การวิเคราะห์แนวโȨมและการเปลี่ยนแปลงึϹานวิทยาศาสตร์และทคโนโลยีไทยใȨȨคต
- 6. มนุษย์มีสมอง นิ้วมือ ที่ทํางานได้อย่างดี
ต้องปรับตัวเองเพื่อดํารงชีวิต
รู้จักคิดค้น สิ่งอํานวยความสะดวก (ปัจจัย 4)
แสวงหาความรู้ ศึกษาธรรมชาติ
สงสัย สังเกต จนทําให้เกิด วิทยาศาสตร์
หลังจากนั้นคําว่าวิทยาศาสตร์ก็ใช้ควบคู่
กับคําว่าทคโนโลยี
“วิทยาศาสตร์และทคโนโลยี”
- 8. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ : Scientific method
เป็นรากฐานของวิธีการศึกษา เพื่อความถูกต้อง แม่นยํา
แน่นอน
ลําดับขั้นตอนการศึกษาได้เป็นขั้นๆ ดังนี้
1. การสังเกต : Observation
เป็นรากฐานที่ทําให้
เกิดแนวคิด
Isaac Newton
- 9. 2. ปัญหา : Problem
เมื่อสังเกตแล้ว ก่อให้เกิดแนวคิด ตั้งปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่
สังเกตนั้นเพื่อแสวงหาคําตอบ
3. สมมติฐาน : Hypothesis
การเดาคําตอบของปัญหา อาจถูกหรือผิดก็ได้ คําตอบมีได้
หลายรูปแบบแต่คําตอบทีถกต้องจะมีเพียงคําตอบเดียว
ู่
- 10. 4. การพิสูจน์ หรือการทดลอง : Experimentation
การทดลองเป็นการที่จะพิสูจน์ว่าสมมติฐานใดถูกต้อง
เป็นขั้นตอนสําคัญ หากผิดพลาดจะเกิดผลเสีย
- 11. 5. ความจริง หรือทฤษฎี : Fact or Theory
เมื่อรวบรวมผลการทดลองและพิสูจน์ได้ว่าสมมติฐานเป็น
ความจริง สมมติฐานนี้ก็คือความจริงหรือ ทฤษฎี
- 12. ทคโนโลยี
การนําวิทยาศาสตร์และความรู้ที่ได้จากการรวบรวมมา
ประยุกต์ใช้ตามวัตถุประสงค์ของมนุษย์เพื่อแก้ไขปัญหา และ
เพิ่มความสะดวกสบายในการดํารงชีวิต ซึ่งการนํามาใช้นั้น
ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ
1) ความเหมาะสม
2) ค่านิยม
3) วัฒนธรรมทางสังคม
- 20. 4. ยุคของวิทยาศาสตร์และการปฏิวัติอุตสาหกรรม
(300-WWII)
- มีนักวิทยาศาสตร์และความรู้เกิดขึ้นมากมาย
- มีการพัฒนาความรู้ด้านฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา
- สังคมเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วและซับซ้อนมากขึ้น
- การนําความรู้มาใช้ในการทําสงคราม
- 21. 5. ยุคของวิทยาศาสตร์และทคโนโลยีในปัจจุบนและ
ั
อนาคต
- หลัง WWII ทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว
- ความรู้ด้าน DNA การตัดต่อยีน
- การสร้างวงจรไฟฟ้าขนาดเล็ก ผลิตคอมพิวเตอร์
โทรศัพท์มือถือ หุ่นยนต์
- ทําลายสิ่งแวดล้อมมากมาย
- 22. ประโยชน์ – โทษ ของทคโนโลยี
ประโยชน์
- การดํารงชีวิตสะดวกสบายมากขึ้น
- การติดต่อสื่อสารสะดวก รวดเร็ว
- การรักษาพยาบาลทันสมัย อายุยืนมากขึ้น
- 23. โทษ
- ผลเสียต่อสภาพแวดล้อม
- ธรรมชาติขาดสมดุล ภัยพิบัติมากขึ้น รุนแรงขึ้น
- สภาพสังคมซับซ้อนมากขึ้น
- 25. วัฎจักรของทคโนโลยี
1. การวิจัย : Research
2. พัฒนา : Develope
3. โครงการต้นแบบ : Pilot
4. แนะนําเชิงพาณิชย์ : Intro
5. ขยายวงการใช้ทคโนโลยี : Growth
6. ระยะอิ่มตัว : Mature
7. ระยะลดต่ํา : Decline
- 30. เมืองไซเบอร์
ตัวอย่างของเมือง ไซเบอร์ คือ ไซเบอร์จายา (Cyberjaya) เป็นเมืองที่
สร้างขึ้นในประเทศมาเลเซีย เป็นที่ตั้งของอุตสาหกรรมด้านสื่อ
มัลติมีเดียศูนย์การค้นคว้าและวิจัย (R&D Centers) มหาวิทยาลัย
