ระบบȨวศȨ
- 1. 4
ระบบนิ เวศ หมายถึง หน่ วยของความสัมพันธ์ของสิงมีชวตในแหล่งทีอยูแหล่งใดแหล่งหนึง มา
ีิ ่
จากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คํา คือO ikos แปลว่า บ้าน, ทีอยูอาศัย,แหล่งทีอยูของสิงมีชวต Logos
่ ่ ีิ
แปลว่า เหตุผล, ความคิด
• สิงมีชวต (Organism)หมายถึง สิงทีต้องใช้พลังงานในการดํารงชีวต
ีิ ิ
• ประชากร (Population)หมายถึง สิงมีชวตทังหมดทีเป็ นชนิดเดียวกัน อาศัยอยูในแหล่งทีอยู่
ีิ ่
เดียวกัน ณ ช่วงเวลาเดียวกัน
• กลุ่มสิงมีชวต (Community) หมายถึง สิงมีชวตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยูรวมกันในบริเวณใด
ีิ ีิ ่
บริเวณหนึง โดยสิงมีชวตนันๆ มีความสัมพันธ์กนโดยตรงหรือโดยทางอ้อม
ีิ ั
• โลกของสิงมีชวต (Biosphere) หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกัน
ีิ
• แหล่งทีอยู่ (Habitat)หมายถึง แหล่งทีอยูอาศัยของกลุ่มสิงมีชวตต่างๆ ทังบนบกและในนํ า
่ ีิ
• สิงแวดล้อม (Environment)หมายถึง สิงทีมีผลต่อการดํารงชีวตของสิงมีชวต
ิ ีิ
4 9 .3/4 2555 หน้า 1
- 2. 4.1
What about in?
4 9 .3/4 2555 หน้า 2
- 3. ( ecosystem structure)
โครงสร้างของระบบȨวศȨ ประกอบด้วย ส่วนทีมีชวต และ ส่วนทีไม่มชวต ซึงในการศึกษาจะ
ีิ ี ีิ
วิเคราะห์ขอมูลเกียวกับ ชนิด ปริมาณ สัดส่วน การกระจาย
้
ส่วนที มีชีวิต( Bioptic component) ได้แก่ พืช สัตว์ และมนุ ษย์ ซึงแบ่งตามลําดับขันในการ
บริโภค ( trophic level) ได้เป็ น 3 ระดับ คือ
1.ผูผลิต ( producers) ส่วนมากคือพืชทีสังเคราะห์แสงได้ และสิงมีชวตทีผลิตอาหารเองได้ (
้ ีิ
autotroph) เช่น แบคทีเรีย
2.ผูบริโภค (consumers) คือสิงมีชวตทีไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ดวยตนเอง
้ ีิ ้
(heterotroph) ดํารงชีวตอยู่ดวยการกิน สิงมีชวตอืน ได้แก่สตว์ต่าง ๆ ซึงแบ่งเป็ นขัน ๆ
ิ ้ ีิ ั
ดังนี ผูบริโภคขันที 1 : สัตว์กนพืช (herbivores)
้ ิ
: สัตว์กนสัตว์ (carnivores)
ิ
: สัตว์กนทังสัตว์และพืช (omnivores)
ิ
3. ผูยอยสลาย ( decomposers) ได้แก่ รา แบคทีเรีย/จุลนทรีย์ อาศัยอาหารจากสิงมีชวตอืนที
้่ ิ ีิ
ตายไปแล้ว โดยการย่อยสลาย สารประกอบเชิงซ้อนเหล่านัน (อินทรียสาร) เสียก่อนแล้ว จึงดูด
์
ซึมส่วนทีย่อยสลายได้ไปใช้เป็ นสารอาหารบางส่วน ส่วนทีเหลือ จะปลดปล่อยออกไปสู่ดนเป็ น
ิ
ประโยชน์แก่ผผลิตต่อไป
ู้
ส่วนทีไม่มีชีวิต ( Abiotic component) ได้แก่ ส่วนทีไม่มชวต แบ่งออกเป็ น
ี ีิ
1. อนินทรียสาร เช่น คาร์บอน คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
์
นําและออกซิเจน เป็ นต้น
2. อินทรียสาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ฮิวมัส เป็ นต้น สารอินทรียเหล่านี เป็ น
์ ์
สิงจําเป็ นต่อชีวต
ิ
3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสง อุณหภูม ิ ความชืน อากาศ ความเป็ นกรด-เบส
ความเค็ม ความชืน ทีอยูอาศัย เป็ นต้น
่
4 9 .3/4 2555 หน้า 3
- 4. 4.2
What about in?
