ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
บทไหว้ครู
บทความ


    ศีลแปดแลศีลห้า                           เร่งรักษาสมาทาน
  ทรงไว้เป็นนิจกาล                           ทังไตรรัตน์สรณา
                                               ้



ถอดความ


ศีลแปดและศีลห้ารีบรับมาปฏิบัติเป็นประจา รวมทั้งยึดถือพระพทุธ พระธรรม
                            พระสงฆ์เป็นที่พึ่ง
บทความ


       เห็นลาภอย่าโลภนัก                อย่าหาญหักด้วยมารยา
    ไข้นอยว่าไข้หนา
         ้                              อุบายกล่าวให้พงกลัว
                                                      ึ


  ถอดความ


เห็นลาภจะได้มาโดยไม่คาดคิดกาไรอย่า อยากได้จนไม่รู้จักพอ อย่าทาด้วยอานาจ
 ด้วยการ หลอกลวงเป็นไข้น้อยบอกว่า เป็นไข้หนัก พูดหลอกลวงให้เกิดความกลัว
บทวิ๶คราะห์
คุณค่าด้าน
  สังคม
๑. สะท้องให้เห็นความเชื่อของสังคมไทย
ฉันทศาสตร์ น่าจะมีความหมายว่า ตารา (ศาสตร์) ที่แต่งเป็นสูตร (ฉันท์) ตามอย่าง
ตาราการแพทย์ในคัมภีร์อาถรรพเวท และด้วยเหตุที่ว่าคัมภีร์อาถรรพเวท มีเรื่องราว
 เกี่ยวกับไสยศาสตร์ด้วย จึงมักเรียก “คัมภีรไสย์” แต่ในคัมภีร์ฉันทศาสตร์ มีการ
                                           ์
    ประสานความคิดความเชื่อต่างๆ ทางสังคมและทางพระพุทธศาสตร์เข้าด้วยกัน
   เนื้อหาจึงมีคาภาษาบาลีปรากฏให้ดห็นโดยตลอด ทาให้ได้รับความรู้เรื่องศัพท์ที่
  เกี่ยวกับศาสตร์ เช่น มิจฉา(ความผิด) พิริย(ความเพียร) วืจิกิจฉา(ความลังเล)
อุทธัจ(ความฟุ้งซ่าน)ฆ วิหิงษา(เบียดเยียน) อโนตัปปัง(ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป)
                                 อธิกรณ์(โทษ)
๒.สะท้องให้เห็Ȩุณค่าเรืองแพทย์แผนไทย
                                        ่
 ถ้าจะพินิจในส่วนที่พรรณนาถึงทับ ๘ ประการ เราจะปฏิเสธไม่ได้ว่าการแพทย์แผนไทย
  เป็นการรักษาอีกวิธีหนึ่ง เป็นแพทย์ทางเลือกที่ยังจาเป็นสาหรับชาวชนบทที่ห่างไกลความ
เจริญ เราคิดว่าเป็นเรื่องล้าสมัยไม่ได้ เพราะเวชกรรมตามแบบเภสัชกรรมแผนโบราณได้รับ
  ความเชื่อถือมาช้านานก่อนที่จะรับเอาวิทยาการทางการแพทย์แบบแผนตะวันตกมาใช้ ซึ่ง
ปัจจุบันการค้นคว้าวิจัยทางการแพทย์ ก็กลับมาให้ความสาคัญต่อคุณสมบัติของพืชสมุนไพร
        ในแต่ละท้องถิ่น โดยถือเป็นทางเลือกหนึงในการบาบัดรักษาโรคให้กับคนไข้
                                                ่
๓.สะท้องข้อคิดเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต
ซึ่งสามารถนาไปปรับใช้ได้กับทุกวิชาชีพ เพราะไม่ว่าจะเป็นบุคคลในอาชีพใด ถ้าไม่มีความ
     ประมาท ความอวดดี ความริษยา ความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความหลงตนเอง และมี
ศีลธรรมประจาใจ ย่อมได้รับการยกย่องจากบุคคลต่างๆ โดยเฉพาะอาชีพแพทย์ซึ่งเกี่ยวข้อง
กับความเป็นความตายของชีวิตคน ต้องเป็นผู้รอบรู้จริง ตั้งแต่การวินิจฉัยสมมติฐานของโรค
    การใช้ยา และความรับผิดต่อผู้ป่วย ให้ปฏิบัติด้วยความรอบคอบไม่ประมาท โดยนาคา
 สอนในพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางชี้นา นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่า การเยียวยารักษาโรคนั้น
ถ้าคนไข้ไม่หาย อย่าคิดว่าเป็น “กรรม” อาจจะเป็นเพราะเกิดจากความบกพร่องของแพทย์
    เอง ดังนั้น ถ้านาแนวคิดนี้เป็นข้อเตือนสติผู้อ่านก็จะประจักษ์ว่า ไม่ว่าจะอยู่ในอาชีพใด
                                 ต้องตั้งใจทาเต็มความสามารถ
๔. ให้ความรู้เร่องศัพท์ทางการแพทย์แผนโบราณ
เช่นคาว่า “ธาตุพิการ” หมายถึงธาตุทั้ง ๔ ในร่างกายผันแปรผิดปกติไป ทาให้เกิดโรคต่างๆ
ขึ้นตามกองธาตุเหล่านั้น คาว่า “กาเดา” หมายถึง อาการไข้อย่างหนึ่งเกิดจากหวัด เรียกว่า”
   ไข้’กาเดา”อาการของโรคจะมีเลือดออกทางจมูก เรียกว่า เลือกกาเดา คาว่า “ปวดมวน”
                          หมายถึง อาการปวดปั่นป่วนในท้อง
คาศัพท์        ความหมาย
สมาทาน    การถือรับเอาเป็นข้อปฏิบัติ

