ݺߣ
Submit Search
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวตอร์
•
1 like
•
6,287 views
B
Bai'mon Chankaew
Follow
1 of 6
Download now
Downloaded 70 times
More Related Content
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวตอร์
1.
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน โปรแกรมสอนทาอาหารไทย ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว วีราภรณ์ จันทร์แก้ว เลขที่ 30 ชั้น ม.6/12 นางสาว สุทธิดา จันทร์ผง เลขที่ 40 ชั้น ม.6/12 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2.
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.น.ส.วีราภรณ์ จันทร์แก้ว เลขที่ 30 2.น.ส.สุทธิดา จันทร์ผง เลขที่ 40 ชื่อโครงงาน โปรแกรมสอนทาอาหารไทย ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ผู้ทาโครงงาน 1.น.ส.วีราภรณ์ จันทร์แก้ว เลขที่ 30 2.น.ส.สุทธิดา จันทร์ผง เลขที่ 40 ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันสังคมเรานั้นคือสังคมโลกาภิวัตน์เป็นสังคมแห่งโลกไร้พรมแดน ซึ่งเทคโนโลยีต่างๆมี ความจาเป็นและสาคัญกับมนุษย์เรา ในทุกๆด้าน ซึ่งด้านการศึกษานี่เองที่จะทาให้เรามีความเสมอภาคและ เท่าเทียม สามารถเรียนรู้ได้ทั่วถึง ผู้จัดทาเล็งเห็นถึงความสาคัญของโปรแกรมช่วยสอนการทาอาหารไทยเพื่อนส่งเสริมและอนุรักษ์ อาหารไทยของเรา เนื่องจากในปัจจุบันมีชาวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวและอาศัยอยู่ในประเทศเรามากมาย จึง น่าจะดีถ้ามีโปรแกรมช่วยสอนนี้ไว้ช่วยอนุรักษ์อาหารไทยแบบต้นตารับ และช่วยส่งเสริมให้อาหารไทยเป็น อาหารที่ดีในระดับนานาชาติ และยังเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่จะสนใจในการศึกษาอีกด้วย
3.
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็นการส่งเสริมอาหารไทยให้ก้าวไกลระดับนานาชาติ 2.เพื่ออนุรักษ์การทาอาหารไทยแบบต้นตารับให้อยู่คู่กับคนไทย 3.เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4.เพื่อเป็นการรู้วิธีและสามารถประกอบอาหารต่างๆได้ ขอบเขตโครงงาน 1.ระยะเวลาในการทา 2. เวลาในการรวบรวมรายการอาหาร 3.เนื้อหามีมาก จะต้องคัดกรองอันที่ดีที่สุด หลักการและทฤษฎี ในปัจจุบันการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
จะสามารถก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่แท้จริง ทาให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการเรียนรู้ มีการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งที่เรียน ทาให้การเรียนรู้นั้นมีประสิทธิภาพสูงสุด และบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ก็เป็นอีกสื่อหนึ่งที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ ด้วยตนเองตลอกเวลา ทาให้เกิดการพัฒนาการที่กว้างไไกลยิ่งขึ้น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI: Computer Assisted Instruction) อาจมีชื่อเรียกหลายอย่างได้แก่ Computer Assistant Instruction หรือ Computer-Aided Instruction หรือ Computer-Based Instruction และ Courseware เป็นต้น บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการนาเสนอบทเรียนที่นามาใช้ในการสอนเสริมการ สอนในชั้นเรียน หรือสอนแทนครูผู้สอน และผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในการทบทวนเนื้อหาที่เรียนมาแล้วใน ชั้นเรียน ปัจจุบันบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นที่นิยมกันมากตั้งแต่ระดับอนุบาลจนกระทั่งถึง ระดับอุดมศึกษา และมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีการทดลองใช้ครั้งแรกใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ 2498-2508 โครงการแรกที่มีบทบาทในด้านการทดลองบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ โครงการพลาโต (PLATO Project) โดยเริ่มทดลองในมหาวิทยาลัย อิลินนอยส์ ใน ปี พ.ศ 2503 มีการออกแบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่มีศักยภาพ เพื่อนามาใช้ทางด้านการเรียน การสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการศึกษาเดิมโดยตรง การพัฒนาสื่อประเภทบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง
4.
