โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
- 3. พระราชึϸริ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หว ได้ทรงมีพระราช
ั
ดารัสว่ า “…ถึงบอกว่ าเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่สองอย่างนี้จะทา
ความเจริญแก่ประเทศได้แต่ตองมี
้
ความเพียร แล้วต้องอดทนต้องไม่ ใจร้อน…” (
สานักพระราชวัง, ๒๕๔๒: ๓๑)
- 4. บทนา
ปั ญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปั จจุบนที่สาคัญประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนนา
ั ้
เพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ เกษตรที่อาศัยนาฝน ซึ่งเป็ นพื้นที่ ส่วนใหญ่
้
ของประเทศที่อยู ในเขตที่มีฝนค่อนข้างน้อย และส่วนมากเป็ นนาข้าวและพืชไร่ เกษตรกรยังคง
่
ทาการเพาะปลูกได้ปีละครังในช่วงฤดูฝนเท่านัน
้ ้ และมี ความเสี่ยงกับความเสียหายอัน
เนื่องมาจากความแปรปรวนของดิน ฟ้ า อากาศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่าจะมี การขุดบ่อหรือสระ
เก็บนาไว้ใช้บางแต่ กไม่ มีขนาดแน่นอน หรือมี ปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็ นปั ญหาให้มีนาใช้ไม่ เพียงพอ
้ ้ ็ ้
รวมทังระบบการปลูกพืชไม่ มีหลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว
้
ด้วยเหตุน้ ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หวจึงได้พระราชทานพระราชึϸริเพื่อเป็ นการช่วยเหลือ
ั
เกษตรกรที่ประสบความยากลาบากดังกล่าว ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤติ โดยเฉพาะการ
ขาดแคลนนาได้โดยไม่ เดือดร้อนและยากลาบากนัก
้
พระราชึϸริน้ ี ทรงเรียกว่า "ทฤษฎีใหม่ " อันเป็ นแนวทางหรือหลักการในการบริหารการ
จัดการที่ดินและนาเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์ สูงสุด
้
- 5. ทฤษฎีใหม่ : ทาไมใหม่
มีการบริหารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเป็ นสัดส่วนที่ชด เจน เพื่อประโยชน์
ั
่
สูงสุดของเกษตรกรซึงไม่เคยมีใครคิดมาก่อน
มีการคานวณโดยหลักวิ ชาการเกี่ยวกับปริ มาณนาที่จะกัก เก็บให้พอเพียงต่ อ
้
การเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอดปี
มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบ สาหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง ๓ ขันตอน ้
- 6. ทฤษฎีใหม่ྺȨ้น
ั้
การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ทากินให้แบ่งพื้นที่ออกเป็ น ๔ ส่วน ตาม
อัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง พื้นที่ส่วนหนึง ประมาณ ๓๐% ให้ขุด
่
สระเก็บกักนาเพื่อใช้เก็บกักนาฝนในฤดูฝนและใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง
้ ้
ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์นาและพืชนาต่าง ๆ
้ ้
พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็ นอาหาร
ประจาวันสาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถ
พึ่งตนเองได้
พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืช
สมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็ นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย
- 7. พื้นที่ส่วนที่ส่ี ประมาณ ๑๐% เป็ นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และ
่
โรงเรือนอืน ๆ
- 8. หลักการและแนวทางสาคัญ
เป็ นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้
ในระดับที่ประหยัดก่อน ทังนี้ชมชนต้องมีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจในการ
