ݺߣ
Submit Search
สัมมȨการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอȨกส์
•
0 likes
•
371 views
jeabjeabloei
Follow
1 of 24
Download now
Download to read offline
More Related Content
สัมมȨการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอȨกส์
1.
LOGO การจัดการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)
ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย อมรรั ตน์ วงศ์ โสภา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการสื่อสาร
2.
มนูหลัก 1
พัฒนาการของการจัดการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ฯ 2 นโยบายที่มีผลต่ อการพัฒนา e-Learning ของประเทศไทย 3 สภาพการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ฯ 4 เหตุผลที่สถาบันอุดมศึกษาจัดการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
3.
มนูหลัก
ข้ อดี/จุดเด่ น การเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ สาหรั บ 5 สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ข้ อเสีย/ข้ อบกพร่ อง การเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ สาหรั บ 6 สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย 7 ปั ญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ 8 การประกันคุณภาพการเรี ยนการสอนฯ 9 ทิศทางอนาคตของการเรี ยนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ฯ
4.
พัฒนาการของการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ฯ
การพัฒ นาการของการจัด การเรี ย นการสอนทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Learning) ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แบ่งออกเป็ น 2 ช่วงคือ ก่อนประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ไม่มีหลักฐานแน่ชดว่าเริ่ มขึ ้นเมื่อใด ั ในระยะแรกเริ่มต้ นด้ วยการดูตวอย่างจากต่างประเทศ แต่ไม่เป็ นสาระเท่าที่ควร ั ช่ ว งหลัง ประกาศของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ประกาศอย่ า งถู ก ต้ องตาม กฎหมายในวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2548 ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อ ง หลัก เกณฑ์ ก ารขอเปิ ดและด าเนิ น การหลัก สูต รระดับ ปริ ญ ญาในระบบ การศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548 ที่มา: ศรี ศักดิ์ จามรมาน, 2549
5.
นโยบายที่มีผลต่ อการพัฒนา e-Learning
ของประเทศไทย นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี สกอ. ได้ กาหนดประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ ในการ พัฒนาการศึกษา ในประเด็นที่ สามารถนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมา ประยุกต์พฒนาส่งเสริมการพัฒนาการศึกษาได้ ทนที นัน ได้ แก่ ั ั ้ 1. การสมานรอยต่อระหว่างการศึกษาขันพื ้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ้ 2. พัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานการเรี ยนรู้ ให้ เอื ้อต่อการพัฒนาไปสู่สงคมแห่งการเรี ยนรู้ ั ตลอดชีวิต ที่มา: นโยบายและกระบวนการการเรี ยนรู้ออนไลน์ส่ประชาคมอาเซียน รองศาสตราจารย์ นพ.กาจร ตติยกวี ู รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
6.
ยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาการศึกษาโดยใช้ ICT
อุดมศึกษา อาชีวศึกษา ขั้นพืนฐาน ้ การสมานรอยต่ อระหว่ างการศึกษา ที่มา: นโยบายและกระบวนการการเรี ยนรู้ออนไลน์ส่ประชาคมอาเซียน รองศาสตราจารย์ นพ.กาจร ตติยกวี ู รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
7.
พัոาโครงสร้างพืȨานการเรียนรู้
้ มหาวิทยาลัย วิทยาลัยอาชีวศึกษา urank.info stks.or.th ห้ องสมุดประชาชน เขตพืนที่การศึกษา ้ NEdNet เครือข่ ายการศึกษาแห่ งชาติ (NEdNet: National Education Network) ศูนย์ การเรี ยนรู้บนเครื อข่ าย โรงเรีย E-Library R&D น e-Learning IPTV ศูนย์ ความรู้ แหล่ งเรี ยนรู้ท่บ้าน/ ี Distance Learning สถานประกอบการ
8.
แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี
(ฉบับที่ 2) เพิ่ มบทบาทของมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาขีดความสามารถใน การแข่ งขันของประเทศ โดยสนับสนุนทรัพยากรและสิ่งแวดล้ อม ที่เอือต่ อการศึกษาวิจัย ้ พัฒนาระบบอุดมศึกษาให้ เตรี ยมความพร้ อมในการรองรั บให้ ประเทศไทยเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน พั ฒ นาและเสริ ม หลั ก สู ต รในทุ ก คณะและภาควิ ช า เพื่ อ สร้ าง ความตระหนักให้ กับนักศึกษาในเรื่องของอาเซียนมากขึน ้ ที่มา: นโยบายและกระบวนการการเรี ยนรู้ออนไลน์ส่ประชาคมอาเซียน รองศาสตราจารย์ นพ.กาจร ตติยกวี ู รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
9.