4 9 .3/4 2555 หน้า 4
- 5. สิงมีชวตในระดับต่างๆมีความสําคัญแบบเป็ นอาหารซึงกันและกัน [food relationship] เริมจาก
ีิ
ผูผลิตเป็ นอาหารผูบริโภค และผูบริโภคเป็ นอาหารซึงกันและกัน ผูยอสลายได้รบพลังงานจากอาหาร
้ ้ ้ ้่ ั
เป็ นอันดับสุดท้าย นันคือ สิงมีชวตในระยะต่างๆต่างมีการกินไปเป็ นทอดๆ เรียกว่า ห่วงโซ่อาหาร
ีิ
[food chain ] หัวลูกศรจะชีไปยังผูกนเสมอโดย
้ ิ
ผูบริโภคอันดับที 1 คือ กินพืชโดยตรง
้
ผูบริโภคอันดับที 2 คือ กินพืชเป็ นอาหาร
้
ผูบริโภคอันดับที 3 คือ กินสัตว์เป็ นอาหาร
้
สายใยอาหาร (Food Web)
หมายถึง ห่วงโซ่อาหารหลาย ๆ ห่วงโซ่ ทีมีความคาบเกียวหรือสัมพันธ์กน นันคือ ใน
ั
ธรรมชาติการกินต่อกันเป็ นทอด ๆ ในโซ่อาหาร จะมีความซับซ้อนกันมากขึน คือ มีการกินกันอย่าง
ไม่เป็ นระเบียบ
ตัวอย่าง เช่ น
4 9 .3/4 2555 หน้า 5
- 6. จากแผนภาพสายใยอาหารด้านบน จะสังเกตเห็นได้ว่า ต้นข้าวทีเป็ น ผูผลิตในระบบ
้
นิเวศน์นน สามารถถูกสัตว์หลายประเภทบริโภคได้ คือ มีทง วัว ตักแตน ไก่ และ ผึง และ สัตว์ที
ั ั
เป็ นผูบริโภคลําดับที 1 เหล่านัน ก็สามารถจะเป็ นเหยือของสัตว์อน และ ยังเป็ นผูบริโภคสัตว์อน ได้
้ ื ้ ื
เช่นกัน อาทิเช่น ไก่ สามารถจะบริโภคตักแตนได้ และในขณะเดียวกัน ไก่กมโอกาสทีจะถูกงู
็ ี
บริโภคได้เช่นกัน
4 9 .3/4 2555 หน้า 6
- 7. 4.3
What about in?
4 9 .3/4 2555 หน้า 7
- 8. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตในระบบนิเวศ แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะคือ
ีิ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตชนิดเดียวกัน
ีิ
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตต่างชนิดกัน
ีิ
เพือให้งายต่อความเข้าใจ จึงมีการใช้เครืองหมายต่อไปนีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิงมีชวตที
่ ีิ
อาศัยรวมกัน
่
+ หมายถึง การได้ประโยชน์จากอีกฝายหนึง
ี ่
- หมายถึง การเสียประโยชน์ให้อกฝายหนึง
0 หมายถึง การไม่ได้ประโยชน์ แต่กไม่เสียประโยชน์
็
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ งมีชีวิตในระบบนิ เวศแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ คือ
1. การได้รบประโยชน์ ร่วมกัน (mutualism) เป็ นการอยูรวมกันของสิงมีชวต 2 ชนิดทีได้
ั ่่ ีิ
ประโยชน์ดวยกันทังสองชนิดใช้ สัญลักษณ์ +, + เช่น
้
• แมลงกับดอกไม้ แมลงดูดนําหวานจากดอกไม้เป็ นอาหาร และดอกไม้กมแมลงช่วยผสมเกสร
็ ี
2. ภาวะอิ งอาศัยหรือภาวะเกือกูล (commensalism) เป็ นการอยูรวมกันของสิงมีชวตโดย
่่ ีิ
่ ่
ทีฝายหนึงได้ประโยชน์ส่วนอีกฝายหนึง ไม่ได้ประโยชน์แต่กไม่เสียประโยชน์ (+,0) เช่น
็
• ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามอาศัยอยูใกล้ตวปลาฉลามและกินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซึงปลา
่ ั
ฉลามจะไม่ได้ประโยชน์ แต่กไม่เสียประโยชน์
็
3. ฝ่ ายหนึ งได้ประโยชน์ และอีกฝ่ ายหนึ งเสียประโยชน์ ใช้สญลักษณ์ +, - ซึงแบ่งเป็ น 2
ั
แบบ คือ
่