้ ุ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทานองเดียวกับการ "ลงแขก" แบบดังเดิมเพื่อลด ้
ค่าใช้จ่าย
่
เนือ งจากข้าวเป็ นปั จจัยหลักที่ทุกครัว เรือนจะต้องบริโภค ดังนัน จึงประมาณ
้
่
ว่าครอบครัวหนึงทานาประมาณ ๕ ไร่ จะทาให้มีขาวพอกินตลอดปี โดยไม่ตอง
้ ้
ซื้อหาในราคาแพงเพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมีอสรภาพ ิ
- 9. ต้องมีนาเพื่อการเพาะปลูกสารองไว้ใ ช้ในฤดูแล้ง หรือระยะฝนทิ้งช่ว งได้อย่าง
้
้ ่
พอเพียง ดังนันจึงจาเป็ นต้องกันที่ดินส่วนหนึงไว้ขุดสระน้า โดยมีหลักว่าต้องมีนา ้
เพียงพอที่จะทาการเพาะปลูกได้ตลอดปี ทังนี้ได้พระราชทานพระราชึϸริเป็ น
้
แนวทางว่า ต้องมีนา ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อการเพาะปลูก ๑ ไร่ โดยประมาณ
้
ฉะนัน เมื่อทานา ๕ ไร่ ทาพืชไร่หรือไม้ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็ น ๑๐ ไร่ ) จะต้องมี
้
นา ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อปี
้
ดังนัน หากตังสมมุติฐานว่ามีพ้ ืนที่ ๑๕ ไร่ ก็จะสามารถกาหนดสูตรคร่ าว ๆ
้ ้
ว่า แต่ละแปลงประกอบด้วย- นา ๕ ไร่ - พืชไร่พืชสวน ๕ ไร่ - สระนา ๓ ไร่ ลึก
้
่
๔ เมตร จุประมาณ ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ซึงเป็ นปริมาณน้าที่เพียงพอที่จะ
่
สารองไว้ใช้ยามฤดูแล้ง- ที่อยู่อาศัยและอืน ๆ ๒ ไร่รวมทังหมด ๑๕ ไร่
้
- 10. แต่ทงนี้ ขนาดของสระเก็บกักนาขึ้นอยู่กบสภาพภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม
ั้ ้ ั
ดังนี้
- ถ้าเป็ นพื้นที่ทาการเกษตรอาศัยนาฝน สระน้าควรมีลกษณะลึกเพื่อปองกันไม่ให้
้ ั ้
้ ่
นาระเหยได้ มากเกินไป ซึงจะทาให้มีนาใช้ตลอดทังปี
้ ้
- ถ้าเป็ นพื้นที่ทาการเกษตรในเขตชลประทาน สระนาอาจมีลกษณะลึกหรือตื้นและ
้ ั
แคบหรือกว้างก็ได้ โดยพิจารณาตามความเหมาะสมเพราะสามารถมีนามาเติมอยู่
้
เรื่อย ๆ
- 11. การมี สระเก็บกักนาก็ เพื่อให้เกษตรกรได้มีนาใช้อย่างสม่าเสมอทังปี
้ ้ ้ (ทรงเรียกว่า
หมายถึงการควบคุมให้ดีมีระบบนาหมุ นเวี ยนใช้เพื่อการเกษตรได้โดย
้
ตลอดเวลาอย่างต่ อเนื่อง) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหน้าแล้งและระยะฝนทิ้งช่วง แต่มิได้
หมายความว่าเกษตรกรจะสามารถปลูกข้าวนาปรับได้ เพราะหากนาในสระเก็บกักนาไม่พอ ใน
้ ้
กรณีมีเขื่อนอยู บริเวณใกล้เคียงก็อาจจะต้องสูบนามาจากเขื่อน ซึ่งจะทาให้นาในเขื่อนหมดได้
่ ้ ้
แต่เกษตรกรควรทานาในหน้าฝน และเมื่ อถึงฤดูแล้งหรือฝนทิ้งช่วงให้เกษตรกรใช้นาที่ได้เก็บ
้
ตุนนัน ให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตรอย่างสูงสุด โดยพิจารณาปลูกพืชให้เหมาะสมกับฤดูกาล
้
เช่น
- หน้าฝนจะมี นามากพอที่จะปลูกข้าวและพืชชนิดอื่น ๆ ได้
้
- หน้าแล้งหรือฝนทิ้งช่วง ควรปลูกพืชที่ใช้นาน้อย เช่น ถัวต่ าง ๆ
้ ่
- 12. การจัดแบ่งแปลงที่ดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนี้ พระบาทสมเด็จพระ
่
เจ้าอยู่หวทรงคานวณ และคานึงจากอัตราการถือครองที่ดินถัวเฉลียครัวเรือนละ
ั
๑๕ ไร่ อย่างไรก็ตามหากเกษตรกรมีพ้ ืนที่ถือครองน้อยกว่า หรือมากกว่านี้ก็
สามารถใช้อตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ไปเป็ นเกณฑ์ปรับใช้ได้ กล่าวคือ
ั
- ๓๐% ส่วนแรก ขุดสระนา (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชนา เช่น ผักบุง ผักกะเฉด
้ ้ ้
ฯลฯ ได้ดวย) และบนสระอาจจะสร้างเล้าไก่ได้ดวย
้ ้
- ๓๐% ส่วนที่สอง ทานา
