ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การสอบสวȨูปวย๶สียชีวตโรคไྺȋมาลาเรีย
                                                        ิ
      หมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร
                                      28 มกราคม 2552
ผูรายงานและสอบสวน
         1. นายสามารถ เฮียงสุข ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ ปฏิบัติการ
         2. นายสุรินทร เงินยวง          ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุข ระดับ ชํานาญงาน
         3. นายสมบัติ ทองชอย            ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุข ระดับอาวุโส
         4. นายเจษฎา เอี่ยมดี            ตําแหนง พนักงานปฏิบัติการชันสูตรโรค
         5. นายมนัส มุงขุนการ            ตําแหนง พนักงานปฏิบัติการควบคุมพาหะนําโรค
ความเปนมา
          ดวยงานควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร ไดรับแจง
ทางโทรศัพท จากงานควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุข จังหวัดกําแพงเพชร เวลา 10.00 น.
ของวันที่ 25 มกราคม 2552              วามีผปวยเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย จํานวน 1 ราย ที่
                                            ู
โรงพยาบาลจังหวัดกําแพงเพชร ผูปวยเสียชีวิตชื่อ นางสาว นภิสรา ธนดลบรรพต อายุ 37 ป
                                    
อยูบานเลขที่ 12 หมู10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร
                         
        งานควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร ไดออกพืนที่      ้
ดําเนินการสอบสวนโรคโดยประสานงานกับหนวยงานทีเ่ กี่ยวของ ในวันที่ 27 มกราคม 2552
เวลาประมาณ 06.00 น
วัตถุประสงคของการสอบสวน
        1. เพื่อยืนยันการวินจฉัยโรค
                              ิ
        2. เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคตามบุคคล สถานที่ เวลา
        3. เพื่อหามาตรการในการปองกันและควบคุมโรคในพืนที่     ้
วิธีการศึกษา
       1. การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
           1.1ศึกษารายละเอียดของผูปวยเสียชีวิตโรคไขมาลาเรียจากโรงพยาบาลจังหวัด
กําแพงเพชรจากผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ และการสัมภาษณญาติผูปวยที่เสียชีวิต
        2. การศึกษาสิงแวดลอม
                       ่
           สํารวจสภาพสิงแวดลอมทั่วไปและดําเนินการสํารวจลูกน้ํายุงกนปลองพาหะนําโรคไข
                           ่
มาลาเรีย บานผูปวยเสียชีวตและ ละแวกบานใกลเคียง เพื่อศึกษาหาสาเหตุของการเกิดโรคและ
                                ิ
วางแผนดําเนินการปองกันควบคุมโรค
        3. การเจาะโลหิตคนหาผูปวยรายใหมในพืนที่เกิดโรค จํานวน 134 คน
                                                 ้
ผลการสอบสวนโรค
ผูปวยชื่อ นางสาว นภิสรา ธนดลบรรพต อายุ 37 ป ประกอบอาชีพทําไรขาวโพด ที่อยู
ขณะปวยเลขที่ 12 หมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร
จากการใหขอมูลของนองสาวของผูปวย ทราบวา เริ่มปวยเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 ดวย
อาการ ไข ตัวรอน ปวดศีรษะและปวดกลามเนื้อ ผูปวยไดซื้อยามารับประทานเอง และรักษาตัว
                                                         
