โครงการธȨคารྺ้าว
- 1. โครงการธนาคารข้า ว
" ... โครงการที่ได้ปฏิบติมาจนถึงเดียวนี้ก็ได้ใช้ขาวเป็น
ั ๋ ้
จำานวนมาก สำาหรับส่งไปสงเคราะห์ในบริเวณชายแดน
โดยอาศัยการส่งไปให้แก่เจ้าหน้าที่เพือที่จะได้แจกจ่าย
่
แก่ผที่ขาดแคลน นอกจากนี้ก็ได้ปฏิบัติอีกวิธีหนึ่ง คือ
ู้
นอกจากจะไปแจกแก่ผที่ขาดแคลนคือ ได้ไปตั้งเป็นคลัง
ู้
เป็นฉางข้าวในบางแห่ง คือ บางแห่งมีความขาดแคลน
ข้าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งปีที่แล้วก็มความเดือดร้อน เพราะ
ี
ว่ามีการขาดนำ้า ทำาให้ข้าไม่ได้ผลเพียงพอจึงได้ให้ขาว้
จำานวนหนึ่งแก่หมูบานและตั้งเป็นฉางข้าว กล่าวคือ ให้
่ ้
ข้าวไว้และก็ถ้าต่อมาเขามีรายได้เพิ่มขึ้นหรือปลูกข้าวได้
ก็เอามาคืน โดยมีดอกเบียเพิมเติมเข้ามา ข้าวทีให้ไปจึง
้ ่ ่
เป็นข้าวที่หมุนเวียนและทำาให้ประชาชนสามารถที่จะ
เข้าใจถึงการประหยัดถึงวิธที่จะร่วมมือกัน มีชีวิตเป็นก
ี
ลุ่ม ..."
- 2. ทีม าของโครงการธนาคารข้า ว
่
ปัจจุบน ประเทศไทยมีผลผลิตข้าวปีละประมาณ ๑๙ ล้านตัน เป็นประเทศส่ง
ั
ออกข้าวรายใหญ่รายหนึ่งของโลก นับเป็นประเทศที่มีธญพืชและทรัพยากร
ั
อุดมสมบูรณ์ยิ่งแห่งหนึง แต่ก็ยังมีผคนในชนบทจำานวนมาก ภายหลังจาก
่ ู้
ที่ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของตนไปแล้ว กลับขาดแคลนข้าวที่จะบริโภค หรือใช้
ทำาพันธุ์ในฤดูเพาะปลูกครั้งต่อไป
การขาดแคลนข้าวของชาวนาในชนบทเป็นความเดือดร้อนอย่างยิ่ง ครัว
เรือนที่ยากจนมักแก้ไขปัญหา โดยวิธีกู้ยืมจากพ่อค้าคนกลาง ซึ่งอาจจะกู้ยืม
เป็นข้าว หรือเป็นเงิน โดยต้องเสียดอกเบียในอัตราที่สูงมาก เฉลี่ยแล้วราวร้อย
้
ละ ๓๐-๑๒๐ บาทต่อปี ในบางกรณีกต้องกู้ยืมโดยวิธีการขายข้าวเขียว ซึ่งเป็น
็
ผลให้ผกู้เสียเปรียบอย่างมาก ทำาให้ผลผลิตข้าวที่ได้ไม่เพียงพอสำาหรับการ
ู้
บริโภค และการชำาระหนี้ ในที่สุดก็กลายเป็นผูที่มหนี้สินพอกพูน ตกอยู่ใน
้ ี
สภาพที่ยากจน ล้าหลัง ไม่สามารถพึงตนเองได้ และเป็นที่มาของปัญหาการ
่
พัฒนาด้านอื่น ๆ ต่อไปอีก
- 3. ทีม าของโครงการธนาคารข้า ว (ต่อ )
่
การที่ประเทศเรามีธัญพืชมากพอทีจะเลี้ยงดูคนทั้งประเทศ แต่ก็ยังมีผที่ไม่มี
่ ู้
ข้าวพอกินเป็นสองภาพที่ขดแย้งกันของชนบทไทย ปรากฏการณ์เช่นนี้เกิดขึ้น
ั
ด้วยปัจจัยหลายประการประกอบกัน นับแต่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน
และนำ้า ประสิทธิภาพของการผลิต การควบคุมระบบตลาด กลไกราคา และ
ภาวะการค้าต่างประเทศ แม้ว่า รัฐบาลจะกำาหนดนโยบายและวางแผนที่จะ
แก้ไขปัญหาแหล่านี้ดวยมาตรการต่าง ๆ จำานวนมาก แต่การเปลียนแปลง
้ ่
แก้ไขก็เป็นเรื่องระยะยาวที่มองไม่เห็นผลในทันที
- 4. วัต ถุป ระสงค์ข องการจัด ตั้ง
1.เพือให้เป็นไปตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
