กล้องจุลทรรศȨกาญจȨ
- 2. บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : รายงานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กล้องจุลทรรศȨกาญจȨเป็นสื่ออุปกรณ์
ในกิจกรรมการทดลอง เรื่อง โครงสร้างภายในของพืช วิชาชีววิทยา ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
ปีการศึกษา 2549
ชื่อผู้ศึกษา : นางกาญจนา ไพศาล
ปีการศึกษา : 2550
ในการ ศึกษา ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหา คุณภาพกล้อง จุลทรรศ น์ กาญจนา
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนจากการ ใช้กล้องจุลทรรศน์
กาญจนาเป็นสื่ออุปกรณ์ในกิจกรรมการทดลองเรื่อง โครงสร้างภายในของพืช
เครื่องมือที่ใช้ศึกษาได้แก่ กล้องจุลทรรศȨกาญจȨ แบบประเมินนวัตกรรมทางการศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามความคิดเห็นของ
นักเรียนจากการใช้กล้องจุลทรรศȨกาญจȨเป็นสื่อ อุปกรณ์ในกิจกรรมการทดลอง ประชากร คือ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
ปีการศึกษา 2549 จานวน 44 คน
ผลการดาเนินงาน พบว่า ได้กล้องจุลทรรศน์ กาญจนาที่มี ลักษณะเฉพาะ คือ ลากล้องเป็น
รูปทรงกระบอกติดเลนส์ด้านหัวและท้ายของลากล้อง ใช้เลนส์ใกล้ตาของกล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
แบบสองตาทาหน้าทีเ่ ป็นทั้งเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้วัตถุของกล้อง มีกาลังขยายประมาณ 100 เท่า
จากการใช้ความยาวของลากล้อง 12 เซนติเมตรละใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย20X กับ 20X ทาเป็น
แ
เลนส์ของกล้องซึ่ง สามารถเปลี่ยนกาลังขยายและถอดเก็บ ไว้โดยที่เลนส์ไม่เสียสภาพ ลากล้องและ
ตัวกล้องเป็นโลหะอลูมิเนียม ใช้ที่หมุนบานเกล็ดเป็นอุปกรณ์ปรับหาระยะภาพ ใช้กระจกเงารับแสง
ผลการประเมินคุณภาพกล้องอยู่ ในระดับ ดีมากที่สุด ผลการนากล้องจุลทรรศȨกาญจȨไปใช้ พบว่า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีร้อยละค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียนเป็น ร้อยละ 91.21 สูงกว่า
เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด คือ ร้อยละ 70 นักเรียนทุกคนผ่านการประเมิน มีพัฒนาการทางการเรียนรู้
ไว้
และความคิดเห็นของนักเรียน อการใช้กล้องจุลทรรศȨกาญจȨเป็นสื่ออุปกรณ์ในกิจกรรมการทดลอง
ต่
พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ทุกหัวข้อการประเมิน
- 3. ผลการทดลองใช้งานกล้องจุลทรรศȨกาญจȨ
พบว่าสามารถมองเห็น ภาพของวัตถุขยายขนาดได้ คือ มองเห็นผนังเซลล์และนิวเคลียส
ของเซลล์เยื่อหอม เซลล์คุมของผิวใบพืชและเห็นการจัดเรียงชั้นเนื้อเยื่อของโครงสร้างภายในของพืช
ดังต่อไปนี้ โครงสร้างของรากพืชตามยาว โครงสร้างของรากพืชตามขวาง โครงสร้างลาต้นตามขวาง
พืช
โครงสร้างของใบพืชตามขวาง และสามารถมองเห็นและบอกความแตกต่างของการจัดเรียงตัวของ
ท่อลาเลียงในของรากและลาต้นตามขวางของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ได้
ภาพที่ 73 ผนังเซลล์และนิวเคลียสของเซลล์เยื่อหอม
ภาพที่ 74 ลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุ่มท่อน้าท่ออาหารของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
- 6. ผลการศึกษาเปรียบเทียบกล้องจุลทรรศȨกาญจȨกับกล้องจุลทรรศน์ชนิดอื่น
1. การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกล้องจุลทรรศȨกาญจȨกับกล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
1.1 การเปรียบเทียบก้าลังขยายและความชัดเจนของภาพระหว่างกล้องจุลทรรศน์
กาญจนากับกล้องจุลทรรศน์มาตรฐานแบบสองตา
ตารางที่ 3 ภาพจากกล้อง Webcam ของกล้องจุลทรรศน์มาตรฐานก้าลังขยายต่าง ๆ ใช้ในการศึกษา
เปรียบเทียบหาก้าลังขยายของกล้องจุลทรรศȨกาญจȨ
เลนส์ใกล้วัตถุ xใกล้ตา กาลังขยาย ภาพถ่ายจาก Webcam
4 x 10 40
4 x 15 60
4 x 20 80
10 x 10 100
- 7. ตารางที่ 4 ตารางเปรียบเทียบภาพจากกล้อWebcam ของกล้องจุลทรรศȨกาญจȨ ที่มีความยาว
ง
ล้ากล้อง 12 เซนติเมตร ใช้ชุดเลนส์ 10X กับ 20X กับ กล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
