ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สมเด็จพระสุริโยทัย
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
สมเด็จพระสุริโยทัย
พระอิสริยยศ พระอัครมเหสีของ
พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรี
อยุธยา
ข้อมูลส่วนพระองค์[ซ่อน]
สวรรคต ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๐๙๒
พระราชสวามี สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
พระราชโอรส/
ธิดา
พระราเมศวร
พระมหินทร์
พระวิสุทธิกษัตรีย์
พระบรมดิลก
พระเทพกษัตรี
สมเด็จพระสุริโยทัย (กลาง) ไสช้างเข้าขวางช้างสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (ขวา) ซึ่งกาลังเสียทีช้างพระเจ้าแปร (ซ้าย) ใน
สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ (จิตรกรรมประกอบโึคลงพระราชพงศาวดาร ฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรม
พระยานริศรานุวัติวงศ์)
สมเด็จพระศรีสุริโยทัย หรือ พระสุริโยทัย วีรสตรีไทยสมัยอยุธยา เป็นอัครมเหสีใน สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
หรือพระเฑียรราชา พระมหากษัตริย์องค์ที่ ๑๕ ของกรุงศรีอยุธยาราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัย ตามพงศาวดารหลวง
ประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามี ในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ใน
ปี พ.ศ. ๒๐๙๑ พงศาวดารบางฉบับ กล่าวว่า พระสุริโยทัย เป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย โดยมิได้กล่าว
รายละเอียดใดมากกว่านี้
เนื้อหา
[ซ่อน]
 1 พระราชประวัติ
 2 พระราชโอรสและพระราชธิดา
 3 พระวีรกรรม
 4 ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์
 5 อ้างอิง
[แก้] พระราชประวัติ
สมเด็จพระสุริโยทัยสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์พระร่วง ดารงตาแหน่งพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ในขณะที่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ขึ้นครองราชสมบัติกรุงศรีอยุธยาต่อจากขุนวรวงศาธิราชได้เพียง ๗ เดือน
เมื่อ พ.ศ. ๒๐๙๑ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และพระมหาอุปราชาบุเรงนองยกกองทัพพม่ารามัญเข้ามาล้อมกรุงศรีอยุธยา
ครั้งแรก โดยผ่านมาทางด้านด่านพระเจดีย์สามองค์ จังหวัดกาญจนบุรีและตั้งค่ายล้อมพระนคร การศึกครั้งนั้นเป็นที่เลื่องลือ
ถึงวีรกรรมของ สมเด็จพระศรีสุริโยไท ซึ่งไสช้างพระที่นั่งเข้าขวางพระเจ้าแปรด้วยเกรงว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระ
ราชสวามี จะเป็นอันตราย จนถูกพระแสงของ้าวฟันพระอังสาขาดสะพายแล่งสิ้นพระชนม์อยู่บนคอช้าง เพื่อปกป้องพระ
ราชสวามีไว้ เมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น ๖ ค่า เดือน ๔ ปีจุลศักราช ๙๑๐ ตรงกับวันเดือนปีทางสุริยคติ คือ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
๒๐๙๒ เมื่อสงครามยุติลง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้ทรงปลงพระศพของพระนางและสถาปนาสถานที่ปลงพระศพขึ้น
เป็นวัด ขนานนามว่า วัดสบสวรรค์ หรือวัดสวนหลวงสบสวรรค์
เจดีย์พระศรีสุริโยทัย บรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระศรีสุริโยทัย
[แก้] พระราชโอรสและพระราชธิดา
สมเด็จพระสุริโยทัย มีพระราชโอรส-พระราชธิดา ๕ พระองค์ ซึ่งน่าจะเรียงลาดับดังนี้
 พระราเมศวร พระราชโอรสองค์โต ถูกจับเป็นองค์ประกันแก่พม่า และสิ้นพระชนม์ระหว่างไปหงสาวดี
 พระมหินทร์ พระราชโอรสองค์รอง ต่อมาได้ขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระมหินทราธิราช กษัตริย์องค์สุดท้าย
ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๑๑๒
 พระสวัสดิราช พระราชธิดา ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น พระวิสุทธิกษัตรีย์ อัครมเหสีในสมเด็จพระมหา