อยูที่บานเปนเวลา 2 วัน แตอาการไมดีขึ้น กอนปวยในวันที่ 2 มกราคม 2552 ผูปวยไดเดินทางไป
ตกปลาที่ลาหวยนอกกลุมบาน ซึงรอบบริเวณลําหวยมีลักษณะเปนปาทึบ มีนาไหลผานตลอดป
             ํ                        ่                                       ้ํ
และขอมูลจากการศึกษากีฎวิทยาพบวา ยังพบยุงที่เปนพาหะนําเชือไขมาลาเรียคือ Anopheles
                                                                   ้
minimus จนกระทังวันที่ 24 มกราคม 2552 ผูปวยไดเดินทางไปรักษาที่โรงพยาบาลจังหวัด
                       ่
กําแพงเพชร เวลาประมาณ 11.30 น. แพทยรับการรักษาเปนผูปวยใน โดยมีประวัติการเจ็บปวย
ดังนี้
            การเจ็บปวยในอดีต
                     - เปนโรค Chronic pancreatitis มี Pseudocyst in Liver
                     - Anemia และ Edema
            การเจ็บปวยในปจจุบัน
                    2 วันกอนมาโรงพยาบาลมีอาการไข ถายอุจจาระเหลว 3 ครั้ง วันนี้(วันที่ 24
มกราคม 2552) มีไข ไมมีน้ํามูก ปวดทองนอย ออนเพลีย อาการแรกรับผูปวยรูสึกตัวดี ปวด
ทองนอย ตัวและตาเหลือง T=36.2 C,P=72ครั้ง/นาที,R=20ครั้ง/นาที,BP=88/55mm/Hg แพทย
วินิจฉัยครั้งแรกวา Fever of unknown Origin C Shock R/OUT
            การรักษา
            วันที่ 24 มกราคม 2552
                     - IV fluid 0.9 NSS rate 120 cc/hr
                     - O2canular 3 LPM
                     - Cef-32gmOD
                     - PRC2U
                     - Chloroquine
                            4 tabs stat then
                            2 tabs อีก 6 ชั่วโมง ถัดมา then
                            2 tabs เชาพรุงนี้ then
                                          
                            2 tabs เชาวันถัดไป
                     - Primaquine (15) 2 tabs ODx14 วัน
                     - Folic 1x1 pc
วันที่ 25 มกราคม 2552
                     - Quinine 1200mg stat (Off Chloroquine)
                     - Quinine 600mg V drip q 8 ชั่วโมง
                     - Off Cet-3
                     - Platelet 1 U
              ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ
              CBC
                      WBC 2,400 Hct 23.8 Plt 50,000 N43% L54%
                      P.Vivax Amount: 0.3%
                      P.Vivax State:Trophozoites Gameetocyte
แพทยสรุปการวินิจฉัยวา Plasmodium vivax และโรครวม Pancytopenia และ Ac.Renal failure
        จากการสอบสวนสภาพสิ่งแวดลอมที่บานผูปวยทีเ่ สียชีวิต       พบวาเปนบานไมชั้นเดียว
หลังคามุงสังกะสี ไมมหองเปนสัดสวน มีหองน้ําแยกออกจากตัวบาน มีการปลูกสรางบานเรือน
                            ี
อยูกันแออัด
มาตรการปองกันควบคุมโรคที่ดําเนินการแลว
         ทีมควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร เขาพืนที่ในวันที่ 27
                                                                                ้
มกราคม 2552 โดยไดดําเนินการดังนี้
       1. เจาะโลหิตคนหาผูปวย ครอบคลุมในละแวกบานผูปวย จํานวน 134 ไมพบเชื้อมาลาเรีย
                              
       2. พนทําลายแหลง เพื่อกําจัดยุงกนปลองนําเชือไขมาลาเรียละแวกบานผูปวย จํานวน 7
                                                     ้                      
หลังคาเรือน
      3. ดําเนินการสํารวจลูกน้ํายุงกนปลองพาหะนําโรคไขมาลาเรียบริเวณลําหวยของหมูบาน พบ
                                                                                      
ลูกน้ํายุงพาหะชนิด Anopheles minimus จํานวน 3 ตัว
      4. ดําเนินการใหสุขศึกษาประชาสัมพันธการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรีย จํานวน 134 คน
ไมพบผูปวยรายใหม
มาตรการปองกันและควบคุมโรคอื่นๆ
         ผลการสอบสวนโรค พบวาผูปวยรายนีเ้ สียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย จากการวินิจฉัยของ
แพทย และจากผลการสอบสวนโรค สภาพแวดลอมอื่นๆ พบวาที่ผานมาผูปวยที่เสียชีวิตมี
พฤติกรรมที่ไมคอยใหความรวมมือในการเจาะโลหิตคนหาเชื้อไขมาลาเรีย การสํารวจสภาพพืนที่    ้
รอบบานผูปวยเสียชีวิต พบวามีสงแวดลอมที่เหมาะสมเปนแหลงเพาะพันธุยุงกนปลอง และทราบ
                                    ิ่                                
อีกวาผูปวยเสียชีวิตรายนี้ไมไดเดินทางไปไหนมาเลยกอนปวย สรุปไดวาแหลงรังโรคนาจะอยูใน
                                                                                            