่
2.เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎรที่ประสบทุพภิกขภัยในถินทุรกันดาร
่
3.เพื่อให้ราษฎรผูประสบภัยมีข้าวพอเพียงต่อการบริโภคตลอดปี
้
4.เพื่อป้องกันผูฉวยโอกาสที่จะเข้าแสวงหาผลประโยชน์อันไม่เป็นธรรมแก่
้
ราษฎรผูประสบภัยซึ่งยากจน
้
และขาดแคลนข้าวเพื่อบริโภค
5.เพื่อเป็นพืนฐานให้ราษฎรได้เข้าใจหลักการเบืองต้นของระบบสหกรณ์ซึ่งจะ
้ ้
ได้ดำาเนินการที่สมควรต่อไป
6.เพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยของราษฎรผูประสบภัยให้รู้จักอยู่ร่วมกันในระบอบ
้
ประชาธิปไตย โดยการเอื้อเฟื้อเผือแผ่
่
มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและผูอื่น อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้น
้
ให้ราษฎรมีความขยันขันแข็ง
ในการประกอบอาชีพ
7.เพื่อเป็นพืนฐานในการสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่าง
้
ราษฎรกับเจ้าหน้าที่
8.เพื่อเป็นการช่วยเหลือราษฎรให้รู้จักประหยัดทรัพย์
- 5. หลัก การตั้ง โครงการธนาคารข้า ว
1.จัดตั้งในหมูบานที่มประชาชนร้องขอหรือทราบว่าราษฎรขาดแคลนเพื่อ
่ ้ ี
บริโภคและไม่
สามารถดำาเนินการจัดหาข้าว เพือบริโภคในหมูบ้านได้เพียงพอ
่ ่
2.ไม่จัดตั้งซำ้าซ้อนหรือใกล้เคียงกับหมู่บานที่มการจัดตั้งโครงการธȨคารྺ้าว
้ ี
ของหน่วยงานอื่นทีได้ดำาเนินการอยู่
่
3.พิจารณาพื้นทีที่จัดตั้งโดยคำานึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับต่อหมู่บานบริวาร
่ ้
4.ดำาเนินการจัดตั้งในหมูบานที่มความปลอดภัยในการควบคุมและติดตามผล
่ ้ ี
5.ไม่เป็นหมู่บานที่มแนวโน้มที่จะมีการโยกย้าย
้ ี
- 6. แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯ สู่ภมภาคต่าง ๆ ในท้องถิ่นชนบทของ
ู ิ
ประเทศอย่างสมำ่าเสมอมานับสิบปี ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงทรงเห็นสภาพความ
ยากจน เดือดร้อนและเข้าพระราชหฤทัยอย่างลึกซึ้งแจ่มชัดถึงสาเหตุแห่ง
ปัญหา พระองค์ทรงริเริ่มและพระราชทานแนวพระราชดำาริในการแก้ไขปัญหา
ในระดับต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ทรงตั้งพระราชหฤทัยที่จะให้ประชาชนพึ่ง
ตนเอง ให้พึ่งพาอาศัยปัจจัยภายนอกให้นอยที่สุด ในบางเรื่องทรงเห็นว่าการ
้
จัดสรรทรัพยากรและโครงสร้างพืนฐานที่สำาคัญ ๆ จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ใน
้
ระยะยาวและในบางกรณีก็ทรงเห็นว่า จำาเป็นต้องมีมาตรการแก้ไขความเดือน
ร้อนเฉพาะหน้าของราษฎร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่องข้าว ทรงพยายามทำา
ทุกวิถีทางในเกษตรกรมีข้าวพอกินอาจกล่าวได้ว่า
- 7. แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว (ต่อ )
"ธนาคารข้า ว" เป็นผลมาจากพระปรีชาดังกล่าว เป็นความพยายามด้าน