ธรรมราชาและเป็นพระชนนีของพระสุพรรณกัลยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ
 พระบรมดิลก พระราชธิดา เสียพระชนม์ชีพพร้อมพระมารดาในสงครามคราวเสียพระสุริโยไท
 พระเทพกษัตรี พระราชธิดา ภายหลังถูกส่งตัวถวายแด่พระไชยเชษฐาแห่งอาณาจักรล้านช้าง ซึ่งระหว่างการ
เดินทางถึงชายแดนสยามประเทศพระนางถูกพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์แห่งพม่าทาการชิงตัวไปยังกรุงหงสาวดี
ในพ.ศ. ๒๕๓๕ ได้มีการก่อสร้าง พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยไท ที่บริเวณทุ่งมะขามหย่อง ตาบลบ้านใหม่
อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเป็นพระอนุสาวรีย์ประดิษฐานพระรูปสมเด็จพระสุริโยไท
[แก้] พระวีรกรรม
ดูบทความหลักที่ สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้
ความเป็นมาของสงครามระหว่างไทยกับพม่าในครั้งนั้น มีเหตุการณ์สืบเนื่องมาจากพระเจ้าหงสาวดีตะเบงชะเวตี้
ได้รู้ข่าวกรุงศรีอยุธยาเกิดเหตุวุ่นวาย เมื่อสิ้นรัชกาลสมเด็จพระไชยราชาธิราช เกิดการแย่งชิงราชสมบัติระหว่างสมเด็จพระ
ยอดฟ้า พระราชโอรส และขุนวรวงศาธิราช และอัญเชิญพระราชอนุชาต่างพระชนนีในสมเด็จพระไชยราชาธิราชขึ้นเสวย
ราชสมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
เมื่อกองทัพพระเจ้ากรุงหงสาวดียกมาถึงกรุงศรีอยุธยา แล้วกองทัพกรุงศรีอยุธยาได้ยกออกไป กองทัพฝ่ายกรุงศรี
อยุธยาของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ซึ่งมีสมเด็จพระสุริโยทัย พระอัครมเหสี และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสองพระองค์
เสด็จมาในทัพด้วยนี้ ได้ปะทะกับกองทัพพระเจ้าแปร ซึ่งเป็นทัพหน้าของพระเจ้ากรุงหงสาวดี ได้ทรงเข้าชนช้างกัน ความ
ในพงศาวดารไทยรบพม่าพรรณนาไว้ว่า
“...ช้างพระที่นั่งสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสียที สมเด็จพระสุริโยไทเกรงพระราชสวามีจะเป็นอันตราย จึงขับช้าง
ทรงเข้าขวางช้างข้าศึกไว้ พระเจ้าแปรได้ทีฟันสมเด็จพระสุริโยไท ด้วยสาคัญว่าเป็นชายสิ้นพระชนม์ซบลงกับคอช้าง…”
การสู้รบหลังจากสมเด็จพระสุริโยทัยสิ้นพระชนม์แล้ว พระราเมศวรกับพระมหินทราธิราชพระราชโอรส ทรงขับ
ช้างเข้าต่อสู้กับพระเจ้าแปรและกันพระศพสมเด็จพระราชชนนีกลับเข้าพระนคร โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญประดิษฐานไว้ใน
สวนหลวงเป็นการชั่วคราว จนเมื่อกองทัพพระเจ้าหงสาวดีได้ข่าวว่า กองทัพหัวเมืองฝ่ายเหนือของไทย อันมีสมเด็จพระ
มหาธรรมราชา นากาลังยกลงมาช่วยกรุงศรีอยุธยา ประจวบกับเสบียงอาหารเริ่มขาดแคลนลง จึงเลิกทัพกลับไปกรุงหงสาว
ดี ส่วนการพระศพสมเด็จพระสุริโยไทนั้นเมื่อเสร็จศึกสงครามแล้วโปรดให้ตั้งการพระราชพิธีพระราชทานเพลิง ณ สวน
หลวง และให้สถาปนาที่พระราชทานเพลิงเป็นพระอารามเพื่ออุทิศ พระราชกุศลพระราชทาน แด่สมเด็จพระอัครมเหสี
ประกอบด้วยพระเจดีย์ พระวิหาร แล้วพระราชทานนามพระอารามอันเป็นพระราชานุสรณ์แห่งสมเด็จพระสุริโยไทแห่งนี้
ว่า วัดสบสวรรค์ ในปัจจุบันชื่อ วัดสวนหลวงสบสวรรค์
[แก้] ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์
หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี (กฤดากร) แสดงนาในบทสมเด็จพระสุริโยไท ในภาพยนตร์เรื่องสุริโยไท (พ.ศ. 2544)
ได้มีการนาพระราชประวัติของสมเด็จพระสุริโยไทมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งหนึ่ง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ทาง
ช่อง ๓ โดยมี กาญจนา จินดาวัฒน์ รับบทเป็นสมเด็จพระสุริโยทัย และภาพยนตร์จากการกากับของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม
ยุคล ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมี หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี รับบทเป็นสมเด็จพระสุริโยทัย