- ๓๐% ส่วนที่สาม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยนต้น ไม้ใช้สอย ไม้เพื่อเป็ นเชื้อ
ื
ฟื น ไม้สร้างบ้าน พืชไร่ พืชผัก สมุนไพร เป็ นต้น)
- ๑๐% สุดท้าย เป็ นที่อยู่อาศัยและอืน ๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ ย
่
หมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักสวนครัวหลังบ้าน
เป็ นต้น)
- 13. ทฤษฎีใหม่ྺȨี่สอง
ั้
เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็
ั
ต้องเริ่มขันที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรง
้
ร่วมใจกันดาเนินการในด้าน
การผลิต (พันธุ ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
- เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเริ่ม ตังแต่ขนเตรียมดิน การหาพันธุ์
้ ั้
พืช ปุ๋ ย การจัดหานา และอืน ๆ เพื่อการเพาะปลูก
้ ่
การตลาด (ลานตากข้าว ยุง เครื่องสีขาว การจาหน่ายผลผลิต)
้ ้
- เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการต่างๆเพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์
สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุงรวบรวมข้าว เตรียมหา
้
เครื่องสีขาวตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดีและลดค่าใช้จ่ายลงด้วย
้
- 14. การเป็ นอยู่ (กะปิ นาปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)
้
- ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็ นอยู่ท่ีดีพอสมควร โดยมี
ปั จจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต เช่นอาหารการกินต่าง ๆ กะปิ นาปลา เสื้อผ้า ที่
้
พอเพียง
สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู ) ้
- แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จาเป็ น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยาม
ป่ วยไข้ หรือมีกองทุนไว้กูยมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน
้ื
- 15. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)
- ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุ นเพื่อการศึกษาเล่า
เรียน ให้แก่เยาวชนของชุมชนเอง
สังคมและศาสนา
- ชุมชนควรเป็ นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็ นที่ยด ึ
่
เหนียว
- กิจกรรมทังหมดดังกล่าวข้าวต้น จะต้องได้รบความร่วมมือจากทุกฝ่ ายที่
้ ั
เกี่ยวข้อง ไม่ว่ าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนันเป็ น
้
สาคัญ
- 16. ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่
จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หวที่ได้พระราชทานในโอกาสต่ าง ๆ นัน พอจะ
ั ้
สรุปถึงประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ ได้ ดังนี้
๑. ให้ประชาชนพออยู่พอกิจสมควรแก่อตภาพ ในระดับที่ประหยัด ไม่อดอยาก
ั
และเลี้ยงตนเองได้ตามหลักปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง“
๒. ในหน้าแล้งมีน ้าน้อย ก็สามารถเอานาที่ เก็บไว้ในสระมาปลูกพืชผักต่ าง ๆ ที่
้
ใช้นาน้อยได้ โดยไม่ตองเบียดเบียนชลประทาน
้ ้
๓. ในปี ที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีนาดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่ น้ ก็ สามารถสร้างรายได้
้ ี
ให้ร่ารวนขึ้นได้
๔. ในกรณีท่ีเกิดอุทกภัยก็ส ามารถที่จะฟื้ นตัวและช่ว ยตัวเองได้ในระดับหนึง โดย
่
ทางราชการไม่ตองช่วยเหลือมากเกินไป อันเป็ นการประหยัดงบประมาณด้วย
้
- 17. ผูจดทา
้ั
นาวสาวบุษยรังสี หาสุทธิใจ
ม.4/6 เลขที่ 43