เป็นสื่อดิจิตอล (Digital)มีความจาเป็นมากในศตวรรษใหม่นี้ ประกอบกับมีสตูดิโอ
(Studio)ทางด้านดิจิตอล และการออกแบบสื่อเสมือนจริงกระจายอยู่ทั่วไป จึงทาให้การสร้างสื่อประเภทบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนที่เฉพาะเจาะจงทาให้ง่ายยิ่งขึ้น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถสนองตอบต่อการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ส่วนครูจะเป็นเพียงผู้ประสานงาน ให้ คาแนะนาช่วยแก้ปัญหา กระตุ้นให้นักเรียน ทากิจกรรมและสรุปบทเรียน และสามารถนามาใช้ในการสอนเสริม การสอนแทนครูในกรณีที่ครูไม่อยู่หรือ ขาดแคลนครู การเรียนนอกเวลา หรือ การทบทวนเนื้อหาที่ผู้เรียนเรียนผ่านมาแล้วในชั้นเรียนได้เป็นอย่างดี ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1. ส่งเสริมการเรียนด้วยตนเอง (Self-Pacing) 2. เป็นสื่อการสอนที่มีการสื่อสารแบบสองทาง (TwowayCommunication) 3. ส่งเสริมการร่วมกิจกรรมทุกรูปแบบ(Active Learning) ที่มีการฟัง บรรยาย การอ่านหนังสือและกิจกรรม ต่างๆ การฝึกหัดและการเรียนซ้า ทาแบบทดสอบ ตามที่กาหนดไว้ในบทเรียนแต่ละขั้นตอน 4. เป็นการนาสื่อประสม(Multimedia) ที่มีตัวอักษร ภาพและเสียงมาใช้อย่างกลมกลืน 5. ส่งเสริมการเรียนที่มีความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualdifference)มีความยืดหยุ่น (Flexibility)ซึ่ง สามารถสนองความต้องการในการเรียนของผู้เรียนได้ตลอดเวลา 6. ส่งเสริมการเรียนเสริมของผู้เรียน(Tutorial) 7. ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้(Information Technology) 8. แก้ปัญหาการสอนแบบตัวต่อตัว 9. แก้ปัญหาเนื้อหาที่มีความยาก หรือซับซ้อนมาก 10. แก้ปัญหาการขาดแคลนครูและการบริหารเวลาการเรียนการสอนของโรงเรียน
5.
วิธีึϸȨȨาน
แนวทางการดาเนินงาน ใช้โปรแกรม Flash สร้างสื่อการเรียนการสอนออกมา โดยตัวโปรแกรมที่สร้างขึ้นจะมีทั้งข้อมูลความรู้ และ แบบทดสอบ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ CPU รุ่น Pentium 4 processor ความเร็วไม่ต่ากว่า 1.7 GHz 2. หน่วยความจาหลัก (RAM) 256 MB. 3. หน่วยความจาสารอง (Harddisk) 80 GB ขึ้นไป 4. CD-ROM 52X 5. LAN card หรือ Modem เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อ Internet ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนา 6. ระบบปฏิบัติการ Windows XP Professional 7. Microsoft Visual Studio .NET 2007 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ บ 1 1 1 1 1 1 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 12 ที่ 0 1 3 4 5 6 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
6.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เป็นแหล่งคว้าข้อมูลให้แก่ผู้ที่สนใจศึกษา 2. ส่งเสริมและอนุรักษ์อาหารประจาชาติไทย 3.
นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง http://namkwanmay.wordpress.com/ http://www.caistudio.info/
Download