ที่มา : กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว
15 ปี ระยะที่ 2
10.
สภาพการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ ฯ
ปั จจุบนนิยมใช้ e-Learning ในลักษณะของสื่อเสริ มเท่านัน เนื่องจากมหาวิทยาลัยใน ั ้ ประเทศไทยส่วนใหญ่เป็ นมหาวิทยาลัยปิ ด สาหรับมหาวิทยาลัยเอกชนส่วนใหญ่ก็พยายาม ที่จะทาให้ มหาวิทยาลัยของตนเองเป็ นศูนย์ไซเบอร์ (Cyber) ด้ วยการนาเอาเทคโนโลยี สารสนเทศหรื อไอทีเข้ ามาใช้ และหวังว่าจะสร้ างมหาวิทยาลัยให้ เป็ นมหาวิทยาลัยที่จดการ ั ความรู้ (Knowledge management) สาหรั บสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ปั จจุบันยังไม่โดดเด่นเท่าที่ควร อีกทังการ ้ ลงทุนสูง สาหรับอัตราค่าเล่าเรี ยนทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)นัน ยังคิดเหมือนอัตรา ้ เล่าเรี ยนปกติ ที่น่าสังเกตและเป็ นเรื่ องที่น่าเป็ นห่วงอีกอย่างคือเรื่ องลิขสิทธิ์ รัฐบาลควร หาทางจัดการในเรื่ องลิขสิทธิ์ อย่างชัดเจน การใช้ โปรแกรมระบบบริ หารจัดการ(LMS)ที่ใช้ จัดการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ในปั จจุบนยังมีปัญหา อาทิ วิธีการ ั ลงทะเบียนว่าผู้เรี ยนเข้ า เรี ยนจริ งหรื อไม่ มี การทุจริ ตอย่างไรสิ่งต่าง ๆเหล่านี ต้องมี การ ้ พิจารณาอย่างรอบคอบ ที่มา: สุรสิทธิ์ วรรณไกรโรจน์ , 2549
11.
ตัวอย่ าง e-Learning
ในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาแหงตังศูนย์ e-Learning โดยใช้ Education Sphere เป็ น ้ LMS มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช http://stouonline.stou.ac.th/elearning/ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ จดตังเครื อข่าย www.chulaonline.com เพื่อ ั ้ ให้ บริการการเรี ยนการสอนระบบ e-Learning ผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต
12.
ระบบ e-Learning ของมหาวิทยาลัยรามคาแหง
http://www.ram.edu/elearning/login_e55.php
13.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชٳٱ://ٴdzܴDzԱԱ.ٴdz..ٳ/ԾԲ/
14.
www.chulaonline.com ของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
15.
เหตุผลที่สถาบันอุดมศึกษาจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ เพราะเชื่อว่าประหยัดทรัพยากรในระยะยาว มีองค์ความรู้ สามารถเรี
ยนรู้ มากขึน และเป็ นนวัตกรรมใหม่ทางการศึกษายุค โลกาภิวัฒน์ สามารถ ้ สร้ างโอกาสและความเท่ า เที ย มด้ า นการศึก ษา สนองความแตกต่ า ง ระหว่างบุคคล ลดปั ญหาเรื่ องระยะทาง เวลา และสถานที่ได้ นอกจากนี ้ยัง แก้ ปัญหาด้ านการขาดแคลนอาจารย์ผ้ สอน และผู้เชี่ยวชาญ โดยผู้เรี ยนมี ู ความรู้ ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศก็ สามารถเสาะ แสวงหาความรู้ได้
16.
ข้ อดี/จุดเด่ น
การเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย 1. เป็ นการจัดการเรี ยนการสอนที่สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล 2. สนับสนุนการเรี ยนการสอนแบบสร้ างความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism) 3. ผู้เรี ยนสามารถศึกษาได้ ด้วยตนเอง ไม่มีขีดจากัดเรื่ อง ระยะทาง เวลา และสถานที่ 4. สามารถใช้ ได้ กบกลุมผู้เรี ยนจานวนมาก ทังที่อยูศนย์การศึกษาเดียวกัน ั ่ ้ ่ ู และต่างศูนย์ที่หางไกล ่ 5. ลดปั ญหาการขาดแคลนผู้สอน หรื อผู้เชี่ยวชาญ 6. ลดความสิ ้นเปลืองด้ านเอกสารที่เป็ นกระดาษ 7. เป็ นการขยายโอกาสและทาประโยชน์ จากทรัพยากรได้ มากขึ ้น
17.
