ไฟฟ้า
- 2. จัดทาโดย
ด.ญ. รวิวรรณ ต้ นนา ม. 3/6 เลขที่ 27
ด.ญ. วาสนา แสงตะวัน ม. 3/6 เลขที่28
ด.ญ. อริสรา ยาเจริญ ม. 3/6 เลขที่ 29
- 3. รูปแบบของเครืองใช้ภายใȨ้าน
่
วงจรไฟฟ้ าภายในบ้าน หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟ้ าที่จะไหลไปตามส่วนต่าง ๆ ของวงจรที่เป็ นตัวนา
การต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้าน หมายถึง การต่อความต้านทาน ซึ่งมีอยู่ 3 แบบ คือ
. 1.1 การต่อความต้านทานแบบอันดับ หรือแบบอนุ กรม
เป็ นการต่อความต้ านทานเรียงกันไปตามลาดับ โดยที่ปลายสายของความต้ านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ า
(หลอด) ของตัวที่หนึ่งต่อกับต้ นสายของ
ความต้ านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ า (หลอด) ของตัวที่สอง และอีกปลายหนึ่งของความต้ านทานหรือ
อุปกรณ์ไฟฟ้ าตัวที่สองต่อกับต้ นสายของความต้ านทาน หรือ
อุปกรณ์ตัวที่สามเรียงต่อกันไปอย่างนี้จนครบวงจร
คุณสมบัติของวงจรแบบอันดับหรืออนุ กรม
1. กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านความต้ านทานแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน
2. แรงดันกระแสไฟฟ้ าของวงจรทั้งหมดเท่ากัน แรงดันกระแสไฟฟ้ าตกคร่อมของแต่ละความต้ านทาน
รวมกัน
- 4. 1.2 การต่ อความต้ านทานแบบขนาน
การต่อความต้านทานแบบขนาน เป็ นการต่อสายของความต้านทานแต่ละตัวไว้ที่เดียวกัน และปลายสายอีกด้าน
หนึ่งต่อร่ วมกันไว้ที่เดียวกัน
คุณสมบัติของการต่อวงจรแบบขนาน
1. ความต้ านทานแต่ละตัวได้ รับแรงดันกระแสไฟฟ้ าเท่ากัน
2. กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านความต้ านทานแต่ละตัวมีค่าไม่เท่ากัน ทั้งนี้ข้ ึนอยู่กบความต้ านทานนั้น ๆ คือ ถ้ ามีความ
ั
ต้ านทานมาก
กระแสไฟฟ้ าจะไหลได้ น้อย ถ้ ามีความต้ านทานน้ อยกระแสไฟฟ้ าจะไหลได้ มาก
3. ผลรวมของกระแสไฟฟ้ าที่แยกไหลผ่านแต่ละความต้ าน เมื่อรวมกันแล้ วจะเท่ากับกระแสไฟฟ้ าของวงจร
- 5. 1.3 การต่อความต้านทานแบบผสม .........เป็ นการต่อความ
ต้านทานทีมทง 2 แบบในวงจรเดียวกัน
่ ี ั้
วงจรไฟฟ้ าภายในบ้ านนิยมแบบขนาน เนื่องจากถ้ ามีอุปกรณ์ไฟฟ้ าตัวใดตัวหนึ่งขาด อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่เหลือก็
จะใช้ งานได้
1.4 แผนผังการต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้าน การต่อไฟฟ้ าในบ้ านเริ่มต้ นจากสายไฟฟ้ าใหญ่ลงมาที่มาตรไฟฟ้ า