 มารยา    เป็นพฤติกรรมทีแสดงออก
                        ่
          ทางกาย วาจา ที่สะท้อน
              ออกมาจากจิตใจ
 นิจ        เสมอไป , สม่าเสมอ

 กาล         เวลา,คราว,ครั้ง,หน
จัดทำโดย
นางสาวศิรนาฏ
           ิ      ทรัพย์สิน
    ชั้ม ม.5/2 เลขที่ 10

More Related Content

ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน

  • 3. บทความ ศีลแปดแลศีลห้า เร่งรักษาสมาทาน ทรงไว้เป็นนิจกาล ทังไตรรัตน์สรณา ้ ถอดความ ศีลแปดและศีลห้ารีบรับมาปฏิบัติเป็นประจา รวมทั้งยึดถือพระพทุธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นที่พึ่ง
  • 4. บทความ เห็นลาภอย่าโลภนัก อย่าหาญหักด้วยมารยา ไข้นอยว่าไข้หนา ้ อุบายกล่าวให้พงกลัว ึ ถอดความ เห็นลาภจะได้มาโดยไม่คาดคิดกาไรอย่า อยากได้จนไม่รู้จักพอ อย่าทาด้วยอานาจ ด้วยการ หลอกลวงเป็นไข้น้อยบอกว่า เป็นไข้หนัก พูดหลอกลวงให้เกิดความกลัว
  • 7. ๑. สะท้องให้เห็นความเชื่อของสังคมไทย ฉันทศาสตร์ น่าจะมีความหมายว่า ตารา (ศาสตร์) ที่แต่งเป็นสูตร (ฉันท์) ตามอย่าง ตาราการแพทย์ในคัมภีร์อาถรรพเวท และด้วยเหตุที่ว่าคัมภีร์อาถรรพเวท มีเรื่องราว เกี่ยวกับไสยศาสตร์ด้วย จึงมักเรียก “คัมภีรไสย์” แต่ในคัมภีร์ฉันทศาสตร์ มีการ ์ ประสานความคิดความเชื่อต่างๆ ทางสังคมและทางพระพุทธศาสตร์เข้าด้วยกัน เนื้อหาจึงมีคาภาษาบาลีปรากฏให้ดห็นโดยตลอด ทาให้ได้รับความรู้เรื่องศัพท์ที่ เกี่ยวกับศาสตร์ เช่น มิจฉา(ความผิด) พิริย(ความเพียร) วืจิกิจฉา(ความลังเล) อุทธัจ(ความฟุ้งซ่าน)ฆ วิหิงษา(เบียดเยียน) อโนตัปปัง(ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป) อธิกรณ์(โทษ)
  • 8. ๒.