พื้นที่ดังกลาว เนื่องจากมีการพบทังลูกน้าและยุงพาหะนําโรคไขมาลาเรีย
                                       ้ ํ
จากขอสถานการณโรคไขมาลาเรียหมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร
จังหวัดกําแพงเพชร ยอนหลังตั้งแตป 2549- 2551 พบผูปวยโรคไขมาลาเรียป 2549 จํานวน5
ราย คิดเปนอัตราปวย 10.66 ตอประชากรพันคน ป 2550 พบผูปวยโรคไขมาลาเรียจํานวน 14 ราย
คิดเปนอัตราปวย 32.49 ตอพันประชากร และในป 2551 พบผูปวยจํานวน 19 รายคิดเปนอัตรา
ปวย 26.32 ตอประชากรพันคน ในพืนที่ดังกลาวดําเนินการพนสารเคมีฤทธิ์ตกคางเปนประจําทุกป
                                  ้
 ขอเสนอแนะ
      1. จากการพบผูปวยเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรียในพืนที่ ทีมควบคุมโรค ของหนวยควบคุม
                                                     ้
โรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1.1 อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร ควรใชมาตรการในการเฝาระวัง
ใหมากขึ้น        รวมถึงการใหความสําคัญในการปองกันควบคุมโรคของผูปวยรายแรกของพืนที่   ้
(Index Case) การประสานงานในดานขอมูลของผูปวยกับหนวยงานที่เกียวของ อาจอาศัยรูปแบบ
                                                                    ่
คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอ (คปสอ.)
    2. ควรมีการประชาสัมพันธการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรียอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมถึง
การสรางการมีสวนรวมของประชาชนในพืนที่ผานการประชุมจัดทําเวทีประชาคม
                                       ้                                           เพื่อการ
ดําเนินงานควบคุมโรคแบบมีสวนรวม
    3. ควรมีการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อความรวมมือประสานแผนและการ
จัดสรรทรัพยากรที่ใชในการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรียใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สูงสุด
กิตติกรรมประกาศ
           งานควบคุมโรคและงานระบาดวิทยา ของศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1
กําแพงเพชร สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค ขอขอบคุณ งานระบาดวิทยา
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําแพงเพชร, งานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลกําแพงเพชร, งาน
ควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําแพงเพชร            ที่ไดใหขอมูลผลการตรวจทาง
หองปฏิบัติการ ตลอดจนใหความรวมมือในการดําเนินการสอบสวนโรคเปนอยางดี

