป็ นส่ วนที่ชอบนํา
                                           ้
(hydrophilic) และส่ วนหางที่ไม่ ชอบนํา       ้
(hydrophobic)
The structure of
 phospholipid
Phospolipid in aqueous environments

      เมื่อเติม phospholipids ลงในนํา   ้
phospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่ วนหางเข้ า
หากัน และส่ วนหัวหันออกทางด้ านนอก กลายเป็ นหยด
เล็กๆ เรี ยกว่ า micelle


                                          Micelle
ที่ cell membrane ของสิ่งมีชีวต
                                     ิ
Phospholipids จะเรี ยงตัวเป็ น 2 ชัน โดย
                                   ้
hydrophilic head จะหันออกทางด้ านนอก
เข้ าหากัน ส่ วน hydrophobic tail อยู่ตรง
กลาง

                            Phospholipi
                            d bilayer
Steroids
  เป็ น lipids ประกอบด้ วย คาร์ บอนเรี ยงตัวเป็ นวง
แหวน 4 วง
 Steroids ชนิดต่ างๆ มีหมู่ functional
group ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่ างกัน
  Cholesterol เป็ น steroid ที่เป็ น
องค์ ประกอบของ cell membrane
Cholesterol, a steroid
      Cholesterol ยังเป็ น precusor สําหรั บ
การสังเคราะห์ steroid อื่นๆหลายชนิด เช่ น
hormones
THE END
          69

More Related Content

สารชีวโม๶ลกุล

  • 2. ชีวเคมี (BIOCHEMISTRY) ชีวเคมี คือการศึกษาสิงมีชีวิตในทางเคมี โดยในร่ างกายของ ่ สิงมีชีวิตมีสารเคมีที่รวมเรี ยกว่าชีวโมเลกุล (biomolecules) ซึง ่ ่ สามารถแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทหลัก คือ (1) peptides and proteins (2) nucleic acids (3) carbohydrates (4) lipids
  • 3. บทบาทྺองชีวโมเลกล ุ ชีวโมเลกุลมีบทบาทที่สาคัญในร่ างกายดังต่ อไปนี ้ ํ เป็ นส่ วนประกอบโครงสร้ าง เช่น ผม เล็บ ผิวหนัง กล้ ามเนื ้อ กระดูก เนื ้อเยื่อ ผนังเซลล์ เร่ งปฏิกริยา ได้ แก่ เอ็นไซม์ ิ ควบคุม ได้ แก่ ฮอร์ โมน ให้ พลังงาน ขนส่ งสารเคมี เช่น ขนส่งออกซิเจน กรดแอมิโน ไอออน นํ ้าตาล สารสื่อประสาท ปองกัน เช่น แอนติบอดี ้ ้ รั บรู้ ได้ แก่ รี เซปเตอร์
  • 4. หน่ วยเรียนที่ 1 บทนํา ความสําคัญของวิชาชีวเคมี 1. ด้านการแพทย์ สรีรวิทยา, ระบบต่างๆ เทคนิคการเพิ่มจํานวน DNA ในหลอดทดลอง (PCR) หลักฐานทางนิติเวช ตรวจเลือด และปัสสาวะ ใช้ในการวินิจฉัยโรค 2. ด้านการเกษตร ⌧ การสังเคราะห์แสง การตรึงไนโตรเจน ⌧วิ เคราะห์องค์ประกอบ และคุณค่าอาหารสัตว์ 3. ด้านอุตสาหกรรม เทคนิคพันธุวิศวกรรม เช่น การผลิตฮอร์โมนอินซูลิน เอนไซม์อะไมเลส ในอุตสาหกรรมกระดาษ ผลิตเอทานอลจากแป้ ง การหมักสุรา
  • 5. PRINCESS CHULABHORN’S COLLEGE CHAIGRAI Regional science school 5 PROTEIN Aoijai Wichaisiri
  • 6. Protein เป็ น polypeptide ของ amino acid ที่ต่อกัน เป็ นลําดับเฉพาะตัวสําหรั บโปรตีนแต่ ละชนิด โปรตีนสามารถทํางานได้ ต้ องมีรูปร่ าง (conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว มนุษย์ มีโปรตีนมากกว่ า 10,000 ชนิด แต่ ละชนิดมี โครงสร้ างและหน้ าที่แตกต่ างกัน
  • 7. ประเภทของโปรตีน โปรตีนก้ อนกลม โปรตีนเส้ นใย เกิดจากสายพอลิเพป เกิดจากสายพอลิเพป ไทด์รวมตัวม้วนพับพัน ไทด์พนกันใน ั กันและอัดแน่นเป็ น ลักษณะเหมือนเส้นใย ก้อนกลม ยาวๆ ละลายนํ้าได้ดี ละลายนํ้าได้นอย ้ ทําหน้าที่เกี่ยวกับ ทําหน้าที่เป็ นโปรตีน ิ
  • 9. ้ ตัวอยางโปรตีนกอนกลม Casein Albumin Enzyme