สะท้องให้เห็Ȩุณค่าเรืองแพทย์แผนไทย ่ ถ้าจะพินิจในส่วนที่พรรณนาถึงทับ ๘ ประการ เราจะปฏิเสธไม่ได้ว่าการแพทย์แผนไทย เป็นการรักษาอีกวิธีหนึ่ง เป็นแพทย์ทางเลือกที่ยังจาเป็นสาหรับชาวชนบทที่ห่างไกลความ เจริญ เราคิดว่าเป็นเรื่องล้าสมัยไม่ได้ เพราะเวชกรรมตามแบบเภสัชกรรมแผนโบราณได้รับ ความเชื่อถือมาช้านานก่อนที่จะรับเอาวิทยาการทางการแพทย์แบบแผนตะวันตกมาใช้ ซึ่ง ปัจจุบันการค้นคว้าวิจัยทางการแพทย์ ก็กลับมาให้ความสาคัญต่อคุณสมบัติของพืชสมุนไพร ในแต่ละท้องถิ่น โดยถือเป็นทางเลือกหนึงในการบาบัดรักษาโรคให้กับคนไข้ ่
  • 9. ๓.สะท้องข้อคิดเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต ซึ่งสามารถนาไปปรับใช้ได้กับทุกวิชาชีพ เพราะไม่ว่าจะเป็นบุคคลในอาชีพใด ถ้าไม่มีความ ประมาท ความอวดดี ความริษยา ความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความหลงตนเอง และมี ศีลธรรมประจาใจ ย่อมได้รับการยกย่องจากบุคคลต่างๆ โดยเฉพาะอาชีพแพทย์ซึ่งเกี่ยวข้อง กับความเป็นความตายของชีวิตคน ต้องเป็นผู้รอบรู้จริง ตั้งแต่การวินิจฉัยสมมติฐานของโรค การใช้ยา และความรับผิดต่อผู้ป่วย ให้ปฏิบัติด้วยความรอบคอบไม่ประมาท โดยนาคา สอนในพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางชี้นา นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่า การเยียวยารักษาโรคนั้น ถ้าคนไข้ไม่หาย อย่าคิดว่าเป็น “กรรม” อาจจะเป็นเพราะเกิดจากความบกพร่องของแพทย์ เอง ดังนั้น ถ้านาแนวคิดนี้เป็นข้อเตือนสติผู้อ่านก็จะประจักษ์ว่า ไม่ว่าจะอยู่ในอาชีพใด ต้องตั้งใจทาเต็มความสามารถ
  • 10. ๔. ให้ความรู้เร่องศัพท์ทางการแพทย์แผนโบราณ เช่นคาว่า “ธาตุพิการ” หมายถึงธาตุทั้ง ๔ ในร่างกายผันแปรผิดปกติไป ทาให้เกิดโรคต่างๆ ขึ้นตามกองธาตุเหล่านั้น คาว่า “กาเดา” หมายถึง อาการไข้อย่างหนึ่งเกิดจากหวัด เรียกว่า” ไข้’กาเดา”อาการของโรคจะมีเลือดออกทางจมูก เรียกว่า เลือกกาเดา คาว่า “ปวดมวน” หมายถึง อาการปวดปั่นป่วนในท้อง
  • 11. คาศัพท์ ความหมาย สมาทาน การถือรับเอาเป็นข้อปฏิบัติ มารยา เป็นพฤติกรรมทีแสดงออก ่ ทางกาย วาจา ที่สะท้อน ออกมาจากจิตใจ นิจ เสมอไป , สม่าเสมอ กาล เวลา,คราว,ครั้ง,หน
  • 12. จัดทำโดย นางสาวศิรนาฏ ิ ทรัพย์สิน ชั้ม ม.5/2 เลขที่ 10