ݺߣ
Submit Search
งาȨำเสนอ
•
1 like
•
523 views
Kunthida Kik
Follow
1 of 10
Download now
Download to read offline
More Related Content
งาȨำเสนอ
1.
พลังงาȨฟฟา
้
2.
ไฟฟาสถิต (Statics Electricity)
้ ไฟฟาสถิต เป็ นกระแสไฟฟาที่เกิดจากการเสียดสีของวัตถุ 2 ชนิด คือแท่ง ้ ้ แก้ วนามาขัดถูกบผ้ าไหม จะมีผลทาให้ ทาให้ อิเล็กตรอนย้ ายที่ แท่งแก้ วจะมี ั อานาจไฟฟาดึงดูดวัตถุเบา ๆ เช่น เศษกระดาษ หรื อไฟฟาสถิตที่เกิดจาก ้ ้ ธรรมชาติ เช่น ฟาแล็บ ฟาร้ อง ฟาผ่า ้ ้ ้
3.
ไฟฟากระแส (Current Electricity)
้ คือแหล่งกาเนิดไฟฟาที่มนุษย์สามารถผลิตขึ ้นมาเพื่อใช้ งานด้ านต่างๆได้ อย่าง ้ มากมายโดยการส่งกระแสไฟฟาให้ เคลื่อน ที่ ไปในลวดตัวนา แบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคือ ้ ไฟฟากระแสตรง( Direct Current) ไฟฟากระแสสลับ (Alternation ้ ้ Current)
4.
ไฟฟากระแสตรง (Direct Current)
้ ไฟฟากระแสตรงนี ้จะมีทศทางการไหลไปในลวดตัวนาเพียงทิศทางเดียวโดย ้ ิ กระแสไฟฟาจะไหลจากขัวลบไปยังขัวบวก เสมอ เราเรี ยกว่ากระแสอิเล็กตรอน ้ ้ ้ (Electron - Current) แต่เรานิยมให้ กระแสไฟฟาไหลจากขัวบวกไปหาขัวลบ ้ ้ ้ เราเรี ยกว่า กระแสนิยม (Conventional- Current)แหล่งกาเนิดไฟฟา ้ กระแสตรงนันมีต้นกาเนิดมาจากเซลไฟฟา เช่น ถ่านไฟฉายและเบตเตอรี่ รถยนต์ ้ ้
5.
• เซลไฟฟา คือต้
นกาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟาที่ใช้ ปฏิกิริยาทางเคมี แบ่ง ้ ้ ตามลักษณะการใช้ งาน ได้ 2 ชนิดคือ 1.) เซลปฐมภูมิ (Primary Cell) คือเซลไฟฟาที่นามาใช้ งาน ้ จนหมดสภาพแล้ วเราไม่สามารถนามาใช้ ได้ อีก เช่น ถ่านไฟฉาย
6.
2.) เซลทุติยภูมิ (SecondaryCell)แบตเตอรี่
แบบสะสมคือเซลไฟฟาที่ ้ นามาใช้ งานแล้ วสามารถนากลับมาใช้ ใหม่ ได้ อีก โดยการเติมประจุ (Charge) เข้ าที่เซลล์ไฟฟานี ้ เช่น แบตเตอรี่ รถยนต์ หรื อถ่านนิเกิลแคดเมี่ยมที่ใช้ กบ ้ ั โทรศัพท์มือถือ
7.
ไฟฟากระแสสลับ (Alternation Current)
เป็ นกระแสไฟฟาที่มี ้ ้ การไหลเปลี่ยนแปลงอย่ตลอดเวลาคือมีทงขัวบวกและขัวลบ สลับกัน โดยหลักการ ั้ ้ ้ พื ้นฐานแล้ วกระแสไฟฟาสลับนี ้เกิด จากการเหนี่ยวนาของสนามแม่เหล็กตัดกับ ้ ขดลวด โดยการ นาเอาขดลวดไปวางไว้ ระหว่างสนามแม่เหล็กและหมุนขดลวดนัน ้ แล้ วใช้ เทคนิคในการต่อขัวทังสองของขดลวดออก มาเราก็สามารถบังคับให้ ้ ้ กระแสไฟฟาสลับออกมาใช้ งานได้ ้
8.
ทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟาที่เกิดขึ ้นในขดลวด จะเปลี่ยนแปลงไปตามการ
้ หมุนซึงตรวจดูความสัมพันธ์ ระหว่างมุมที่ขด ลวดกับขนาดทิศทางของ ่ แรงเคลื่อนไฟฟาที่เกิดขึ ้น จะได้ ผลดังรูป ้
9.
เมื่อขดลวดอยูในตาแหน่ง (a)กาหนดให้ เป็
นมุม 0 องศาและกาหนดให้ ่ ขดลวดหมุนไปตามทิศทางของลูกศรในรูปเมื่อขดลวดอยู่ 0องศาขดลวดไม่ได้ ติดฟลักซ์แม่เหล็กแรงเคลื่อนไฟฟาจะเป็ น0 เมื่อขดลวดหมุนไปอยูที่ 30 องศา ้ ่ และ 60 องศาแรงเคลื่อนไฟฟาจะมีคาสูงขึ ้นและมีกระแสไหลจาก A ไป B ถ้ า ้ ่ กาหนดให้ ทิศดังกล่าวเป็ นบวกทิศของแรงเคลื่อนไฟฟาซึงเป็ นบวกด้ วยเมื่อ ้ ่ ขดลวดมาอยูตาแหน่งที่ (b) คือ 90 องศา ขดลวด A จะอยูใต้ แม่เหล็ก S พอดี ่ ่ แรงเคลื่อนไฟฟาจะมีคาสูงสุดเมื่อขดลวดหมุนไปที่ 120 องศา และ 150 องศา ้ ่ แรงเคลื่อนไฟฟาจะมีคาลดลงและจะเป็ น 0 เมื่อขดลวดอยูในตาแหน่ง (c ) คือ ้ ่ ่ ที่ 180 องศา เมื่อเลย 180องศาไปจะเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาขึ ้นอีกแต่มีทิศทาง ้ กลับกันกระแสจะไหลจาก B ไป A เมื่อขดลวดหมุนไปเรื่ อยๆก็จะได้ ขนาดและ ทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟาเหมือนรูปข้ างต้ น ้
10.
ผู้จัดทำ ด.ช. อมรศิลป์
กันวงค์ เลขที่ 17 ด.ช. ชญำนนท์ ศรีโชติ เลขที่ 18 ด.ญ. กรรณิกำ กันทะไชย เลขที่ 19 ด.ญ. กุลธิดำ ขัดแก้ ว เลขที่ 20 ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 3/3
Download