1) การล่าเหยือ (predation) เป็ นความสัมพันธ์ โดยมีฝายหนึงเป็ นผูล่า (predator) และอีก
้
่ ่
ฝายหนึงเป็ นเหยือ (prey) หรือเป็ นอาหารของอีกฝาย เช่น งูกบกบ ั
่
2) ภาวะปรสิต (parasitism) เป็ นความสัมพันธ์ของสิงมีชวตทีมีฝายหนึงเป็ นผู้
ีิ
่
เบียดเบียน เรียกว่า ปรสิต(parasite)และอีกฝายหนึงเป็ นเจ้าของบ้าน (host)
4 9 .3/4 2555 หน้า 8
- 9. • ต้นกาฝากเช่น ฝอยทองทีขึนอยู่บนต้นไม้ใหญ่ จะดูดนําและอาหารจากต้นไม้ใหญ่
• หมัด เห็บ ไร พยาธิต่าง ๆ ทีอาศัยอยูกบร่างกายคนและสัตว์
่ ั
• เชือโรคต่าง ๆ ทีทําให้เกิดโรคกับคนและสัตว์
นอกจากนียังมีความสัมพันธ์แบบภาวะมีการย่อยสลาย (saprophytism) ใช้สญญลักษณ์ +, 0
ั
เป็ นการดํารงชีพของกลุ่มผูยอย - สลายสารอินทรีย์ เช่น เห็ด รา แบคทีเรีย และจุลนทรีย์
้ ่ ิ
4 9 .3/4 2555 หน้า 9
- 11. วัฏจักรของนํา หมายถึง การหมุนเวียนเปลียนแปลงของนําซึงเป็ นปรากฎการณ์ทเกิดขึนเองตามธรรมชาติ
ี
โดยเริมต้นจากนําในแหล่งนํ าต่าง ๆ เช่น ทะเล มหาสมุทร แม่นํา ลําคลองหนอง บึง ทะเลสาบ
จากการคายนําของพืช จากการขับถ่ายของเสียของสิงมีชวต และจากกิจกรรมต่าง ๆ ทีใช้ในการดํารงชีวตของ
ีิ ิ
มนุ ษย์ ระเหยขึนไปในบรรยากาศ กระทบความเย็นควบแน่ นเป็ นละอองนําเล็ก ๆ เป็ นก้อนเมฆ ตกลงมาเป็ น
ฝนหรือลูกเห็บสู่พนดินไหลลงสู่แหล่งนําต่าง ๆ หมุนเวียนอยูเช่นนีเรือยไป
ื ่
ตัวการทีทําให้เกิ ดการหมุนเวียนของนํา
1. ความร้อนจากดวงอาทิ ตย์ ทําให้เกิดการระเหยของนําจากแหล่งนําต่าง ๆ กลายเป็ นไอนํ าขึนสู่บรรยากาศ
2. กระแสลม ช่วยทําให้นําระเหยกลายเป็ นไอได้เร็วขึน
ั
3. มนุษย์และสัตว์ ขับถ่ายของเสียออกมาในรูปของเหงือ ปสสาวะ และลมหายใจออกกลายเป็ นไอนํ าสู่
บรรยากาศ
4. พืช รากต้นไม้เปรียบเหมือนฟองนํา มีความสามารถในการดูดนํ าจากดินจํานวนมากขึนไปเก็บไว้ในส่วต่าง ๆ
ทังยอด กิง ใบ ดอก ผล และลําต้น แล้วคายนํ าสู่บรรยากาศ ไอเหล่านีจะควบแต่นและรวมกันเป็ นเมฆและตกลงมา
เป็ นฝนต่อไป
4 9 .3/4 2555 หน้า 11
- 12. วัฏจักรคาร์บอน (Carbon cycle)
คาร์บอน (Carbon) เป็ นธาตุทมีอยูในสารประกอบอินทรียเคมีทุกชนิด ดังนันวัฏจักรคาร์บอนมัก
ี ่ ์
ไปสัมพันธ์กบวัฏจักรอืน ๆในระบบนิเวศ คาร์บอน เป็ นองค์ประกอบสําคัญอย่างหนึงของ
ั
สารอินทรียสารในสิงมีชวต เช่น คาร์โบไฮเดรด โปรตีน ไขมัน วิตามิน
์ ีิ
วัฏจักรคาร์บอน หมายถึง การทีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากกอากาศถูกนําเข้าสู่สงมีชวต
ิ ีิ
หรือออกจากสิงมีชวตคืนสู่บรรยากาศ และนํ าอีกหมุนเวียนกันไปเช่นนีไม่มทสินสุดโดย
ีิ ี ี
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศและนํ าถูกนําเข้าสู่สงมีชวต
ิ ีิ
ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช (CO2) จะถูกเปลียนเป็ นอินทรียสารทีมีพลังงานสะสมอยู่
้
ต่อมาสารอินทรียสารทีพืชสะสมไว้บางส่วนถูกถ่ายทอดไปยังผูบริโภคในระบบต่าง ๆ โดยการกิน
้
CO2 ออกจากสิงมีชวตคืนสู่บรรยากาศและนํ าได้หลายทาง ได้แก่
ีิ
1.การหายใจของพืชและสัตว์ เพือให้ได้พลังงานออกมาใช้ ทําให้คาร์บอนทีอยูในรูปของอินทรีย
