1. ใบความรู้ เรือง การแก้สมการตรีโกณมิติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รายวิชาความรู้ พนฐานสํ าหรับแคลคูลส 3
ื" ั รหัสวิชา ค 30104
หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 ชื อหน่ วย ตรีโกณมิติ
ชั" นมัธยมศึกษาปี ที 4 ภาคเรียนที 2 ปี การศึกษา 2555
่
สมการตรีโกณมิติ หมายถึง สมการทีประกอบด้วยพจน์ทีอยูในรู ปฟังก์ชนตรี โกณมิติของตัวแปร
ั
แบ่งออกได้ ดังนี'
1. สมการเอกลักษณ์ หรื อ เอกลักษณ์ หมายถึง สมการทีเป็ นจริ ง เมือแทนตัวแปรด้วยจํานวนจริ ง
ใด ๆ เช่น sin2x + cos2 x = 1, 1 + tan2x = sec2x, 1 + cot2x = cos2x
2. สมการมีเงือนไข หรื อ สมการทีมีสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์เพียงบางตัว หรื อไม่มีจานวนจริ ง
ํ
ใด ๆ ซึ งเมือแทนตัวแปรในสมการนั'นและทําให้เป็ นจริ ง เช่น sin x = 1, cos x = 1
หลักการแก้ สมการตรีโกณมิติ
1. หาคําตอบทั'งหมดของสมการในช่วง [0, 2π] หรื อช่วงทีโจทย์กาหนด ํ
่
2. หาคําตอบทัวไปของ x คือคําตอบของสมการทีอยูในรู ปทัวไปภายใต้เอกภพสัมพัทธ์ R
ค่าของฟังก์ชนตรี โกณมิติของจํานวนจริ งหรื อมุมใด ๆ อาจจะซํ'ากันได้ ดังนั'นในการหาคําตอบของ
ั
ํ ่ ่
สมการถ้าโจทย์ไม่ได้กาหนดให้คาตอบอยูในช่วงใดช่วงหนึงแล้วคําตอบควรจะอยูในรู ปของค่าทัวไป
ํ
ตัวอย่ างที 1 จงแก้สมการ sin x + √2 = -sin x
วิธีทา
ํ sin x + √2 = -sin x
sin x + sin x + √2 = 0
sin x + sin x = - √2
2 sin x = - √2
√
sin x = -
√
เนืองจาก sin x มีความยาวคาบเท่ากับ 2π และมุมทีทําให้ sin x = -
π π
ในช่วง [0, 2π) คือ x = และ x =
ดังนั'น คําตอบของสมการในรู ปทัวไป คือ
π π
x = + 2nπ และ x = + 2nπ
เมือ n เป็ นจํานวนเต็ม
2. ตัวอย่ างที 2 จงแก้สมการ 3 tan2 x – 1 = 0
วิธีทา
ํ 3 tan2 x – 1 = 0
3 tan2 x =1
tan2 x =
tan x = ±
√
√
เนืองจาก tan x มีความยาวคาบเท่ากับ π และมุมทีทําให้ sin x =-
π π
ในช่วง [0, π) คือ x = และ x =
ดังนั'น คําตอบของสมการในรู ปทัวไป คือ
π π
x = + nπ และ x = + nπ
เมือ n เป็ นจํานวนเต็ม
ตัวอย่ างที 3 จงแก้สมการ cot x cos2x = 2 cot x
วิธีทา
ํ cot x cos2x = 2 cot x
cot x cos2x - 2 cot x = 0
cot x (cos2x - 2) = 0
cot x = 0 และ cos2x - 2 = 0
π
x= cos2x = 2
cos x = ±√2
π
ในช่วง (0, π) ค่าของ cot x = 0 ที x = แต่ cos x = ±√2 ไม่ได้
่
เนืองจาก ± √2 ไม่ได้อยูในช่วง [-1, 1]
ดังนั'น คําตอบของสมการในรู ปทัวไป คือ
π
x = + nπ
เมือ n เป็ นจํานวนเต็ม
3. ตัวอย่ างที 4 จงแก้สมการ 2 sin2 x + 3 cos x – 3 = 0
วิธีทา
ํ 2 sin2 x + 3 cos x – 3 = 0
2 (1 - cos2 x) + 3 cos x – 3 = 0
2 – 2 cos2 x + 3 cos x – 3 = 0
-2 cos2 x + 3 cos x – 1 = 0
2 cos2 x - 3 cos x + 1 = 0
(2 cos x - 1)(cos x - 1) = 0
หาเซตคําตอบของสมการในช่วง [0, 2π) ดังนี'
2 cos x – 1 =0 และ cos x – 1 =0
cos x = cos x = 1
x = ,
π π
x=0
เพราะว่า cos x มีความยาวคาบเท่ากับ 2π
ดังนั'น คําตอบของสมการในรู ปทัวไป คือ
π π
x = 2nπ, x = + 2nπ, x = + 2nπ
