โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
- 2. บทนา
ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่ส้าคัญประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้้าเพื่อ
เกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่เกษตรที่อาศัยน้้าฝน ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของ
ประเทศที่อยู่ในเขตที่มีฝนค่อนข้างน้อย และส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงท้า
การเพาะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่านัน และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจาก
้
ความแปรปรวนของดิน ฟ้า อากาศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมีการขุดบ่อหรือสระเก็บน้้าไว้ใช้บ้าง
แต่ก็ไม่มีขนาดแน่นอน หรือมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นปัญหาให้มีน้าใช้ไม่เพียงพอ รวมทั้งระบบการ
ปลูกพืชไม่มีหลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว
- 5. ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น
การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ท้ากิน
ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น
๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง พื้นที่
ส่วนหนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักน้้าเพื่อใช้เก็บกัก
น้้าฝนในฤดูฝนและใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจน
การเลี้ยงสัตว์น้าและพืชน้้าต่าง ๆ
พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้
เป็นอาหารประจ้าวันส้าหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี
เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
- 6. พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่
พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจ้าวัน หากเหลือบริโภคก็น้าไป
จ้าหน่าย
พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง
และโรงเรือนอื่น ๆ
- 7. หลักการและแนวทางสาคัญ
๑. เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกรสามารถเลี้ยง
ตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน ทั้งนี้ชุมชนต้องมีความสามัคคี
ร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ท้านองเดียวกับการ "ลง
แขก" แบบดั้งเดิมเพื่อลดค่าใช้จ่าย
๒. เนื่องจากข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะต้องบริโภค ดังนั้น จึง
ประมาณว่าครอบครัวหนึ่งท้านาประมาณ ๕ ไร่ จะท้าให้มีข้าวพอกิน
ตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาในราคาแพงเพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมี
อิสรภาพ
- 8. ๓. ต้องมีน้าเพื่อการเพาะปลูกส้ารองไว้ใช้ในฤดูแล้ง หรือระยะฝนทิ้งช่วงได้อย่าง
พอเพียง ดังนั้นจึงจ้าเป็นต้องกันที่ดินส่วนหนึ่งไว้ขุดสระน้้า โดยมีหลักว่าต้องมีน้า
เพียงพอที่จะท้าการเพาะปลูกได้ตลอดปี ทั้งนี้ได้พระราชทานพระราชด้าริเป็น
แนวทางว่า ต้องมีน้า ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก ๑ ไร่ โดยประมาณ
ฉะนั้น เมื่อท้านา ๕ ไร่ ท้าพืชไร่หรือไม้ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็น ๑๐ ไร่) จะต้องมีน้า
๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อปี
- 9. ดังนั้นหากตั้งสมมุติฐานว่ามีพื้นที่ ๑๕ ไร่ ก็จะสามารถก้าหนด
สูตรคร่าว ๆ ว่า แต่ละแปลงประกอบด้วย - นา ๕ ไร่ - พืชไร่
พืชสวน ๕ ไร่ - สระน้้า ๓ ไร่ ลึก ๔ เมตร จุประมาณ
๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็นปริมาณน้้าที่เพียงพอที่จะ
ส้ารองไว้ใช้ยามฤดูแล้ง - ที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ ๒ ไร่ รวม
ทั้งหมด ๑๕ ไร่
- 10. การมีสระเก็บกักน้้าก็เพื่อให้เกษตรกรได้มีน้าใช้อย่างสม่้าเสมอทั้งปี
(ทรง
เรียกว่า Regulator หมายถึงการควบคุมให้ดีมีระบบน้้าหมุนเวียนใช้เพื่อ
การเกษตรได้โดยตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง) โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
หน้าแล้งและระยะฝนทิ้งช่วง แต่มิได้หมายความว่าเกษตรกรจะสามารถ
ปลูกข้าวนาปรับได้ เพราะหากน้้าในสระเก็บกักน้้าไม่พอ ในกรณีมีเขื่อน
อยู่บริเวณใกล้เคียงก็อาจจะต้องสูบน้้ามาจากเขื่อน ซึ่งจะท้าให้น้าในเขื่อน
หมดได้ แต่เกษตรกรควรท้านาในหน้าฝน และเมื่อถึงฤดูแล้งหรือฝนทิ้ง
ช่วงให้เกษตรกรใช้น้าที่ได้เก็บตุนนั้น ให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตร
อย่างสูงสุด โดยพิจารณาปลูกพืชให้เหมาะสมกับฤดูกาล เช่น
- 11. หน้าฝนจะมีน้ามากพอที่จะปลูกข้าวและพืชชนิดอื่น ๆ ได้ - หน้าแล้ง
หรือฝนทิ้งช่วง ควรปลูกพืชที่ใช้น้าน้อย เช่น ถั่วต่าง ๆ ๔. การจัดแบ่ง
แปลงที่ดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงค้านวณ และค้านึงจากอัตราการถือครองที่ดินถัวเฉลี่ยครัวเรือนละ
๑๕ ไร่ อย่างไรก็ตามหากเกษตรกรมีพื้นที่ถือครองน้อยกว่า หรือ
มากกว่านี้ก็สามารถใช้อัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ไปเป็นเกณฑ์ปรับ
ใช้ได้ กล่าวคือ
- 12. ๓๐% ส่วนแรก ขุดสระน้้า (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน้้า เช่น ผักบุ้ง ผักกะเฉด ฯลฯ ได้
ด้วย) และบนสระอาจจะสร้างเล้าไก่ได้ด้วย - ๓๐% ส่วนที่สอง ท้านา - ๓๐% ส่วนที่สาม
ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยืนต้น ไม้ใช้สอย ไม้เพื่อเป็นเชื้อฟืน ไม้สร้างบ้าน พืชไร่
พืชผัก สมุนไพร เป็นต้น) - ๑๐% สุดท้าย เป็นที่อยู่อาศัยและอืน ๆ (ถนน คันดิน กอง
่
ฟาง ลานตาก กองปุ๋ยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักสวน
ครัวหลังบ้าน เป็นต้น)
ที่มา
นางสาวบุษยรังสี หาสุทธิใจ ม4/6 เลขที่ 43