ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิว๶ตอร์
     รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
                            ปีการศึกษา 2555

ชื่อโครงงาน การวิเคราะห์แนวโน้มและพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ
          จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

                           ชื่อผู้จัดทาดครงงาน



           นายธีรเกียรติ      ตันอุตม์ เลขที่ 19 ชั้นม.6 ห้อง 9
           นายพณิช            ใจเจริญ เลขที่ 23 ชั้นม.6 ห้อง 9



          ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์



            ระยะเวลาในการดาเนินงาน 1-2 ปีการศึกษา 2555



               โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดชียงใหม่
            สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามะยมศึกษาเขต 34
ใบงาน

                                   การจัดทาข้อเสนอดครงงานคอมพิวเตอร์

 สมาชิกในกลุ่ม
 1.นายธีรเกียรติ ตันอุตม์ เลขที่                     2.นายพณิช     ใจเจริญ เลขที่ 23

คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนเสนอดครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้

ชื่อโครงงาน              การวิเคราะห์แนวโน้มและพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
                         ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทของโครงงาน         โครงงานสารวจวิเคราะห์ข้อมูล
ชื่อนักเรียน             1. นายธีรเกียรติ ตันอุตม์
                         2. นายพณิช       ใจเจริญ


ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา     ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
                         ครู รุ่งรัตน์    ชีวสาธน์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ คูณครูศรายุทธ วิริยะคุณานันท์
ระยะเวลาทาโครงงาน        8 สัปดาห์ ตั้งแต่ เดือน พฤศจิกายน – กรกฎาคม
ที่มาและความสาคัญ

         ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มักจะ
ประสบกับปัญหามลภาวะทางอากาศ เกิดมีปริมาณฝุ่นละอองหนาแน่นเกินระดับมาตรฐาน องค์การอนามัย
โลก (มากกว่า 50 g / m3 ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ.2554 นี้ ปริมาณฝุ่นละอองดังกล่าวมี
แนวโน้ม ที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิธีการพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
ในอนาคต ว่าจะมีมากน้อยเพียงใด โดยอาศัยระเบียบการศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อนาเสนอผลการศึกษา ทั้งนี้
เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้าง
ความตระหนักในการลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศด้วย
วัตถุประสงค์

        1. เพื่อศึกษาแนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554

        2. เพื่อพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2556

ขอบเขตของการศึกษา


        โครงงานนี้ได้อาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล และพยากรณ์ข้อมูลของปริมาณ
ฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ของกรมควบคุมมลพิษทาง
อากาศ          ในเดือนที่มีค่าปริมาณฝุ่นละอองในอากาศเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (มากกว่า
50 g / m3 )   ในช่วงเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม

ขั้นตอนการดาเนินงาน

        1. รวบรวมข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่ปี 2544 – 2554
        2. สัง เกตปริมาณฝุ่นละอองในอากาศของแต่ล ะเดือน พบว่า เดือนมกราคม กุ มภาพันธ์ มีนาคม
เมษายน และธันวาคม มีปริมาณฝุ่นละอองในอากาศสูงมากกว่า 50  g / m3
        3. นาเสนอข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ในรูปแบบตารางและแผนภาพการกระจาย
                 3.1 สร้างตารางข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียน
        ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
                 3.2 สร้างแผนภาพการกระจายของของข้อมูล
        4. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา การวิเคราะห์แนวโน้ม ค่าสัมประสิทธิ์การ
ตัดสินใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์
                 4.1 ศึ ก ษาหลั ก การวิ เคราะห์อ นุ ก รมเวลา ความหมาย คุ ณสมบั ติ ของข้ อ มูล และ
องค์ประกอบ
                 4.2 ศึกษาการวิเคราะห์แนวโน้ม และการพยากรณ์ค่าแนวโน้มโดยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด
ซึ่งประกอบไปด้วย 4 รูปแบบ คือ รูปเส้นตรง รูปพาราโบลา และรูปพหุนามดีกรีสาม
4.3 ศึ ก ษาค่ า สัม ประสิ ทธิ์ก ารตัดสิน ใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ โดยค่ า
คลาดเคลื่อนของพยากรณ์จะนามาประยุกต์ใช้เพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยสัมบูรณ์ และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานของค่าความคลาดเคลื่อน
        5. วิเคราะห์แนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราช
วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
                 5.1 วิเคราะห์แนวโน้ม ด้วยวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่อาศัยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด ทั้ง 4
รูปแบบ
        6. ใช้ข้อมูลในข้อที่ 5 พยากรณ์ ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียน
ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในปี 2556
                 6.1 หลังจากที่ได้สมการแนวโน้มจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แล้ว นาสมการมาพิจารณา
ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจของแต่ละสมการ
                 6.2 เลือกสมการที่มีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเข้าใกล้ 1 มากที่สุด แล้วแทนค่าเพื่อ
พยากรณ์
        7. หาค่าคลาดเคลื่อนการพยากรณ์
        8. สรุปและอภิปรายผลการทดลองศึกษา