  • 10. ประเภทของโปรตีน ประเภทของโปรตีน หน้ าที่ ตัวอย่ าง โปรตีนเร่ งปฏิกิริยา เร่ งปฏิกิริยาในเซลล์ เอ็นไซม์ สิ่ งมีชีวต ิ โปรตีนขนส่ ง ขนส่ งสารไปสู่ส่วนต่างๆ ฮีโมโกลบิน ของร่ างกาย โปรตีนโครงสร้าง ให้ความแข็งแรงและช่วย คอลลาเจน คงรู ปร่ างโครงสร้างต่าง ๆ เคราติน ของร่ างการ โปรตีนสะสม สะสมธาตุต่าง ๆ เฟอริ ทิน
  • 11. ประเภทของโปรตีน ประเภทของ หน้ าที่ ตัวอย่ าง โปรตีน โปรตีนป้ องกัน ป้ องกันและกําจัดสิ่ ง แอนติบอดี แปลกปลอมที่เข้ามาใน เซลล์ โปรตีนฮอร์โมน แตกต่างกันตามชนิดของ ฮอร์โมนนั้นๆ •ควบคุมการเจริ ญเติบโต Growth hormone •ควบคุมการเผาผลาญ Insulin คาร์โบไฮเดรต
  • 12. Amino acid เป็ นสารอินทรีย์ท่ มีหมู่ carboxyl และหมู่ ี amino ต่ อกับอะตอมคาร์ บอนที่เป็ นศูนย์ กลาง อะตอมที่เป็ นศูนย์ กลางยังต่ อ กับอะตอม hydrogen และหมู่ R group 1 หมู่ท่ แตกต่ างกัน ี H H O N C C H OH R Amino Carboxyl group group
  • 14. Amino acid แบ่ งออกเป็ นกลุ่มตามคุณสมบัติ ของ R group R group ที่แตกต่ างกันนี ้ ทําให้ เกิด amino acid แตกต่ างกัน 20 ชนิด แต่ ละชนิดมีคุณสมบัตทาง ิ เคมีและชีววิทยาแตกต่ างกัน
  • 17. Making a polypeptide chain Amino acid ต่ อกันเป็ นสายยาวด้ วย covalent bond เรี ยกว่ า peptide bond
  • 18. ปลายที่มีหมู่ amino เรี ยกว่ า N-terminus ปลายที่มีหมู่ carboxyl เรี ยกว่ า C-terminus
  • 19. สาย polypeptide ประกอบด้ วย amino acid ทัง 20 ชนิ ด เรี ยงต่ อกันเป็ นอิสระ สาย ้ polypeptide จึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่ เหมือนกันนับ หมื่นชนิดได้
  • 20. โปรตีนสามารถทํางานได้ ต้องมีรูปร่ าง (conformation) ที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัว โปรตีนที่ทางานได้ ประกอบด้ วย polypeptide 1 ํ สายหรื อมากกว่ า ซึ่งม้ วนพับไปมาตามแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง side chain ของ amino acid รู ปร่ างของโปรตีนจึงขึนอยู่กับลําดับของ amino ้ acid ที่เรี ยงกันอยู่
  • 22. H-BOND : α - HELIX
  • 23. H-BOND : PLEATED SHEET STRUCTURE ที่มา : http://web.mit.edu/esgbio/www/lm/proteins/structure/structure.html
  • 24. H-bond : Pleated sheet structure
  • 26. A protein’s function depends on its specific conformation Ribbon model Space filling model
  • 27. โครงสร้ างของโปรตีนถูกแบ่ งออกเป็ น Primary structure Secondary structure Tertiary structure Quaternary structure สําหรั บโปรตีน ที่ประกอบด้ วย polypeptide มากกว่ า 1 สาย
  • 28. The primary structure of a protein Primary structure คือ ลําดับของ amino acid ที่ ประกอบขึนเป็ นโปรตีน ้ Primary structure ถูก กําหนดโดยข้ อมูลทางพันธุกรรม (DNA)
  • 29. การเปลี่ยนแปลงลําดับ amino acid ใน โปรตีนอาจมีผลให้ รูปร่ างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมี ผลต่ อการทํางานของโปรตีนชนิดนันๆ้ ตัวอย่ างเช่ น โรค sickle-cell anemia
  • 30. A single amino acid substitution in a protein causes sickle-cell disease
  • 31. The secondary structure of a protein Secondary structure เป็ น โครงสร้ างที่เกิดขึนจาก H-bond ้ ระหว่ างหมู่ carboxylและหมู่ amino Secondary structure ที่พบบ่ อย ในธรรมชาติได้ แก่ αHelix และ β Pleated sheet
  • 32. ตัวอย่ างเช่ น เส้ นใยแมงมุม มีโครงสร้ างแบบ β Pleated sheet ทําให้ เส้ นใยแมงมุมมีความแข็งแรง มาก Spider silk: a structural protein