หนึ่งที่จะแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และเป็นพะราชประสงค์โดยตรงที่จะให้ทาง
ราชการไปช่วยเหลือในการจัดตั้งธนาคารข้าว เพือประโยชน์แก่เกษตรกรที่
่
ยากจนโดยทั่วไป อาจกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงมีบทบาทสำาคัญยิ่งในการก่อรูป
"ธนาคารข้าว" ขึ้น และทำาให้ธนาคารข้าวกลายเป็นแนวคิดที่แพร่หลาย เป็น
นโยบายของรัฐและเป็นแผนงานสำาคัญแผนหนึ่งของการพัฒนาชนบทยากจน
ที่ผานมา
่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนให้มการจัดตั้งธนาคารข้าว ขึ้น
ี
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เมือครั้งทรงเสด็จพระราชดำาเนินไปเยี่ยมราษฎรชาวเขา
่
เผากะเหรี่ยง ในเขตอำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้พระราชทานข้าว
เปลือกจำานวนหนึ่งให้แก่ผใหญ่บานหลายหมู่บาน เพื่อให้เป็นทุนเริ่มดำาเนิน
ู้ ้ ้
กิจการธนาคารข้าว ได้พระราชทานแนวทางดำาเนินงานไว้อย่างละเอียด
ชัดเจน ดังบันทึกดังต่อไปนี้
- 8. แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว (ต่อ )
"ให้มคณะกรรมการควบคุม ทีคัดเลือกจากราษฎรในหมูบาน เป็นผูเก็บรักษา
ี ่ ่ ้ ้
พิจารณาจำานวนข้าวที่จะให้ยืมและรับข้าวคืน ตลอดจนจัดทำาบัญชีทำาการของ
ธนาคารข้าว ราษฎรที่ต้องการข้าวไปใช้บริโภคในยามจำาเป็น ให้ลงบัญชียืม
ข้าวไปใช้จำานวนหนึ่ง เมือสามารถเก็บเกียวข้าวได้แล้ว ก็นำามาคืนธนาคาร
่ ่
พร้อมด้วยดอกเบี้ยจำานวนเล็กน้อยตามแต่ตกลงกัน ซึ่งข้าวที่เป็นดอกเบียดัง
้
กล่าวก็จะเก็บรวมไว้ในธนาคาร และถือเป็นสมบัติของส่วนรวม สำาหรับ
กรรมการควบคุมข้าวนั้น มีสิทธิในการขอยืมข้าวเท่ากับราษฎรทุกประการ
ต้องอธิบายให้กรรมการและราษฎรเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง ถึงหลักการของ
ธนาคารข้าว โดยพยายามชี้แจงอย่างง่าย ๆ แต่ต้องให้แน่ใจว่า ทุกคนเข้าใจดี
กรรมการและราษฎรก็ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อหลักการ เมือยืมข้าวจากธนาคาร
่
ข้าว ซึ่งเป็นของส่วนรวมไปใช้ และถึงกำาหนดเวลาที่สัญญาไว้ ก็ต้องนำาข้าวมา
คืนพร้อมด้วยดอกเบีย นอกจากว่ามีเหตุสุดวิสัย ซึ่งต้องชี้แจ้งให้กรรมการ
้
พิจารณาข้อเท็จจริง ราษฎรต้องร่วมมือกันสร้างยุ้งที่แข็งแรง ทังนีหากปฏิบติ
้ ้ ั
ตามหลักการที่วางไว้ จำานวนข้าวที่หมุนเวียนในธนาคารจะไม่มวันหมด แต่จะ
ี
ค่อยๆ เพิ่มจำานวนขึ้น และจะมีข้าวสำาหรับบริโภคตลอดไปจนถึงลูกหลาน ใน
ที่สดธนาคารข้าวก็จะเป็นแหล่งที่รักษา ผลประโยชน์ของราษฎรในหมูบาน
ุ ่ ้
และเป็นแหล่งอาหารสำารองของหมูบานด้วย“
่ ้
การดำา เนิน การได้ต ิด ตามผล
- 9. สรุป
ธนาคารข้าว เป็นโครงการในเชิงการให้สวัสดิการสังคม สิ่งที่เกิดขึนเท่ากับ
้
เป็นการโอนรายได้ (Transfer income) จากคนรวยไปยังคนจนและเป็นการ