โปรแกรมที่ใช้
      1. โปรแกรมประยุกต์ MATLAB เพื่อหาค่าสัมประสิทธ์ของสมการของเส้นแนวโน้ม
      2. โปรแกรม Graph เพื่อสร้างกราฟในการวิเคราะห์แนวโน้ม
      3. โปรแกรม Microsoft Office (Excel)
ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน


ลาดับ                ขั้นตอน                                                  สัปดาห์ที่                                       ผู้รับผิดชอบ

                                                  1        2        3         4          5         6        7         8
1         คิดหัวข้อโครงงาน                    /        /
2         ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล                        /                             /
3         จัดทาโครงร่าง                                /
4         ปฏิบัติการโครงสร้าง                                   /         /
5         ปรับปรุงทดสอบ                                                   /          /
6         ทาเอกสารรายงาน                                                                       /
7         ประเมิณผลงาน                                                                                  /
8         นาเสนอโครงงาน                                                                                           /



มมติฐาน


         จากข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2544 – 2554 สามารถพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละออง
ในอากาศในอนาคตได้ โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา


สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
        กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

         แหล่งข้อมูลอ้างอิงจักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คู่มือ สาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 1. โรงพิมพ์
เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด, 2547

         ระพิ น ทร์ โพธิ์ ศ รี .สถิ ติ เ พื่ อ การวิ จั ย .จ านวน 3,000        เล่ ม .พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2.บริ ษั ท ด่ า นสุ ท ธาการพิ ม พ์ จ ากั ด
: สานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คณิตศาสตร์ ม.6 เล่ม 1. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด ,
2548

         เจริญ ภูภัทรพงศ์ และ ศรีลัดดา ภูภัทรพงศ์. คู่มือและเทคนิคลัดโจทย์ คณิตศาสตร์ ม. 6 เล่ม 6 ค. 061, ค. 046. :
สานักพิมพ์ science center

         ศิริลักษณ์ สุวรรณวงค์. การวิเคราะห์อนุกรมเวลา. พิมพ์ครั้งแรก : สานักพิมพ์ สุวีริยาสาสน์, 2535

         ศิริพงษ์ ศรีพิพัฒน์. คณิตศาสตร์เชิงตัวเลข สาหรับคอมพิวเตอร์. ม.ป.ท., ม.ป.ป. .

         ทรงศิริ แต้สมบัต.ิ เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ. ม.ป.ท., ม.ป.ป. .

ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555,
        จาก coursewares.mju.ac.th:81/e-learning48/ST202/pdf/3.pdf

หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555,
       จาก http://th.wikipedia.org/wiki/หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย

ฝุ่นละออง. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555,
         จาก http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ฝุ่นละออง

คุณภาพอากาศบริเวณโรงเรียนยุพราช อ.เมือง จ.เชียงใหม่. ค้นหาเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555,
       จาก http://www.aqmthai.com