กล้องจุลทรรศȨกาญจȨ กล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
(ที่มีความยาวลากล้อง 12 เซนติเมตร
= (กาลังขยาย 40 เท่า)
ใช้เลนส์ใกล้วัตถุ=20X
ใช้เลนส์ใกล้ตา=10X)
จากตารางที่ 4 พบว่าก้าลังขยายของกล้องจุลทรรศȨกาญจȨที่ใช้เลนส์ก้าลังขยาย 10 X
กับ 20X ท้าหน้าที่ เป็นเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้ วัตถุ เปรียบเทียบกับกล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
มีค่าประมาณ 40 เท่า และภาพที่เห็นมีความชัดเจนเทียบเท่ากับกล้องมาตรฐานที่ก้าลังขยาย 40 เท่า
- 8. ตารางที่ 5 ตารางเปรียบเทียบภาพจากกล้อWebcam ของกล้องจุลทรรศȨกาญจȨที่มีความยาวล้ากล้อง
ง
12 เซนติเมตร ใช้ชุดเลนส์ 20X กับ 20X กับ กล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
ภาพถ่ายจาก webcam ของ ภาพถ่ายจาก webcam ของ
กล้องจุลทรรศȨกาญจȨ กล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
ที่มีความยาวลากล้อง12 เซนติเมตร กาลังขยาย 100 เท่า
ใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยาย 20X
ใช้เลนส์ใกล้ตากาลังขยาย 20X
จากตารางที่ 5 พบว่าก้าลังขยายของกล้องจุลทรรศȨกาญจȨที่ใช้เลนส์ก้าลังขยาย 20X
กับ 20X ท้าหน้าที่ เป็นเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้ วัตถุ เปรียบเทียบกับกล้องจุลทรรศน์มาตรฐาน
มีค่าประมาณ 100 เท่า และภาพที่เห็นมีความชัดเจนเทียบเท่ากับกล้องมาตรฐานที่ก้าลังขยาย100 เท่า
จะเห็นว่าการใช้ความยาวล้ากล้อง 12 เซนติเมตรและชุดเลนส์ก้าลังขยาย 20 X กับ 20X
เหมาะสมที่สุดส้าหรับกล้องจุลทรรศȨกาญจȨ
- 9. ภาคผนวก จ
ประมวลภาพ การวิเคราะห์คุณภาพ การนากล้องจุลทรรศȨกาญจȨไปใช้ในกิจกรรม
การเรียนรู้ การเผยแพร่ผลงาน
ภาพที่ 89 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธิพร ธเนศสกุลวัฒนา ประธานโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
และสิ่งแวดล้อม และอาจารย์สุทธิ มลิทองแนะน้าเกี่ยวกับคุณภาพกล้อง
ภาพที่ 90 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธิพร ธเนศสกุลวัฒนา ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรินทร์ ทองค้า และ
อาจารย์สุทธิ มลิทอง ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพกล้องจุลทรรศȨกาญจȨ
- 10. ภาพที่ 91 รองศาสตราจารย์ฑวัต ชีวะเกตุ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
ราชภัฎเชียงราย ผู้รับรองผลการประเมินคุณภาพกล้องจุลทรรศȨกาญจȨ
ภาพที่ 92 ห้องปฏิบัติการที่คับแคบ ปัญหากล้องจุลทรรศน์ไม่พอใช้
- 11. ภาพที่ 93 จุดต่อปลั๊กไฟ ในห้องปฏิบัติการและตู้เก็บกล้องจุลทรรศน์
ภาพที่ 94 การใช้กล้องจุลทรรศȨกาญจȨมาแก้ปัญหากล้องไม่พอใช้
- 30. ภาพที่ 130 ภาพครูมารุต ศาสตร์ข้า ครูช้านาญการพิเศษโรงเรียนเมืองเชียงราย ให้ค้าแนะน้าเกี่ยวกับ
การรายงานผลการใช้กล้องจุลทรรศȨกาญจȨ
ภาพที่ 131 ภาพนายประถม เชื้อหมอ รองผู้อ้านวยการส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
ดูส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศȨกาญจȨในงานนิทรรศการวันวิชาการโรงเรียนอนุบาล
ห้วยสัก ต้าบลห้วยสัก
- 31. ภาพที่ 132 ภาพนายประถม เชื้อหมอ รองผู้อ้านวยการส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
ส่องดูเนื้อเยื่อตัวอย่างจากกล้องจุลทรรศȨกาญจȨในงานนิทรรศการวันวิชาการ
โรงเรียนอนุบาลห้วยสัก
- 32. ภาพที่ 133 ภาพนางบุษกร เชื้อสีดา ศึกษานิเทศก์ประจ้าส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 1
ทดลองหมุนที่ปรับกล้องจุลทรรศȨกาญจȨในงานนิทรรศการวันวิชาการ
โรงเรียนอนุบาลห้วยสัก
- 34. ภาพที่ 135 ภาพนายประเสริฐ กายาไชย นายกองค์การบริหารส่วนต้าบลห้วยสักกล้องส่องดู
เนื้อเยื่อตัวอย่างจุลทรรศน์กาญจนาในงานนิทรรศการวัȨิชาการโรงเรียนอนุบาลห้วยสัก
ภาพที่ 136 ภาพนายชาญชัย มะโนวรรณ์ ก้านันต้าบลห้วยสักส่องดูเนื้อเยื่อตัวอย่างจาก
กล้องจุลทรรศȨกาญจȨในงานนิทรรศการวัȨิชาการโรงเรียนอนุบาลห้วยสัก