จากมาตรไฟฟ้ าต่อเข้ าคัตเอาท์และฟิ วส์สายที่ต่อจากฟิ วส์เป็ นสายประธานซึ่งสามารถต่อแยกไปยังส่วนต่าง
ๆ ของอาคารได้
- 6. 2. อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟาภายในบ้านที่จาเป็ น
้
2.1 อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ใช้ภายในบ้าน
2.1.1 เต้าเสียบ หรือเต้ารองรับ เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ใช้ เป็ นจุดต่อของวงจรอุปกรณ์ไฟฟ้ า
ภายในบ้ าน เพื่อความสะดวกในการใช้ งาน
เต้ าเสียบที่ใช้ ในบ้ านเราจะมี 2 ช่อง แต่เต้ าเสียบที่จะช่วยให้ เกิดความปลอดภัยมากคือ
เต้ าเสียบแบบ 3 ช่อง เพราะช่องที่ 3 จะต่อกับสายดิน ซึ่งจะช่วย
ให้ เกิดความปลอดภัยในการใช้ งาน
- 7. 2.1.2 ลูกเสียบ (ปลั๊กเสียบ) เป็ นอุปกรณ์ทต่อกับสายของเครืองใช้ไฟฟา มี 2 แบบ คือ
ี่ ่ ้
ลูกเสียบแบบ 2 ขา ซึงจะใช้กบเต้าเสียบ 2 ช่อง
่ ั
กับลูกเสียบแบบ 3 ขา ซึงจะใช้กบเต้าเสียบทีม ี 3 ช่อง
่ ั ่
.ลูกเสียบนี้จะต่อกับปลายสายไฟฟ้ าที่ต่อเข้ าอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่าง ๆ จะต้ องต่อสายไฟ
เข้ าขั้วต่อสายอย่างแข็งแรงและถูกต้ องตามวิธี คือ ภายใน
จะต้ องผูกปมอย่างถูกวิธี
- 8. .2.1.3 สวิตช์ไฟฟ้า.... เป็ นอุปกรณ์สาหรับปิ ด-เปิ ดวงจรไฟฟ้า สวิตช์ไฟฟ้าทีใ่ ช้ตามบ้าน
มีหลายแบบ ขึนอยู่กบบริษททีผลิต
้ ั ั ่
แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ แบบฝั ง (ใช้ฝังในผนัง) แบบที่ 2 แบบไม่ฝัง หรือเรียกว่า แบบลอย
(Surface Switches) คือ ติดตังบนผนัง นิยม ้
ใช้ในอาคาร ตามชนบททัวไป เพราะราคาถูกและติดตังง่ายกว่าแบบฝั ง
่ ้
- 10. .2.2 เครื่องใช้ไฟฟาภายในบ้าน
้
.เครื่องใช้ ไฟฟ้ าภายในบ้ านมีหลายประเภททั้งที่ให้ แสงสว่าง ความร้ อน และประเภทที่ใช้
มอเตอร์ อุปกรณ์ไฟฟ้ าแต่ละอย่างจะมีวิธใช้ และการบารุง
ี
รักษาที่แตกต่างกัน ดังนั้น ผู้ใช้ จะต้ องรู้จักวิธใช้ อย่างถูกต้ องปลอดภัย ประเภทของ
ี
เครื่องใช้ ไฟฟ้ า มีดงนี้
ั
2.2.1 เครืองใช้ไฟฟ้ าประเภทให้ความร้อนที่ควรรูจก คือ
่ ้ั
1) เตารีดไฟฟ้ า เตารีดไฟฟ้ ามีหลายแบบ แบบที่นิยมใช้ คือ แบบปรับความร้ อนโดย
อัตโนมัติธรรมดา และแบบปรับความร้ อน
อัตโนมัติมีไอนา ้
- 11. ส่วนประกอบของเตารีดไฟฟา แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ
้
. 1. ส่วนที่ให้ ความร้ อน ประกอบด้ วย ลวดนิโครม ซึ่งเป็ นโลหะผสมระหว่างนิกเกิลกับโครเมียม
ซึ่งเป็ นโลหะที่มีความต้ านทานสูง และจุดหลอมเหลวสูงเป็ นตัวจ่ายความร้ อน และแผ่นไมก้ า ซึ่ง
เป็ นฉนวนความร้ อน