เมือ n เป็ นจํานวนเต็ม
ตัวอย่ างที 5 จงแก้สมการ 2 cos 3x - 1 = 0
วิธีทา
ํ 2 cos 3x - 1 = 0
2 cos 3x = 1
cos 3x =
π π
ในช่วง [0, 2π) ค่าของ cos 3x = ที 3x = และ 3x =
ดังนั'น คําตอบของสมการในรู ปทัวไป คือ
π π
3x = + 2nπ, 3x = + 2nπ
นํา 3 หารตลอดสมการทีเป็ นคําตอบ จะได้
π π π π
x= + , x= +
เมือ n เป็ นจํานวนเต็ม
4. ตัวอย่ างที 6 จงแก้สมการ 3 tan + 3 = 0
วิธีทา
ํ 3 tan + 3 = 0
3 tan = -3
tan = -1
π
ในช่วง [0, π) ค่าของ tan = -1 ที =
ดังนั'น คําตอบของสมการในรู ปทัวไป คือ
π
= + nπ
นํา 2 คูณตลอดสมการทีเป็ นคําตอบ จะได้
π
x = + 2nπ
เมือ n เป็ นจํานวนเต็ม
ตัวอย่ างที 7 จงแก้สมการ sec2x – 2 tan x = 4
วิธีทา
ํ sec2x – 2 tan x =4
1 + tan2x – 2 tan x – 4 =0
2
tan x – 2 tan x – 3 =0
(tan x - 3)(tan x + 1) = 0
หาคําตอบของสมการ โดยพิจารณาจากเรนจ์ของฟังก์ชนผกผันของ tan x
ั
คือ − , ดังนี'
tan x – 3 = 0 และ tan x + 1 = 0
tan x = 3 tan x = -1
π
x = arc tan 3 x=-
เพราะว่า tan x มีความยาวคาบเท่ากับ π
ดังนั'น คําตอบของสมการในรู ปทัวไป คือ
π
x = arc tan 3 + nπ, x = - + nπ
เมือ n เป็ นจํานวนเต็ม
5. ตัวอย่ างที 8 จงแก้สมการ 2 sin2x – sin x – 1 = 0 ในช่วง [0, 2π)
วิธีทา
ํ 2 sin2x – sin x – 1 = 0
(2 sin x + 1)(sin x - 1) = 0
หาคําตอบของสมการในช่วง [0, 2π) จะได้
2 sin x + 1 = 0 และ sin x – 1 = 0
sin x = − sin x = 1
π π π
x= , x=
ตัวอย่ างที 9 จงแก้สมการ cos x + 1 = sin x ในช่วง [0, 2π)
วิธีทา
ํ cos x + 1 = sin x
(cos x + 1)2 = (sin x)2
cos2x + 2 cos x + 1 = 1 – cos2x
cos2x + cos2x + 2 cos x + 1 – 1 = 0
2 cos2x + 2 cos x = 0
2 cos x (cos x + 1) = 0
2 cos x = 0 และ cos x + 1 = 0
cos x = 0 cos x = -1
π π
x= , x =π
เนืองจากเป็ นการแก้สมการโดยการยกกําลังสอง ต้องตรวจสอบคําตอบ
π π π
ที x = จะได้ cos + 1 = sin
0+1 = 1
1=1
π π π
ที x = จะได้ cos + 1 = sin
0 + 1 ≠ -1
1 ≠ -1
ที x = π จะได้ cos π + 1 = sin π
-1 + 1 = 0
0=0
π
ดังนั'นคําตอบของสมการในช่วง [0, 2π) คือ x = และ x = π
6. แบบฝึ กหัด เรือง การแก้สมการตรีโกณมิติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รายวิชาความรู้ พนฐานสํ าหรับแคลคูลส 3
ื" ั รหัสวิชา ค 30104
หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 ชื อหน่ วย ตรีโกณมิติ
ชั" นมัธยมศึกษาปี ที 4 ภาคเรียนที 2 ปี การศึกษา 2555
ชือ – สกุล ………………………………………………………………….. ชั'น ............... เลขที ............
ตอนที 1 จงแสดงวิธีแก้สมการ และหาคําตอบในรู ปทัวไป
1. 2 cos x + 1 = 0
2. √3 cosec x – 2 = 0
3. 3 sec2 x – 4 = 0
4. 4 cos2x – 1 = 0
5. tan 3x (tan x - 1) = 0
6. 2 sin2x = 2 + cos x
7. 2 sec2x + tan2x – 3 = 0
8. csc x + cot x = 1
9. sec 4x = 2
√
10. cos =
ตอนที 2 จงแสดงวิธีแก้สมการ และหาคําตอบของสมการในช่วง [0, 2π)
1. + =4
2. =3
3. tan2x – 6 tanx + 5 = 0
4. sec2x + tan x – 3 = 0
5. cos x – sin x = 0