่
สารถูกปลดปล่อยออกมาเป็ นอิสระในรูปของ CO2
2.การย่อยสลายสิงขับถ่ายของสัตว์และซากพืชซากสัตว์ ทําให้คาร์บอนทีอยูในรูปของ
่
อาหารถูกปลดปล่อยออกมาเป็ นอิสระในรูปของ CO2
3.การเผ่าไหม้ของถ่านหิน นํ ามัน และคาร์บอเนต เกิดจากการทับถมของ
ซากพืชซากสัตว์เป็ นเวลานาน
วัฏจักรของคาร์บอนสัมพันธ์กบวัฏจักรนํ าเสมอ ความสมดุลของ CO2 ในอากาศ
ั
เกิดจากการแลกเปลียนของ CO2 ในอากาศกับนํา ถ้าในอากาศ CO2มากเกินไป
ก็จะมีการละลายอยูในรูปของ H2CO3
่
(กรดคาร์บอนิก) ดังสมาการต่อไปนี
CO2+H2O H2CO3
4 9 .3/4 2555 หน้า 12
- 13. ปัจจัยต่างๆ ที มีความสัมพันธ์ต่อระบบนิ เวศ
แสง ยังมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกหากินของสัตว์ต่างๆ สัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินเวลา
กลางวัน แต่กมสตว์อกหลายชนิดทีออกหากินเวลากลางคืน เช่น ค้างคาว นกฮูก เป็ นต้น
็ ีั ี
อุณหภูมิ สิงมีชวตแต่ละชนิดจะดํารงชีวตอยูได้ในอุณหภูมประมาณ 10 – 30 องศาเซลเซียส ใน
ีิ ิ ่ ิ
ทีมีอุณหภูมสงมากหรือ - อุณหภูมตํามากจะมีสงมีชวตอาศัยอยูน้อยทังชนิดและจํานวน หรืออาจไม่ม ี
ิู ิ ิ ีิ ่
สิงมีชวตอยูได้เลย เช่นแถบขัวโลก และบริเวณทะเลทราย ในแหล่งนําทีอุณหภูมไม่ค่อยเปลียนแปลง
ีิ ่ ิ
แต่สงมีชวตก็มการปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสตว์และพืชหลายชนิดต้องพักตัวหรือจําศีล เพือ
ิ ีิ ี ั
หลีกเลียงการเปลียนแปลง ดังกล่าว สัตว์ประเภทอพยพไปสู่ถนใหม่ทมีอุณหภูมเิ หมาะสมเป็ นการ
ิ ี
ชัวคราวในบางฤดู เช่น นกนางแอ่นอพยพจากประเทศจีน มาหากินในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว
และอาจเลยไปถึงมาเลเซียราวเดือนกันยายนทุกปี
สิงมีชวตจะมีรปร่างลักษณะหรือสีทสัมพันธ์กบอุณหภูมของแหล่งทีอยูเฉพาะแตกต่างกันไปด้วย
ีิ ู ี ั ิ ่
เช่น สุนขในประเทศทีมีอากาศหนาว จะเป็ นพันธุทมีขนยาวปุกปุย แต่ในแถบร้อนจะเป็ นพันธุขนเกรียน
ั ์ ี ์
ต้นไม้เมืองหนาวก็มเี ฉพาะ เช่น ปาสน จะอยูในเขตหนาวแตกต่างจากพืชในป่าดิบชืนในเขตร้อน
่ ่
แร่ธาตุต่างๆ จะมีอยูในอากาศทีห่อหุมโลก อยูในดินและละลายอยูในนํ า แร่ธาตุทสําคัญ
่ ้ ่ ่ ี
ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแร่ธาตุอนๆ เป็ นสิงจําเป็ นที
ื
ทุกชีวตต้องการในกระบวนการดํารงชีพ แต่สงมีชวตแต่ละชนิดต้องการแร่ธาตุเหล่านีในปริมาณที
ิ ิ ีิ
แตกต่างกัน และระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีแร่ธาตุต่างๆ เป็ นองค์ประกอบในปริมาณทีแตกต่างกัน
ความชืนในบรรยากาศจะแตกต่างกันไปในแต่ละภูมภาคของโลก และยังเปลียนเแปลงไปตาม
ิ
ฤดูกาล ความชืนมีผลต่อการระเหยของนํ าออกจากร่างกายของสิงมีชวต ทําให้จากัดชนิดและการ
ีิ ํ
กระจายของสิงมีชวตในแหล่งทีอยูดวย
ีิ ่ ้
4 9 .3/4 2555 หน้า 13
- 14. 4.5
4 9 .3/4 2555 หน้า 14
- 15. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง การมีสงมีชวตนานาชนิด นานาพันธุใน
ิ ีิ ์