.2. ส่วนที่ควบคุมความร้ อน หรือที่เราเรียกว่า เทอร์โมสตาร์ต ประกอบด้ วยโลหะที่มีความจุความ
ร้ อนต่างกัน 2 แผ่น ประกบ
ติดกัน เมื่อได้ รับความร้ อนเท่ากัน การขยายตัวจะต่างกัน ทาให้ แผ่นโลหะโค้ งขึ้น วงจรปิ ด
กระแสไฟฟ้ าไม่ไหลผ่าน เมื่ออุณหภูมิลดลง
แผ่นโลหะก็จะกลับเหมือนเดิม วงจรเปิ ด กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านได้ ซึ่งการทางานจะเป็ นดังนี้ตลอด
การใช้ งาน
- 12. 2.2.2 หม้อหุงข้าวไฟฟา มีหลายแบบแตกต่างกันไปตาม
้
บริษทผู ผลิต ส่วนประกอบของหม้อหุงข้าวไฟฟา มีดงนี้
ั ้ ้ ั
หลักในการทางาน
หม้ อหุงข้ าวไฟฟ้ าประกอบด้ วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือ
- ส่วนที่ให้ ความร้ อน ประกอบไปด้ วยแผ่นโลหะที่มีความต้ านทานสูง และจุดหลอมเหลวสูง
- ส่วนควบคุมอุณหภูมิหรือเทอร์โมสตาร์ต ประกอบด้ วยโลหะที่มความจุความร้ อนต่างกัน 2 แผ่นประกบ
ี
ติดกันอยู่
..การทางานเมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้ าผ่านเข้ าไปในหม้ อหุงข้ าว ไฟฟ้ าจะทาให้ แผ่นความร้ อนส่งผ่านพลังงาน
ความร้ อนไปยังหม้ อใน และเมื่อ
อุณหภูมสงจนถึงที่กาหนดไว้ เทอร์โมสตาร์ตก็จะตัดวงจร ทาให้ ไม่มีกระแสไฟฟ้ าไหลในวงจรที่ผ่านแผ่น
ิ ู
ความร้ อน
- 14. 2.4 เครื่องใช้ไฟฟาประเภทให้แสงสว่าง ไฟฟาแสงสว่างทีนยมใช้ใน
้ ้ ่ิ
บ้านพักอาศัยมีอยู่ 2 แบบ คือ
2.4.1 หลอดชนิดไส้ (Incandescent Lamp) หมายถึง หลอดไฟฟ้ าที่ไส้ หลอดทาด้ วยโลหะทังสเตน
ภายในเป็ นสูญญากาศ การใช้
จะต้ องเสียบลงในขั้วหลอด ซึ่งมีท้งแบบเกลียว และแบบเขี้ยว หลอดไฟฟ้ าขนาดต่าง ๆ บอกกาลังไฟฟ้ าเป็ น
ั
วัตต์
.2.4.2 หลอดวาวแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ ....เป็ นหลอดมีไส้ อกชนิดหนึ่ง ประกอบด้ วยส่วนสาคัญ คือ
ี
รางหลอด ขั้วหลอด
บัลลาสต์ และสตาร์ตเตอร์สวิตช์ ซึ่งต่อเป็ นวงจร
- 15. 1) บัลลาสต์ เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญของหลอดวาวแสง เพราะเป็ นตัวจากัดกระแสไฟฟ้ า ทาให้ หลอดมี
อายุยืน มีขนาด40 วัตต์ 32 วัตต์ (สาหรับหลอดกลม) และ 20 วัตต์ ปัจจุบันมีนโยบายประหยัดพลังงาน
บริษัทได้ ผลิตบัลลาสต์ชนิดประหยัดพลังงานไฟฟ้ า เรียกว่า “โลลอสบัลลาสต์” (Low Loss Ballast)
เป็ นบัลลาสต์ท่มการสูญเสียกาลังงานไฟฟ้ าต่ากว่าบัลลาสต์ธรรมดา เป็ นการประหยัดไฟฟ้ าได้ 4 - 6 วัตต์
ี ี
ต่อ 1 หลอด คิดเป็ น 40 เปอร์เซ็นต์ของบัลลาสต์แบบเดิม