มัลติมีเดีย สามารถเป็นต้นแบบของเมืองในศตวรรษที่ 21 ในแผนการ
อาศัยในเมืองไซเบอร์จายานั้น
ห้ามใช้ยานพาหนะต่าง ๆ ที่
ใช้น้ํามันเชื้อเพลิง และสนับ
สนุนให้ใช้สิ่งที่ไม่ก่อให้เกิด
มลพิษ บ้านใช้พลังงานแสง
อาทิตย์และเชื่อมต่อกับศูนย์
สั่งการของเมือง
- 39. วิทยาศาสตร์และทคโนโลยีของประเทศไทย
ปัจจุบนที่ประเทศไทยได้เข้ามาสู่ยคโลกาภิวัตน์ที่มีการสื่อสารไร้
ั ุ
พรมแดน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนอกประเทศส่งผลกระทบอย่างมาก จน
สังคมไทยปรับตัวไม่ทันกับคลื่นการเปลี่ยนแปลงสังคมของโลก
(Future Shock) เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม
อย่างรวดเร็ว ด้วยพลังแห่งวิทยาศาสตร์ ทคโนโลยีและนวัตกรรม ใน
รูปแบบการสื่อสารแบบไร้พรมแดน ที่มีปจจัยขับเคลื่อน (Driving
ั
Forces) หลักของประเทศ
- 41. การวิเคราะห์วทยาศาสตร์และทคโนโลยีของไทย
ิ
- ประเทศไทย มีปญหาเชิงโครงสร้างการพัฒนาของประเทศที่ไม่สมดุล
ั
ไม่ยั่งยืน และอ่อนไหวต่อผลกระทบจากความผันผวนของปัจจัย
ภายนอกที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
- ประเทศไทยจึงจําเป็นต้องปรับตัวหันมาทบทวนอนาคต ไปสู่การพัฒนา
ในทิศทางที่พ่งพาตนเองและมีภูมิคมกันมากขึ้น โดยมุ่งเน้นการใช้
ึ ุ้
วิทยาศาสตร์ ทคโนโลยีและนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ภาคส่วนต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่
ยึด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้การพัฒนาและบริหารประเทศ
เป็นไปในทางสายกลาง
- 42. - โดยมีการวิเคราะห์อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “สังคมคุณภาพ
และมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ” ให้เกิดความสมดุลระหว่างวัตถุกับ
จิตใจของคนในชาติ ความสมดุลระหว่างความสามารถในการ
พึ่งตนเองกับความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก ความสมดุล
ระหว่างสังคมชนบทกับสังคมเมือง โดยมีการเตรียมการบริหารจัดการ
ความเสี่ยงให้เพียงพอพร้อมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
- 43. - การขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาทุกขั้นตอนต้องใช้ “ความรู้” ในการ
พัฒนาด้านต่างๆ ด้วยความรอบคอบ เป็นไปตามลําดับขั้นตอน และ
สอดคล้องกับวิถีชีวิตของสังคมไทย รวมทั้งการเสริมสร้างศีลธรรมและ
สํานึกใน “คุณธรรม” จริยธรรมในการปฏิบติหน้าที่และดําเนินชีวิต
ั
ด้วยความเพียร อันจะเป็นภูมิคุ้มกันในตัวที่ดให้พร้อมเผชิญการ
ี
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน สังคมและ
ประเทศชาติ และยังสอดคล้องตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
- 45. - การเกิดนวัตกรรมสีเขียว (Green Innovation) โดยให้ความสําคัญ
กับ การผลิตและบริการเชิงนิเวศน์ การสร้างสรรค์วิทยาศาสตร์และ
ทคโนโลยีใหม่และร่วมสมัย ในกรอบของทคโนโลยีอุบัติใหม่
(Emerging Technology) วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ทคโนโลยีชีวภาพ
ทคโนโลยีวสดุ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และนา
ั
โนทคโนโลยี (Nanotechnology)