ข้ อเสีย/ข้ อบกพร่
อง การเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย 1. บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้ านการจัดการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ยงมีน้อย ั 2. ผู้สอนยังขาดความรู้ ความเข้ าใจ ด้ านการออกแบบ และการสร้ างบทเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ 3. ระบบเครื อข่ายและระบบการสือสารยังด้ อยประสิทธิภาพ ่ 4. ขาดปั จจัยพื ้นฐานสาหรับการจัดการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ 5. มีขีดจากัดของผู้เรี ยนทียง ไม่เข้ าใจในระบบการศึกษาแบบนี ้ ่ ั 6. ผู้เรี ยนต้ องมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนการสอนในระบบนี ้ 7. จะมีคนเปิ ดระบบ e-Learning โดยไม่มีมาตรฐาน ซึงแก้ ไขได้ โดยการจัดกลุม ่ ่ หรื อหน่วยงานคอยติดตามดูแลเรื่ องมาตรฐาน 8. ผู้เรี ยน ยังขาดวัฒนธรรมการเรี ยนรู้แบบพึงตนเอง ่ 9. ผู้สอนยังไม่ เข้ าใจกระบวนการสอนแบบนี ้ 10. ค่าใช้ จ่ายในการสร้ างบทเรี ยนยังสูง และขาดคุณภาพ 11. ขาดการพัฒนาเนื ้อหาที่เป็ นของไทย หรื อเนื ้อหาที่พฒนาขึ ้นสาหรับคนไทย ั เพราะส่วนใหญ่เนื ้อหาดี ๆ มักจะได้ มาจากต่างประเทศ
18.
ปั ญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการพัฒนาการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ 1.
นโยบาย ถึงแม้ ว่านโยบายจะมีความชัดเจนขึ ้น แต่ในระดับปฏิบติจริ งทาได้ ไม่เต็มที่ ั 2. โครงสร้ างพื ้นฐาน(Infrastructure) ยังมีความไม่พร้ อมทังจากภายในและภายนอกสถาบัน อีกทัง้ ้ วิสยทัศน์ความนิยมที่เห็นว่า e -Learning สู้การสอนในห้ องเรี ยนไม่ได้ ั 3. การผลิตสื่อมีความยุ่งยาก อาจารย์ผ้ สอนไม่มีความชานาญ อาจเป็ นการเพิ่มภาระให้ อาจารย์ ในการ ู เช็คเมล์ การตอบคาถามในเว็บบอร์ ด 4. ด้ านเกณฑ์การประเมิน ยังไม่มีข้อสรุปที่ชดเจน ั 5. ผู้สอนมักไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆ 6. ความไม่เสถียรภาพของระบบ ในขณะที่ผ้ เู รี ยนเข้ าเรี ยนพร้ อมกันหลายคน จึงมีปัญหาทาให้ เครื อข่าย ล้ มเหลว 7. ผู้สอน ที่เข้ าใจ e-Learning และเทคนิคการนาเทคโนโลยี e-Learning ไปใช้ ในการจัดการเรี ยนการ สอนให้ ประสบความสาเร็จยังมีน้อย และส่วนใหญ่ยงไม่ยอมเปลี่นทัศนคติ และรูปแบบการสอน ั 8. ทัศนคติของผู้เรี ยนต้ องได้ รับการเปลี่ยนแปลงและสร้ างรูปแบบของการเรี ยนการสอนและวัฒนธรรมการ เรี ยนรู้ใหม่ 9. ปั ญหาการขาดแคลนบุคลากรที่เกี่ยวกับการพัฒนาเนื ้อหา (content developer) ซึงเป็ นทีมงานที่นา ่ เนื ้อหาจากอาจารย์มาสร้ างเป็ น e-Learning ดังนันควรเร็งการผลิตบุคลากรที่จะมาทาหน้ าที่ออกแบบ ้ เขียนบท ออกแบบกราฟิ ก ถ่ายภาพและอื่น ๆ
19.
การประกันคุณภาพการเรียนการสอน e-Learning ส าหรั
บ ในประเทศไทยยัง ไม่ มี ร ะบบการประกั น คุ ณ ภาพของระบบ e-Learning ที่ชัดเจน และยังไม่มีหน่วยงานรับรองวิทยฐานะ ที่ผ่านมาทบวงมหาวิทยาลัยหรื อ ปั จจุบันคือ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็ นผู้รับรองมาตรฐาน ซึ่งเป็ น มาตรฐานก่อนจะมีการใช้ e-Learning สาหรับมาตรฐานของเทคนิคมีการใช้ มาตรฐาน SCORM ที่เป็ นที่นิยม แต่ยงไม่มีั มาตรฐานของการนาไปใช้ ดังนันการประกันคุณภาพจึงต้ องมีตวชี ้วัดที่ชดเจนว่าจะมี ้ ั ั ตัวชี ้วัดอะไรและมีเกณฑ์อย่างไร
20.