  • 34. Tertiary structure เป็ นรู ปร่ างของ polypeptide สาย หนึ่งตลอดสาย ซึ่งการม้ วนพบไปมาขึนอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่ าง R ้ group ด้ วยกันเอง หรื อ R group กับโครงสร้ างหลัก แรงยึดเหนี่ยวหมายถึง H-bond ionic bond Hydrophobic interaction Van der Waals interaction นอกจากนีบางตอนยึดติดกันด้ วย covalent bond ที่แข็งแรง ้ เรี ยกว่ า disulfide bridges ระหว่ างหมู่ sulhydryl (-SH) ของกรดอะมิโน cysteine ที่อยู่ใกล้ กัน
  • 35. The Quaternary structure of proteins เป็ นโครงสร้ างของโปรตีนที่ประกอบด้ วย polypeptide มากกว่ า 1 สายเท่ านัน เกิดจาก tertiary ้ structure ของ polypeptide แต่ ละสายมารวมกัน ตัวอย่ างเช่ น : Polypeptide chain Collagen เป็ น fibrous protein ประกอบด้ วย polypeptide 3 สายพันกัน อยู่ ซึ่งทําให้ โปรตีนชนิดนีมีความ ้ แข็งแรงและพบใน connective tissue
  • 36. Hemoglobin ประกอบด้ วย polypeptide 4 สายรวมกันกลายเป็ นโปรตีนที่มีรูปร่ างเป็ นก้ อน
  • 37. The four levels of protein structure
  • 39. ปฏิกริยาเคมีของ macromolecules ได้ แก่ ิ Condensation เป็ นปฏิกริยาสังเคราะห์ ิ macromolecules จาก monomers เล็กๆเป็ นจํานวนมาก และได้ ผลผลิต H2O ด้ วย ดังนันอาจเรี ยกว่ า ปฏิกริยา dehydration ้ ิ Hydrolysis เป็ นปฏิกริยาย่ อยสลายิ macromolecules ให้ เล็กลง เพื่อให้ สามารถ นําผ่ านเยื่อหุ้มเซลล์ เข้ าสู่เซลล์ ได้ หรื อย่ อยสลาย macromolecules ที่ไม่ ใช้ แล้ วภายในเซลล์
  • 40. The synthesis of a polymer
  • 41. The Breakdown of a polymer
  • 42. Carbohydrates Carbohydrates เป็ นสารประกอบจําพวก นําตาล และ polymer ของนําตาล ้ ้ แบ่ งกลุ่ม carbohydrates ได้ เป็ น 3 กลุ่ม ตาม จํานวนโมเลกุลของนําตาลที่เป็ นองค์ ประกอบ ได้ แก่ ้ Monosaccharide Disaccharide Polysaccharide
  • 43. Monosaccharide เป็ นนําตาลโมเลกุล ้ เดี่ยว ที่ประกอบด้ วย C, O และ H มีสูตรคือ (CH2O)n โดยมีอะตอมของ C ต่ อกันเป็ นสาย และมี Carbonyl group และ hydroxy group ต่ อกับอะตอมของ C Carbonyl group aldehydes ketones
  • 44. The structure and classification of some monosaccharides
  • 45. Linear and ring forms of glucose
  • 46. นําตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจาก ้ การรวมตัวของนําตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุล โดย ้ ปฏิกริยา condensation ิ Covalent bond ที่เกิดขึน เรี ยกว่ า ้ Glycosidic linkage
  • 48. Polysaccharide เป็ น carbohydrate ที่มีขนาดใหญ่ มาก ประกอบด้ วย monosaccharides จํานวนมากต่ อกันด้ วย glycosidic linkage ชนิดของ polysaccharide ขึนอยู่กับ ้ 1. ชนิดของ monosaccharide 2. ชนิดของ Glycosidic linkage ตัวอย่ าง polysaccharide ได้ แก่ starch, glycogen, cellulose และ chitin
  • 50. Starch: 1-4 linkage of α glucose monomers Cellulose: 1-4 linkage of β glucose monomers
  • 51. Cellulose มี glucose เป็ นองค์ ประกอบ เช่ นเดียวกับ แปง แต่ มีพนธะแบบ β1-4 glycosidic ้ ั linkage ผนังเซลล์ ของพืชประกอบด้ วย cellulose เป็ นจํานวนมาก
  • 52. The arrangement of cellulose in plant cell walls
  • 53. Chitin, a structural polysaccharide Chitin forms the Chitin is used to make a exoskeleton of strong and flexible surgical Arthropods thread