กระจายรายได้ททุกฝ่ายได้รับประโยชน์ ราษฎรมีแหล่งข้าวกลางของหมู่บานที่
ี่ ้
สามารถกูยืมไปบริโภคหรือทำาพันธุ์ โดยเสียดอกเบียในอัตราตำ่ากว่าอัตราซึ่ง
้ ้
ต้องเสียให้แก่พอค้าคนกลางเป็นอันมาก ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนจากการ
่
อดอยากขาดแคลน ช่วยยกระดับฐานะความเป็นอยู่ และระดับรายได้ของ
เกษตรกรทียากจน เป็นการแก้ปญหาที่ได้ผลและตรงจุดประการหนึ่ง
่ ั
สิ่งที่ได้มานอกจากนัน เป็นเรื่องที่มองไม่เห็นผลโดยตรง แต่เป็นเรื่องทีสำาคัญ
้ ่
ยิ่ง เพราะเป็นการสร้างพืนฐานสำาคัญของการพัฒนาสร้างความสมัครสมาน
้
สามัคคีของชุมชนในการ ที่จะเรียนรู้และดำาเนินการแก้ไขปัญหาของตนซึ่งเป็น
สิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยำ้าอยู่เสมอ ในเรื่องความเข้าใจของ
ราษฎร ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ และความรู้สึกมีส่วนร่วม พระองค์ทรง
เห็นว่า สิ่งเหล่านี้ปลูกฝังได้ ธนาคารข้าวอาจทำาหน้าทีเป็นโรงเรียนที่ดี ในขณะ
่
เดียวกัน ก็เป็นตัวชี้ถงประสิทธิภาพ และความเข้มแข็งของชุมชน นั้น ๆ
ึ
ธนาคารข้าวที่ประสบความสำาเร็จมิได้บรรลุเพียงจุดมุงหมายพืนฐานในการ
่ ้
บรรเทาการขาดแคลนข้าวเท่านั้น แต่ยังได้สร้างกิจกรรมต่อเนื่องอืน ๆ ที่ส่งผล
่
ต่อการพัฒนาคุณภาพ สร้างการมีสวนร่วมภาวะผูนำา และความร่วมมือในระดับ
่ ้
ชุมชนอีกด้วย
- 10. สรุป (ต่อ )
กิจกรรมธนาคารข้าวในท้องที่หลายแห่งเป็นที่มาของความคิดสร้างสรรค์ต่าง
ๆ ของชาวบ้านที่ร่วมใจกันหาวิธีการนำาข้าวมาเข้ากองทุน และในอีกหลายท้อง
ที่ ผลประโยชน์ที่เพิมพูนขึ้นจากการดำาเนินกิจกรรมธนาคารข้าว ถูกนำามาใช้
่
ในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อความสำาเร็จที่เกิดขึ้น
จากการร่วมมือกันใน จุดเล็ก ๆ ทีพร้อมจะเติบโตต่อไป
่
รัฐบาลโดยหน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะกรมการพัฒนาชุมชน ได้รับสนอง
พระบรมราโชบาย ขยายขอบเขตการดำาเนินงานธนาคารข้าวออกไปอย่าง
กว้างขวาง จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๘ มีธนาคารข้าวทีจัดตั้งขึ้นในท้องถิ่นต่างๆ ทัว
่ ่
ประเทศ มากกว่า ๔,๓๐๐ แห่ง ครอบคลุมพืนที่ ๕๗ จังหวัด จำานวนข้าว
้
หมุนเวียนในธนาคารข้าวมากกว่า ๑๔.๕ ล้านกิโลกรัม หลักการดำาเนินงาน
ของธนาคารข้าว ปัจจุบนสามารถปรับใช้ได้กับสภาพปัญหาและความจำาเป็นที่
ั
แตกต่างกันของแต่ละพืนที่ เช่น ลักษณะการให้บริการ ซึ่งมีทั้งให้เปล่า ให้โดย
้
แลกแรงงาน ให้ยืมหรือให้กู้สำาหรับทุนดำาเนินงานนั้น อาจหาทุนได้หลายวิธี
เช่น การรับบริจาค การเรียกหุ้น ฯลฯ และในกรณีที่ไม่สามารถจัดตั้งกองทุน
เริ่มต้นขี้นมาได้เอง ก็อาจเสนอแผนงานเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ
ได้