การประกันคุณภาพการเรียนการสอน e-Learning
21.
ทิศทางอนาคตของการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ฯ 1.
แนวโน้ มการจัดการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) จะมี 2 ลักษณะ คือ เรี ยนอยู่ บ้ านเพื่อรับปริ ญญาได้ มีความสะดวกสบายและอิสระในการเรี ยนรู้ ซึงบทบาทของครูจะเปลี่ยนมา ่ เป็ นผู้บริ หารจัดการรายวิชาของตนเอง 2. กลุมเปาหมายเป็ นนักศึกษาปริ ญญาโทและปริ ญญาเอก ่ ้ 3. การประกันคุณภาพการศึกษาก็จะส่งผลให้ อาจารย์ผ้ สอนต้ องเกิดการปรับบทบาทของตนอย่างมาก ู ในอนาคต e-Learning จะยังคงมีบทบาทเป็ นสื่อเสริ มมากกว่า เนื่องจากห้ องเรี ยนก็ยงคงมี เสน่ห์ ั และเป็ นที่นิยม 4. เนื ้อหาวิชาที่จะนามาพัฒนาเป็ นสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ของสถาบันอุดมศึกษาใน ประเทศไทยนันจะมีความหลากหลาย เพราะเทคโนโลยี e-Learning สามารถปรับให้ เข้ ากับ ้ ลักษณะเฉพาะสาขาวิชาได้ และจะมีความยืดหยุ่นสูง การใช้ e-Learning ในการอบรมสัมมนา(e- Seminar)จะถูกนามาใช้ มาก เช่น ที่ใช้ เป็ นประจา คือ บริ ษัทในเครื อปูนซีเมนต์ ปูนซีเมนต์นครหลวง
22.
ทิศทางอนาคตของการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ฯ (ต่
อ) 5. เนื่องจากการลงทุน e-Learning มีราคาแพง จึงต้ องใช้ ให้ ค้ มค่าและจะต้ องมีการพัฒนาหลักสู ตรที่มี ุ ความต้ องการมากขึ ้น เช่น ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ network เพราะทุกคนสามารถใช้ ร่วมกันหลักสูตรการอาชีพ 6. ผู้สอนที่ใช้ e-Learning นันพฤติกรรมของผู้สอนจะแตกต่างออกไปจะเป็ นการทากิจกรรมการเรี ยนการ ้ สอนร่ วมกันส่งความรู้ ผ่านทางเครื่ องมืออิเล็กทรอนิกส์ ความรู้ ที่เกิดขึนจะเป็ นความรู้ ที่เชื่อมโยงจาก ้ หลายๆ ทาง มิได้ จากัดอยู่ในห้ องเรี ยนแต่เพียงอย่างเดียว 7. สภาพการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยใน อนาคต นันจะประกอบไปด้ วยหลาย ๆ รูปแบบ เช่น e-Learning, e-Book, m-Learning เป็ นต้ น ้ อินเทอร์ เน็ตและ e-Learning จะเข้ ามีบทบาทมากขึ ้น ในด้ านเทคโนโลยี เปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนมาก ขึ ้น เป็ นการเปิ ดโอกาสทางการศึกษาที่กว้ างขวาง
23.
ทิศทางอนาคตของการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ ฯ (ต่
อ) 8. ลิขสิทธิ์ ทางปั ญญาของผู้พัฒนาควรจะได้ รับการคุ้มครอง การที่สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้ ให้ ทนในการพัฒนารายวิชาถือว่าเป็ นการสนับสนุนที่ดีและสานักงานคณะกรรมการการ ุ อุด มศึก ษาต้ องสนับ สนุน ให้ มี ก ารใช้ และแลกเปลี่ ย นรายวิ ชากัน ระหว่ างสถาบัน ให้ ม ากขึน เพื่ อ ้ ประโยชน์ ในการศึกษา 9. ปั จจัยอื่น ๆ 9.1 เทคโนโลยี เทคโนโลยีมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา 9.2 ผู้พฒนา e-Learning ผู้พฒนาบทเรี ยนจะต้ องมี ความรู้ ความเข้ าใจการทางานของ ั ั โปรแกรมระบบการจัดการเรี ยนการสอนเป็ นอย่างดี 9.3 นโยบาย(รัฐบาล/ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้ อง/สถาบัน) นโยบายของภาครัฐ และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ องกับการจัดการเรี ยนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ จะต้ องลงสูการปฏิบติ ให้ เกิดมรรคผลอย่าง ่ ั รวดเร็ว การที่รัฐได้ สนับสนุนให้ เปิ ดหลักสูตรในระบบนี ้เต็มเวลาเพื่อเป็ นการปฏิรูปการศึกษาอย่าง แท้ จริ ง
24.
LOGO
Download