More Related Content

ประวัติสมเึϹจพระสุริโยทัย

  • 1. สมเด็จพระสุริโยทัย จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา สมเด็จพระสุริโยทัย พระอิสริยยศ พระอัครมเหสีของ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรี อยุธยา ข้อมูลส่วนพระองค์[ซ่อน] สวรรคต ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๐๙๒ พระราชสวามี สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระราชโอรส/ ธิดา พระราเมศวร พระมหินทร์ พระวิสุทธิกษัตรีย์ พระบรมดิลก พระเทพกษัตรี
  • 2. สมเด็จพระสุริโยทัย (กลาง) ไสช้างเข้าขวางช้างสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (ขวา) ซึ่งกาลังเสียทีช้างพระเจ้าแปร (ซ้าย) ใน สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ (จิตรกรรมประกอบโึคลงพระราชพงศาวดาร ฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรม พระยานริศรานุวัติวงศ์) สมเด็จพระศรีสุริโยทัย หรือ พระสุริโยทัย วีรสตรีไทยสมัยอยุธยา เป็นอัครมเหสีใน สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ หรือพระเฑียรราชา พระมหากษัตริย์องค์ที่ ๑๕ ของกรุงศรีอยุธยาราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัย ตามพงศาวดารหลวง ประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามี ในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ใน ปี พ.ศ. ๒๐๙๑ พงศาวดารบางฉบับ กล่าวว่า พระสุริโยทัย เป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย โดยมิได้กล่าว รายละเอียดใดมากกว่านี้ เนื้อหา [ซ่อน]  1 พระราชประวัติ  2 พระราชโอรสและพระราชธิดา  3 พระวีรกรรม  4 ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์  5 อ้างอิง [แก้] พระราชประวัติ สมเด็จพระสุริโยทัยสืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์พระร่วง ดารงตาแหน่งพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ในขณะที่สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ขึ้นครองราชสมบัติกรุงศรีอยุธยาต่อจากขุนวรวงศาธิราชได้เพียง ๗ เดือน เมื่อ พ.ศ. ๒๐๙๑ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และพระมหาอุปราชาบุเรงนองยกกองทัพพม่ารามัญเข้ามาล้อมกรุงศรีอยุธยา ครั้งแรก โดยผ่านมาทางด้านด่านพระเจดีย์สามองค์ จังหวัดกาญจนบุรีและตั้งค่ายล้อมพระนคร การศึกครั้งนั้นเป็นที่เลื่องลือ ถึงวีรกรรมของ สมเด็จพระศรีสุริโยไท ซึ่งไสช้างพระที่นั่งเข้าขวางพระเจ้าแปรด้วยเกรงว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระ ราชสวามี จะเป็นอันตราย จนถูกพระแสงของ้าวฟันพระอังสาขาดสะพายแล่งสิ้นพระชนม์อยู่บนคอช้าง เพื่อปกป้องพระ ราชสวามีไว้ เมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น ๖ ค่า เดือน ๔ ปีจุลศักราช ๙๑๐ ตรงกับวันเดือนปีทางสุริยคติ คือ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๐๙๒ เมื่อสงครามยุติลง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้ทรงปลงพระศพของพระนางและสถาปนาสถานที่ปลงพระศพขึ้น เป็นวัด ขนานนามว่า วัดสบสวรรค์ หรือวัดสวนหลวงสบสวรรค์
  • 3. เจดีย์พระศรีสุริโยทัย บรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระศรีสุริโยทัย [แก้] พระราชโอรสและพระราชธิดา สมเด็จพระสุริโยทัย มีพระราชโอรส-พระราชธิดา ๕ พระองค์ ซึ่งน่าจะเรียงลาดับดังนี้  พระราเมศวร พระราชโอรสองค์โต ถูกจับเป็นองค์ประกันแก่พม่า และสิ้นพระชนม์ระหว่างไปหงสาวดี  พระมหินทร์ พระราชโอรสองค์รอง ต่อมาได้ขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระมหินทราธิราช กษัตริย์องค์สุดท้าย ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๑๑๒  พระสวัสดิราช พระราชธิดา ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น พระวิสุทธิกษัตรีย์ อัครมเหสีในสมเด็จพระมหา ธรรมราชาและเป็นพระชนนีของพระสุพรรณกัลยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ  พระบรมดิลก พระราชธิดา เสียพระชนม์ชีพพร้อมพระมารดาในสงครามคราวเสียพระสุริโยไท  พระเทพกษัตรี พระราชธิดา ภายหลังถูกส่งตัวถวายแด่พระไชยเชษฐาแห่งอาณาจักรล้านช้าง ซึ่งระหว่างการ เดินทางถึงชายแดนสยามประเทศพระนางถูกพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์แห่งพม่าทาการชิงตัวไปยังกรุงหงสาวดี ในพ.ศ. ๒๕๓๕ ได้มีการก่อสร้าง พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยไท ที่บริเวณทุ่งมะขามหย่อง ตาบลบ้านใหม่ อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเป็นพระอนุสาวรีย์ประดิษฐานพระรูปสมเด็จพระสุริโยไท [แก้] พระวีรกรรม ดูบทความหลักที่ สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้
  • 4. ความเป็นมาของสงครามระหว่างไทยกับพม่าในครั้งนั้น มีเหตุการณ์สืบเนื่องมาจากพระเจ้าหงสาวดีตะเบงชะเวตี้ ได้รู้ข่าวกรุงศรีอยุธยาเกิดเหตุวุ่นวาย เมื่อสิ้นรัชกาลสมเด็จพระไชยราชาธิราช เกิดการแย่งชิงราชสมบัติระหว่างสมเด็จพระ ยอดฟ้า พระราชโอรส และขุนวรวงศาธิราช และอัญเชิญพระราชอนุชาต่างพระชนนีในสมเด็จพระไชยราชาธิราชขึ้นเสวย ราชสมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ เมื่อกองทัพพระเจ้ากรุงหงสาวดียกมาถึงกรุงศรีอยุธยา แล้วกองทัพกรุงศรีอยุธยาได้ยกออกไป กองทัพฝ่ายกรุงศรี อยุธยาของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ซึ่งมีสมเด็จพระสุริโยทัย พระอัครมเหสี และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสองพระองค์ เสด็จมาในทัพด้วยนี้ ได้ปะทะกับกองทัพพระเจ้าแปร ซึ่งเป็นทัพหน้าของพระเจ้ากรุงหงสาวดี ได้ทรงเข้าชนช้างกัน ความ ในพงศาวดารไทยรบพม่าพรรณนาไว้ว่า “...ช้างพระที่นั่งสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสียที สมเด็จพระสุริโยไทเกรงพระราชสวามีจะเป็นอันตราย จึงขับช้าง ทรงเข้าขวางช้างข้าศึกไว้ พระเจ้าแปรได้ทีฟันสมเด็จพระสุริโยไท ด้วยสาคัญว่าเป็นชายสิ้นพระชนม์ซบลงกับคอช้าง…” การสู้รบหลังจากสมเด็จพระสุริโยทัยสิ้นพระชนม์แล้ว พระราเมศวรกับพระมหินทราธิราชพระราชโอรส ทรงขับ ช้างเข้าต่อสู้กับพระเจ้าแปรและกันพระศพสมเด็จพระราชชนนีกลับเข้าพระนคร โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญประดิษฐานไว้ใน สวนหลวงเป็นการชั่วคราว จนเมื่อกองทัพพระเจ้าหงสาวดีได้ข่าวว่า กองทัพหัวเมืองฝ่ายเหนือของไทย อันมีสมเด็จพระ มหาธรรมราชา นากาลังยกลงมาช่วยกรุงศรีอยุธยา ประจวบกับเสบียงอาหารเริ่มขาดแคลนลง จึงเลิกทัพกลับไปกรุงหงสาว ดี ส่วนการพระศพสมเด็จพระสุริโยไทนั้นเมื่อเสร็จศึกสงครามแล้วโปรดให้ตั้งการพระราชพิธีพระราชทานเพลิง ณ สวน หลวง และให้สถาปนาที่พระราชทานเพลิงเป็นพระอารามเพื่ออุทิศ พระราชกุศลพระราชทาน แด่สมเด็จพระอัครมเหสี ประกอบด้วยพระเจดีย์ พระวิหาร แล้วพระราชทานนามพระอารามอันเป็นพระราชานุสรณ์แห่งสมเด็จพระสุริโยไทแห่งนี้ ว่า วัดสบสวรรค์ ในปัจจุบันชื่อ วัดสวนหลวงสบสวรรค์ [แก้] ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี (กฤดากร) แสดงนาในบทสมเด็จพระสุริโยไท ในภาพยนตร์เรื่องสุริโยไท (พ.ศ. 2544) ได้มีการนาพระราชประวัติของสมเด็จพระสุริโยไทมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งหนึ่ง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ทาง ช่อง ๓ โดยมี กาญจนา จินดาวัฒน์ รับบทเป็นสมเด็จพระสุริโยทัย และภาพยนตร์จากการกากับของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมี หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี รับบทเป็นสมเด็จพระสุริโยทัย