ระบบนิเวศอันเป็ นแหล่งทีอยูอาศัย ซึงมีมากมายและแตกต่างกันทัวโลก หรือง่ายๆ คือ การทีมีชนิดพันธุ์
่
(Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem) ทีแตกต่างหลากหลายบนโลก
ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์
ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ ทีเห็นได้ชดเจนทีสุด คือ ความแตกต่างระหว่าง
ั
พันธุพชและสัตว์ต่างๆ ทีใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทําให้สามารถ
์ ื
เลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามทีต้องการได้ หากไม่มความหลากหลายของสายพันธุต่างๆ
ี ์
แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตําปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็ นได้ ความแตกต่างทีมีอยูในสายพันธุต่างๆ ยัง
่ ์
ช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุปศุสตว์ เพือให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น ไก่
์ ั
พันธุเนือ ไก่พนธุไข่ดก วัวพันธุนม และวัวพันธุเนือ เป็ นต้น
์ ั ์ ์ ์
ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทัวไปถึงความแตกต่างระหว่างพืช
และสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์ทอยูใกล้ตว เช่น สุนข แมว จิงจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และ
ี ่ ั ั
่ ่
นกกระจอก เป็ นต้น หรือสิงมีชวตทีอยูในปาเขาลําเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี
ีิ
และวัวแดง เป็ นต้น พืนทีธรรมชาติเป็ นแหล่งทีอยูอาศัยของสิงมีชวตทีแตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุ ษย์
่ ีิ
ได้นําเอาสิงมีชวตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิงมีชวต
ีิ ีิ
ทังหมด ในความเป็ นจริงพบว่ามนุ ษย์ได้ใช้พชเป็ นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีท่อลําเลียง
ื
(อังกฤษ: vascular plant) ทีมีอยูทงหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทังๆ ทีประมาณร้อยละ 25 ของพืชทีมี
่ ั
ท่อลําเลียงนีสามารถนํ ามาบริโภคได้ สําหรับชนิดพันธุสตว์นน มนุ ษย์ได้นําเอาสัตว์เลียงมาเพือใช้
์ ั ั
ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มกระดูกสันหลังทังหมดทีมีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP
ี
1995)
ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็ นความหลากหลายทางชีวภาพซึงซับซ้อน สามารถเห็น
่ ่
ได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น ปาดงดิบ ทุ่งหญ้า ปาชายเลน ทะเลสาบ บึง
หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศทีมนุ ษย์สร้างขึน เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บนํา หรือ
4 9 .3/4 2555 หน้า 15
- 16. แม้กระทังชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี สิงมีชวตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยูอาศัย
ีิ ่
แตกต่างกัน
ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทําให้โลกมีถนทีอยูอาศัยเหมาะสมสําหรับ
ิ ่
สิงมีชวตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดํารงชีวตของมนุ ษย์แตกต่างกัน หรือ
ีิ ิ
่
อีกนัยหนึงให้ 'บริการทางสิงแวดล้อม' (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิเช่น ปาไม้ทําหน้าทีดูด
ซับนํ า ไม่ให้เกิดนํ าท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทําหน้าทีเก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจน
บริเวณปากอ่าวตืนเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝงจากกระแสลมและคลืนด้วย เป็ นต้น
ั
4 9 .3/4 2555 หน้า 16
- 17. 4.6
4 9 .3/4 2555 หน้า 17
- 18. ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของสิงมีชวตทีเป็ นชนิดเดียวกัน อาศัยอยูในบริเวณ
ีิ ่
เดียวกัน ในช่วงเวลาหนึง ซึงในแต่ละบริเวณจะมีจานวนประชากรทีแตกต่างกัน
ํ
ขนาดของประชากร
ในแหล่งทีอยูแต่ละแห่งจะมีจานวนกลุ่มสิงมีชวต หรือจํานวนประชากรแตกต่างกันไป
่ ํ ีิ
ั
การศึกษาขนาด หรือลักษณะ ความหนาแน่ นของประชากรในแหล่งทีอยูหนึงๆ มีปจจัยดังภาพ
่
ประชากรที มีขนาดคงที
อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า = อัตราการตาย + อัตราการตาย
ประชากรที มีขนาดเพิ มขึน
อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า > อัตราการตาย + อัตราการตาย
4 9 .3/4 2555 หน้า 18
- 19. ประชากรที มีขนาดลดลง
อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า < อัตราการตาย + อัตราการตาย
ปัญหาที เกิ ดจากการเพิ มจํานวนประชากร
การเพิมขึนของจํานวนประชากร ในขณะทีพืนทีของประเทศยังคงเท่าเดิม ทําให้สดส่วนจํานวน
ั
ั
ประชากรต่อหน่ วยพืนที เพิมขึน ทําให้เกิดปญหาต่าง ๆ ได้แก่
การขาดแคลนพืนทีอยูอาศัย จึงเกิดการขยายชุมชนเมืองออกไปสู่ชนบท ซึงเป็ นแหล่งเพาะปลูกทางการ
่
เกษตร อันอุดมสมบูรณ์ พืนทีทางการเกษตรลดลง เพาะพืนทีชนบททีอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่งอู่ขาวอู่นํา
้
ั
แหล่งผลิตทางการเกษตร ความต้องการปจจัยสีเพิมขึน ได้แก่ อาหาร ทีอยูอาศัย ยารักษาโรค และ
่
ั
เครืองนุ่ งห่ม ปจจัยสีเหล่านีได้มาจากทรัพยากรธรรมชาติ เมือประชากรเพิมมากขึนต้องเสาะหา
ทรัพยากรธรรมชาติให้ได้มากขึน เพิมการผลิตผล ผลิตให้ได้มากและรวดเร็วโดยอาศัยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทําให้ประดิษฐ์คดค้นเครืองมือ
ิ
เครืองจักร และกรรมวิธการ ทําการเกษตรกรรม สมัยใหม่ ตลอดจนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดย
ี
เปลียนแปลงกระบวนการผลิต ทีทํากันในครอบครัวเป็ นการผลิตในระดับ อุตสาหกรรมผลจาก
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทําให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกนํามาใช้อย่างมากมาย และรวดเร็วจนทําให้
ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ นํามันเชือเพลิง มีปริมาณลดน้องลงไปมาก ผลกระทบต่อ
สิงแวดล้อม ทําให้สภาพแวดล้อมเสือมโทรมและเป็ นพิษ เกินกว่าธรรมชาติ จะแก้ไขและบําบัดให้
กลับคืนมาเหมือนเดิมได้
4 9 .3/4 2555 หน้า 19