More Related Content

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิว๶ตอร์

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิว๶ตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน การวิเคราะห์แนวโน้มและพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อผู้จัดทาดครงงาน นายธีรเกียรติ ตันอุตม์ เลขที่ 19 ชั้นม.6 ห้อง 9 นายพณิช ใจเจริญ เลขที่ 23 ชั้นม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาในการดาเนินงาน 1-2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามะยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอดครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายธีรเกียรติ ตันอุตม์ เลขที่ 2.นายพณิช ใจเจริญ เลขที่ 23 คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนเสนอดครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน การวิเคราะห์แนวโน้มและพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ประเภทของโครงงาน โครงงานสารวจวิเคราะห์ข้อมูล ชื่อนักเรียน 1. นายธีรเกียรติ ตันอุตม์ 2. นายพณิช ใจเจริญ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ครู รุ่งรัตน์ ชีวสาธน์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ คูณครูศรายุทธ วิริยะคุณานันท์ ระยะเวลาทาโครงงาน 8 สัปดาห์ ตั้งแต่ เดือน พฤศจิกายน – กรกฎาคม ที่มาและความสาคัญ ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มักจะ ประสบกับปัญหามลภาวะทางอากาศ เกิดมีปริมาณฝุ่นละอองหนาแน่นเกินระดับมาตรฐาน องค์การอนามัย โลก (มากกว่า 50 g / m3 ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ.2554 นี้ ปริมาณฝุ่นละอองดังกล่าวมี แนวโน้ม ที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิธีการพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ในอนาคต ว่าจะมีมากน้อยเพียงใด โดยอาศัยระเบียบการศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อนาเสนอผลการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้าง ความตระหนักในการลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศด้วย
  • 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาแนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 2. เพื่อพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2556 ขอบเขตของการศึกษา โครงงานนี้ได้อาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล และพยากรณ์ข้อมูลของปริมาณ ฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ของกรมควบคุมมลพิษทาง อากาศ ในเดือนที่มีค่าปริมาณฝุ่นละอองในอากาศเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (มากกว่า 50 g / m3 ) ในช่วงเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. รวบรวมข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่ปี 2544 – 2554 2. สัง เกตปริมาณฝุ่นละอองในอากาศของแต่ล ะเดือน พบว่า เดือนมกราคม กุ มภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม มีปริมาณฝุ่นละอองในอากาศสูงมากกว่า 50  g / m3 3. นาเสนอข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในรูปแบบตารางและแผนภาพการกระจาย 3.1 สร้างตารางข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 3.2 สร้างแผนภาพการกระจายของของข้อมูล 4. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา การวิเคราะห์แนวโน้ม ค่าสัมประสิทธิ์การ ตัดสินใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ 4.1 ศึ ก ษาหลั ก การวิ เคราะห์อ นุ ก รมเวลา ความหมาย คุ ณสมบั ติ ของข้ อ มูล และ องค์ประกอบ 4.2 ศึกษาการวิเคราะห์แนวโน้ม และการพยากรณ์ค่าแนวโน้มโดยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด ซึ่งประกอบไปด้วย 4 รูปแบบ คือ รูปเส้นตรง รูปพาราโบลา และรูปพหุนามดีกรีสาม
  • 4. 4.3 ศึ ก ษาค่ า สัม ประสิ ทธิ์ก ารตัดสิน ใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ โดยค่ า คลาดเคลื่อนของพยากรณ์จะนามาประยุกต์ใช้เพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยสัมบูรณ์ และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานของค่าความคลาดเคลื่อน 5. วิเคราะห์แนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราช วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 5.1 วิเคราะห์แนวโน้ม ด้วยวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่อาศัยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด ทั้ง 4 รูปแบบ 6. ใช้ข้อมูลในข้อที่ 5 พยากรณ์ ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในปี 2556 6.1 หลังจากที่ได้สมการแนวโน้มจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แล้ว นาสมการมาพิจารณา ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจของแต่ละสมการ 6.2 เลือกสมการที่มีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเข้าใกล้ 1 มากที่สุด แล้วแทนค่าเพื่อ พยากรณ์ 7. หาค่าคลาดเคลื่อนการพยากรณ์ 8. สรุปและอภิปรายผลการทดลองศึกษา โปรแกรมที่ใช้ 1. โปรแกรมประยุกต์ MATLAB เพื่อหาค่าสัมประสิทธ์ของสมการของเส้นแนวโน้ม 2. โปรแกรม Graph เพื่อสร้างกราฟในการวิเคราะห์แนวโน้ม 3. โปรแกรม Microsoft Office (Excel)
  • 5. ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 คิดหัวข้อโครงงาน / / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / 3 จัดทาโครงร่าง / 4 ปฏิบัติการโครงสร้าง / / 5 ปรับปรุงทดสอบ / / 6 ทาเอกสารรายงาน / 7 ประเมิณผลงาน / 8 นาเสนอโครงงาน / มมติฐาน จากข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2544 – 2554 สามารถพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละออง ในอากาศในอนาคตได้ โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แหล่งข้อมูลอ้างอิงจักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คู่มือ สาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 1. โรงพิมพ์ เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด, 2547 ระพิ น ทร์ โพธิ์ ศ รี .สถิ ติ เ พื่ อ การวิ จั ย .จ านวน 3,000 เล่ ม .พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2.บริ ษั ท ด่ า นสุ ท ธาการพิ ม พ์ จ ากั ด : สานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
  • 6. จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คณิตศาสตร์ ม.6 เล่ม 1. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด , 2548 เจริญ ภูภัทรพงศ์ และ ศรีลัดดา ภูภัทรพงศ์. คู่มือและเทคนิคลัดโจทย์ คณิตศาสตร์ ม. 6 เล่ม 6 ค. 061, ค. 046. : สานักพิมพ์ science center ศิริลักษณ์ สุวรรณวงค์. การวิเคราะห์อนุกรมเวลา. พิมพ์ครั้งแรก : สานักพิมพ์ สุวีริยาสาสน์, 2535 ศิริพงษ์ ศรีพิพัฒน์. คณิตศาสตร์เชิงตัวเลข สาหรับคอมพิวเตอร์. ม.ป.ท., ม.ป.ป. . ทรงศิริ แต้สมบัต.ิ เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ. ม.ป.ท., ม.ป.ป. . ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555, จาก coursewares.mju.ac.th:81/e-learning48/ST202/pdf/3.pdf หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย ฝุ่นละออง. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ฝุ่นละออง คุณภาพอากาศบริเวณโรงเรียนยุพราช อ.เมือง จ.เชียงใหม่. ค้นหาเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://www.aqmthai.com