More Related Content

สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลา๶รีย

  • 1. การสอบสวȨูปวย๶สียชีวตโรคไྺȋมาลาเรีย ิ หมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร 28 มกราคม 2552 ผูรายงานและสอบสวน 1. นายสามารถ เฮียงสุข ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ ปฏิบัติการ 2. นายสุรินทร เงินยวง ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุข ระดับ ชํานาญงาน 3. นายสมบัติ ทองชอย ตําแหนง เจาพนักงานสาธารณสุข ระดับอาวุโส 4. นายเจษฎา เอี่ยมดี ตําแหนง พนักงานปฏิบัติการชันสูตรโรค 5. นายมนัส มุงขุนการ ตําแหนง พนักงานปฏิบัติการควบคุมพาหะนําโรค ความเปนมา ดวยงานควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร ไดรับแจง ทางโทรศัพท จากงานควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุข จังหวัดกําแพงเพชร เวลา 10.00 น. ของวันที่ 25 มกราคม 2552 วามีผปวยเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย จํานวน 1 ราย ที่ ู โรงพยาบาลจังหวัดกําแพงเพชร ผูปวยเสียชีวิตชื่อ นางสาว นภิสรา ธนดลบรรพต อายุ 37 ป  อยูบานเลขที่ 12 หมู10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร  งานควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร ไดออกพืนที่ ้ ดําเนินการสอบสวนโรคโดยประสานงานกับหนวยงานทีเ่ กี่ยวของ ในวันที่ 27 มกราคม 2552 เวลาประมาณ 06.00 น วัตถุประสงคของการสอบสวน 1. เพื่อยืนยันการวินจฉัยโรค ิ 2. เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคตามบุคคล สถานที่ เวลา 3. เพื่อหามาตรการในการปองกันและควบคุมโรคในพืนที่ ้ วิธีการศึกษา 1. การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา 1.1ศึกษารายละเอียดของผูปวยเสียชีวิตโรคไขมาลาเรียจากโรงพยาบาลจังหวัด กําแพงเพชรจากผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ และการสัมภาษณญาติผูปวยที่เสียชีวิต 2. การศึกษาสิงแวดลอม ่ สํารวจสภาพสิงแวดลอมทั่วไปและดําเนินการสํารวจลูกน้ํายุงกนปลองพาหะนําโรคไข ่ มาลาเรีย บานผูปวยเสียชีวตและ ละแวกบานใกลเคียง เพื่อศึกษาหาสาเหตุของการเกิดโรคและ ิ วางแผนดําเนินการปองกันควบคุมโรค 3. การเจาะโลหิตคนหาผูปวยรายใหมในพืนที่เกิดโรค จํานวน 134 คน  ้ ผลการสอบสวนโรค
  • 2. ผูปวยชื่อ นางสาว นภิสรา ธนดลบรรพต อายุ 37 ป ประกอบอาชีพทําไรขาวโพด ที่อยู ขณะปวยเลขที่ 12 หมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร จากการใหขอมูลของนองสาวของผูปวย ทราบวา เริ่มปวยเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 ดวย อาการ ไข ตัวรอน ปวดศีรษะและปวดกลามเนื้อ ผูปวยไดซื้อยามารับประทานเอง และรักษาตัว  อยูที่บานเปนเวลา 2 วัน แตอาการไมดีขึ้น กอนปวยในวันที่ 2 มกราคม 2552 ผูปวยไดเดินทางไป ตกปลาที่ลาหวยนอกกลุมบาน ซึงรอบบริเวณลําหวยมีลักษณะเปนปาทึบ มีนาไหลผานตลอดป ํ ่ ้ํ และขอมูลจากการศึกษากีฎวิทยาพบวา ยังพบยุงที่เปนพาหะนําเชือไขมาลาเรียคือ Anopheles ้ minimus จนกระทังวันที่ 24 มกราคม 2552 ผูปวยไดเดินทางไปรักษาที่โรงพยาบาลจังหวัด ่ กําแพงเพชร เวลาประมาณ 11.30 น. แพทยรับการรักษาเปนผูปวยใน โดยมีประวัติการเจ็บปวย ดังนี้ การเจ็บปวยในอดีต - เปนโรค Chronic pancreatitis มี Pseudocyst in Liver - Anemia และ Edema การเจ็บปวยในปจจุบัน 2 วันกอนมาโรงพยาบาลมีอาการไข ถายอุจจาระเหลว 3 ครั้ง วันนี้(วันที่ 24 มกราคม 2552) มีไข ไมมีน้ํามูก ปวดทองนอย ออนเพลีย อาการแรกรับผูปวยรูสึกตัวดี ปวด ทองนอย ตัวและตาเหลือง T=36.2 C,P=72ครั้ง/นาที,R=20ครั้ง/นาที,BP=88/55mm/Hg แพทย วินิจฉัยครั้งแรกวา Fever of unknown Origin C Shock R/OUT การรักษา วันที่ 24 มกราคม 2552 - IV fluid 0.9 NSS rate 120 cc/hr - O2canular 3 LPM - Cef-32gmOD - PRC2U - Chloroquine 4 tabs stat then 2 tabs อีก 6 ชั่วโมง ถัดมา then 2 tabs เชาพรุงนี้ then  2 tabs เชาวันถัดไป - Primaquine (15) 2 tabs ODx14 วัน - Folic 1x1 pc