.2) สตาร์ตเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ประกอบวงจรหลอดวาวแสง ขาหลอดจะออกแบบไว้ ใส่สตาร์ตเตอร์
โดยเฉพาะสตาร์ตเตอร์มีหน้ าที่ต่อวงจร เพื่ออุ่นไส้ หลอดเกิดอิเล็กตรอนไหลในหลอด แล้ วสตาร์ตเตอร์จะ
ตัดวงจรโดยอัตโนมัติโดยอาศัยหลักการขยายตัวของโลหะต่างชนิดกัน เรียกว่า แผ่นไบเมทอล
(Bimetallic strip)
- 16. การทางานของหลอดไฟฟ้ า
.... ภายในหลอดฟลูออเรสเซนต์ สูบอากาศออกให้ เหลือความดันประมาณ 1/6
ของบรรยากาศ แล้ วหยดไอปรอทลงไป ผนังหลอด
ฉาบสารเรืองแสง (ฟลูออ) เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านวงจรผ่านบัลลาสต์ จะทาให้
เกิดแรงดันกระแสไฟฟ้ าสูง อิเล็กตรอนจะหลุดออกจาก
ไส้ หลอดด้ านหนึ่งผ่านหลอดไปยังอีกขั้วหลอดที่อยู่ตรงข้ าม ซึ่งช่วงนี้บลลาสต์จะลด
ั
แรงดันกระแสไฟฟ้ าลง สตาร์ตเตอร์สวิตช์กเ็ ปิ ดวงจร
ไฟฟ้ า ขณะที่อเล็กตรอนผ่านและชนโมเลกุลของไอปรอท ทาให้ เกิดแสง
ิ
อัลตราไวโอเลต ซึ่งทาให้ เกิดการเรืองแสงในหลอด
- 17. หลอดวาวแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์
มีขนาดต่าง ๆ เช่น 20 วัตต์ 32 วัตต์ และ 40 วัตต์ ปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตได้ คิดประดิษฐ์หลอดไฟฟ้ าแบบ
ประหยัดขึ้นเพื่อโครงการ
ประหยัดพลังงานคือ
1. หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดตะเกียบ)
2. หลอดประหยัดไฟฟ้ า (แบบผอม) ขนาด 18 วัตต์ แทนหลอดไฟฟ้ าขนาด 20 วัตต์ (แบบอ้ วน) ซึ่ง
ประหยัดไฟฟ้ า 2 วัตต์ คิดเป็ น ... 10 เปอร์เซนต์ของหลอดอ้ วน (20 วัตต์) ซึ่งให้ แสงสว่างเท่ากัน
3. หลอดประหยัดไฟ 36 วัตต์ (หลอดผอม) แทนหลอดไฟฟ้ าแบบอ้ วน (40 วัตต์) ประหยัดไฟฟ้ า 4 วัตต์
คิดเป็ น 40 เปอร์เซนต์.. ของหลอดอ้ วน (40 วัตต์) ซึ่งให้ แสงสว่างเท่ากัน
- 18. 3 การใช้ไฟฟาอย่างประหยัด
้
การประหยัดพลังงานไฟฟ้ าอาจจะทาได้ดงนี้
ั
1. ใช้ หลอดวาวแสงแบบประหยัด (หลอดผอม)
2. ปิ ดไฟฟ้ าเมื่อไม่ใช้ งาน ก่อนถอดปลั๊กไฟต้ องปิ ดเครื่องใช้ ไฟฟ้ าก่อนเสมอ
3. ใช้ แสงสว่างเท่าที่จาเป็ น
4. ใช้ หลอดไฟฟ้ าวัตต์ต่า
5. ออกแบบโคมไฟฟ้ าที่มีกาลังสะท้อนแสงสูง
6. หมั่นทาความสะอาดโคมไฟฟ้ า
7. หลีกเลี่ยงใช้ สทบแสงในอาคารต่าง ๆ
ี ึ
8. ประหยัดไฟฟ้ าในระบบทาความเย็น
- เลือกใช้ ต้ ูเย็นขนาดต่าพอเหมาะหรือเลือกใช้ ต้ ูเย็นแบบประหยัดไฟฟ้ า
- ลดภาระความร้ อนของเครื่องปรับอากาศ เช่น ความร้ อนจากภายนอกห้ องและความร้ อน
ภายในห้ อง
- เลือกใช้ เครื่องปรับอากาศที่เหมาะสม
9. เลือกใช้ โทรทัศน์ขนาดเหมาะสม