  • 54. Chitin มีโครงสร้ างคล้ ายกับ Cellulose ต่ างกัน ที่ว่า หน่ วยย่ อยเป็ น N-acetylglucosamine ต่ อกันเป็ นโมเลกุลสายยาว
  • 55. หน้ าที่ของ carbohydrate Sugars : ทําหน้ าที่ให้ พลังงานและเป็ นแหล่ งคาร์ บอนแก่ ส่ ิงมีชีวต ิ ribose และ deoxyribose เป็ นองค์ ประกอบของ nucleic acid Polysaccharide : เป็ นแหล่ งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวต โดยพืชเก็บสะสม ิ พลังงานในรูปของ starch ส่ วนสัตว์ เก็บสะสมพลังงานใน รูปของ glycogen Cellulose และ chitin เป็ นโครงสร้ างของพืชและ สัตว์
  • 57. Lipids เป็ นสารที่ไม่ เป็ น polymer Lipids ไม่ ละลายนํา เนื่องจากโครงสร้ างของ lipids ้ ประกอบด้ วย nonpolar covalent bonds เป็ น ส่ วนมาก Lipids ได้ แก่ ไขมัน (Fat) Phospholipid Steroid ขีผง (Wax) ้ ึ้
  • 58. Fats : เป็ นแหล่ งสะสมพลังงาน Fats ถึงแม้ จะไม่ เป็ น polymer แต่ เป็ นสารที่มีโมเลกุล ขนาดใหญ่ ประกอบด้ วยสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ ามาต่ อกัน ด้ วยปฏิกริยา Dehydration ิ Fats ประกอบด้ วย Glycerol และ กรดไขมัน (Fatty acid)
  • 59. ส่ วน “tail” ของ fatty acid ที่เป็ น hydrocarbon ที่ มักมีอะตอมคาร์ บอนต่ อกันประมาณ 16-18 อะตอม เป็ นส่ วนที่ทาให้ ํ fats ไม่ ละลายนํา (hydrophobic) ้
  • 60. Triglycerol ไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้ วย Glycerol 1 โมเลกุล และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
  • 61. กรดไขมันแบ่ งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้ แก่ Saturated fatty acid (กรดไขมันชนิดอิ่มตัว) Unsaturated fatty acid (กรดไขมันชนิดไม่ อิ่มตัว) ไขมันที่ได้ จากสัตว์ เช่ น เนย มี saturated fatty acid เป็ นองค์ ประกอบ มีลักษณะเป็ นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ไขมันจากพืช มี unsaturated fatty acid เป็ น องค์ ประกอบ มีลักษณะเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง
  • 62. Saturated fat Unsaturated fat and fatty acid and fatty acid
  • 63. Phospholipids เป็ นองค์ ประกอบหลักของ cell membrane ประกอบด้ วย glycerol 1 โมเลกุล fatty acid 2 โมเลกุล และ phosphate group (phosphate group มีประจุ -) มีส่วนหัวที่มีประจุ และเป็ นส่ วนที่ชอบนํา ้ (hydrophilic) และส่ วนหางที่ไม่ ชอบนํา ้ (hydrophobic)
  • 64. The structure of phospholipid
  • 65. Phospolipid in aqueous environments เมื่อเติม phospholipids ลงในนํา ้ phospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่ วนหางเข้ า หากัน และส่ วนหัวหันออกทางด้ านนอก กลายเป็ นหยด เล็กๆ เรี ยกว่ า micelle Micelle
  • 66. ที่ cell membrane ของสิ่งมีชีวต ิ Phospholipids จะเรี ยงตัวเป็ น 2 ชัน โดย ้ hydrophilic head จะหันออกทางด้ านนอก เข้ าหากัน ส่ วน hydrophobic tail อยู่ตรง กลาง Phospholipi d bilayer
  • 67. Steroids เป็ น lipids ประกอบด้ วย คาร์ บอนเรี ยงตัวเป็ นวง แหวน 4 วง Steroids ชนิดต่ างๆ มีหมู่ functional group ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่ างกัน Cholesterol เป็ น steroid ที่เป็ น องค์ ประกอบของ cell membrane
  • 68. Cholesterol, a steroid Cholesterol ยังเป็ น precusor สําหรั บ การสังเคราะห์ steroid อื่นๆหลายชนิด เช่ น hormones
  • 69. THE END 69