  • 3. วันที่ 25 มกราคม 2552 - Quinine 1200mg stat (Off Chloroquine) - Quinine 600mg V drip q 8 ชั่วโมง - Off Cet-3 - Platelet 1 U ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ CBC WBC 2,400 Hct 23.8 Plt 50,000 N43% L54% P.Vivax Amount: 0.3% P.Vivax State:Trophozoites Gameetocyte แพทยสรุปการวินิจฉัยวา Plasmodium vivax และโรครวม Pancytopenia และ Ac.Renal failure จากการสอบสวนสภาพสิ่งแวดลอมที่บานผูปวยทีเ่ สียชีวิต พบวาเปนบานไมชั้นเดียว หลังคามุงสังกะสี ไมมหองเปนสัดสวน มีหองน้ําแยกออกจากตัวบาน มีการปลูกสรางบานเรือน ี อยูกันแออัด มาตรการปองกันควบคุมโรคที่ดําเนินการแลว ทีมควบคุมโรค ศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร เขาพืนที่ในวันที่ 27 ้ มกราคม 2552 โดยไดดําเนินการดังนี้ 1. เจาะโลหิตคนหาผูปวย ครอบคลุมในละแวกบานผูปวย จํานวน 134 ไมพบเชื้อมาลาเรีย  2. พนทําลายแหลง เพื่อกําจัดยุงกนปลองนําเชือไขมาลาเรียละแวกบานผูปวย จํานวน 7 ้  หลังคาเรือน 3. ดําเนินการสํารวจลูกน้ํายุงกนปลองพาหะนําโรคไขมาลาเรียบริเวณลําหวยของหมูบาน พบ  ลูกน้ํายุงพาหะชนิด Anopheles minimus จํานวน 3 ตัว 4. ดําเนินการใหสุขศึกษาประชาสัมพันธการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรีย จํานวน 134 คน ไมพบผูปวยรายใหม มาตรการปองกันและควบคุมโรคอื่นๆ ผลการสอบสวนโรค พบวาผูปวยรายนีเ้ สียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรีย จากการวินิจฉัยของ แพทย และจากผลการสอบสวนโรค สภาพแวดลอมอื่นๆ พบวาที่ผานมาผูปวยที่เสียชีวิตมี พฤติกรรมที่ไมคอยใหความรวมมือในการเจาะโลหิตคนหาเชื้อไขมาลาเรีย การสํารวจสภาพพืนที่ ้ รอบบานผูปวยเสียชีวิต พบวามีสงแวดลอมที่เหมาะสมเปนแหลงเพาะพันธุยุงกนปลอง และทราบ ิ่  อีกวาผูปวยเสียชีวิตรายนี้ไมไดเดินทางไปไหนมาเลยกอนปวย สรุปไดวาแหลงรังโรคนาจะอยูใน   พื้นที่ดังกลาว เนื่องจากมีการพบทังลูกน้าและยุงพาหะนําโรคไขมาลาเรีย ้ ํ
  • 4. จากขอสถานการณโรคไขมาลาเรียหมู 10 บานโละโคะ ตําบลโกสัมพี อําเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกําแพงเพชร ยอนหลังตั้งแตป 2549- 2551 พบผูปวยโรคไขมาลาเรียป 2549 จํานวน5 ราย คิดเปนอัตราปวย 10.66 ตอประชากรพันคน ป 2550 พบผูปวยโรคไขมาลาเรียจํานวน 14 ราย คิดเปนอัตราปวย 32.49 ตอพันประชากร และในป 2551 พบผูปวยจํานวน 19 รายคิดเปนอัตรา ปวย 26.32 ตอประชากรพันคน ในพืนที่ดังกลาวดําเนินการพนสารเคมีฤทธิ์ตกคางเปนประจําทุกป ้ ขอเสนอแนะ 1. จากการพบผูปวยเสียชีวิตดวยโรคไขมาลาเรียในพืนที่ ทีมควบคุมโรค ของหนวยควบคุม  ้ โรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1.1 อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร ควรใชมาตรการในการเฝาระวัง ใหมากขึ้น รวมถึงการใหความสําคัญในการปองกันควบคุมโรคของผูปวยรายแรกของพืนที่ ้ (Index Case) การประสานงานในดานขอมูลของผูปวยกับหนวยงานที่เกียวของ อาจอาศัยรูปแบบ ่ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอําเภอ (คปสอ.) 2. ควรมีการประชาสัมพันธการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรียอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมถึง การสรางการมีสวนรวมของประชาชนในพืนที่ผานการประชุมจัดทําเวทีประชาคม ้  เพื่อการ ดําเนินงานควบคุมโรคแบบมีสวนรวม 3. ควรมีการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อความรวมมือประสานแผนและการ จัดสรรทรัพยากรที่ใชในการปองกันควบคุมโรคไขมาลาเรียใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูงสุด กิตติกรรมประกาศ งานควบคุมโรคและงานระบาดวิทยา ของศูนยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 8.1 กําแพงเพชร สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค ขอขอบคุณ งานระบาดวิทยา สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําแพงเพชร, งานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลกําแพงเพชร, งาน ควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําแพงเพชร ที่ไดใหขอมูลผลการตรวจทาง หองปฏิบัติการ ตลอดจนใหความรวมมือในการดําเนินการสอบสวนโรคเปนอยางดี