ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ขอดีและขอเสียของพาเลทแตละชนิด
IPPC: เปนกฎบัตรที่ออกมาเพื่อใชควบคุมและคุมครองปาไมและพืชไมใหไดรับผลกระทบจากการขนสงระหวาง
ประเทศ ซึ่งอาจนําผลกระทบมาสูประเทศที่เปนจุดหมายปลายทาง
ISPM15: คือสวนหนึ่งของ IPPC ที่กําหนดมาตรฐานสุขอนามัยของพืชโดยมีวัตถุประสงคในการลดความเสี่ยง
ในการแพรกระจายของแมลงที่ไมพึงประสงคที่อาจติดมากับบรรจุภัณฑประเภทไมในการขนสงสินคาระหวางประเทศ
ทั้งที่เปนไมเนื้อออน และไมชนิดอื่น ๆ แมลงดังกลาวโดยเฉพาะ pinewood nematode (พบในสหรัฐอเมริการ,
แคนาดา เม็กซิโกและญี่ปุน ซึ่งในประเทศเหลานี้ไมมีผูลาตามระบบนิเวศน) และแมลง Asian long horned beetle
(พบในประเทศจีนและในอีกหลายประเทศซึ่งแมลงชนิดนี้กําลังเปนภัยคุกคามปาไม ในประเทศสหรัฐอเมริกา)
	
  	
   	
  	
  
ทําไมตองบังคับใช?
จุดประสงคของการใช IPPC เพื่อคุมครองปาไมและพืชโดยไมใหมีการแพรกระจายของแมลง
ที่อาจติดมากับสินคานําเขาที่ใชบรรจุภัณฑประเภทไมที่ไมไดมาตรฐาน
ใครเปนผูออกมาตรฐาน?
มาตรฐาน ISPM15 เริ่มไดรับความเห็นชอบจากประเทศสหรัฐอเมริการและคูคารวม 118 ประเทศ
ในปจจุบันมีประเทศตาง ๆ ใหสัตยาบรรณแลวรวม 134 ประเทศแมแตประเทศจีนซึ่งไมอยูในกลุม ประเทศสมาชิก
ก็ไดแสดงความประสงคที่จะบังคับใชเชนกัน
เริ่มมีผลบังคับใชเมื่อไร?
มาตรฐาน ISPM15 ไดผานความเห็นชอบแลวตั้งแตเดือนมีนาคม 2002 แตไดถูกชะลอ ในเดือนมิถุนายน 2002
เนื่องจากปญหาในเรื่องตราสัญญาลักษณ FAO จึงไดกําหนดตราสัญญาลักษณขึ้นใหม
และไดมีหลายประเทศเริ่มทยอยใช แตมีเพียงบราซิล แคนาดา และนิวซีแลนด ที่สามารถบังคับใชไดอยางสมบูรณ
ทําอยางไรใหผานมาตรฐาน?
มาตรฐาน IPPC ไดกําหนดวิธีปฎิบัติสําหรับบรรจุภัณฑไมไว 2 วิธี คือ
1. Methyl Bromide (MB) Fumigation : ในวิธีนี้บรรจุภัณฑไมจะตองผานการรมยาดวยสาร Methyl
Bromide ซึ่ง APHIS ไดมอบหมายให NWPCA เปนผูดูแล
2. Heat Treatment (HT) : ในวิธีนี้บรรจุภัณฑไมจะตองผานการอบโดยใหอุณภูมิที่แกนกลางของไม ไมนอยกวา
56 องศาเซลเซียส เปนเวลาไมนอยกวา 30 นาที ซึ่ง APHIS ไดมอบหมายให American Lumber Standards
Committee (ALSC) เปนผูดูแล
หมายเหตุ : มาตรฐานตาม ISPM15 บังคับใชกับไมทุกชนิด ในขณะที่บางมาตรฐานจะบังคับใชกับไมเนื้อออน เทานั้น
ขอกําหนดระหวางประเทศคืออะไร
สําหรับวัสดุบรรจุภัณฑที่ทําจากไม (เชน พาเลทไม ลังไมโปรง ลังไมทึบ ไมแปรรูป เปนตน)
ในหลายๆประเทศทางทวีปยุโรป เอเชีย อเมริกา และออสเตรเลีย
ไดออกกฎขอบังคับสําหรับวัสุดใดๆก็ตามที่ทําจากไมตองไดรับการผานกรรมวิธี การฆาเชื้อโรค หรือ
การรมยาดวยสารเคมีที่ชื่อเมทิลโบรไมด พรอมกับตองประทับตราสัญญลักษณ IPPC (International Plant
Protection Convention) ลงบนเนื้อไมดวย
กรรมวิธีการฆาเชื้อโรคนี้สามารถทําได 2 วิธี คือ
- การฆาเชื้อโรคดวยความรอนที่อุณหภูมิไมนอยกวา 56 ?
องศาเซลเซียส เปนระยะเวลาไมนอยกวา 30 นาที?หรือ
- การรมยาโดยใชสารเคมี เมทิลโบรไมด เปนระยะเวลาอยางนอย 24 ชั่วโมง หรือ 48 ชั่วโมง
ตามแตขอกําหนดของแตละทาเรือปลายทาง ในกรณีวัสดุบรรจุภัณฑไมไดผานกรรมวิธีการฆาเชื้อ
และประทับตราสัญลักษณ IPPC?เจาหนาที่ตรวจสอบ ณ
ทาเรือปลายทางอาจมีคําสั่งใหสงสินคาคืนทั้งตูกลับไปยังประเทศตนทาง
หรือถาวัสดุบรรจุภัณฑนั้นไมไดรับการประทับตราสัญญลักษณ IPPC
สินคาเหลานั้นกออาจจะตองถูกสงกลับคืนเชนกัน?วัสดุบรรจุภัณฑจะตัองมี ตราสัญญลักษณ IPPC ประทับไว ซี่ง
อักษรสองตัวแรกจะเปนตัวยอของประเทศที่ไดผานกรรมวิธีการฆาเชื้อ เครื่องหมายจะประกอบไปดวย
หมายเลขทะเบียนที่ไดรับการรับรองจากประเทศที่ผานกรรมวิธีการฆาเชื้อ
ที่ออกใหกับบริษัทที่รับผิดชอบในการจัดการฆาเชื้ออยางเหมาะสม สําหรับตัวยอ HT
หมายถึงการผานกรรมวิธีการฆาเชื้อดวยความรอน หรือ MB หมายถึงการผานกรรมวิธีฆาเชื้อดวยสารเคมี
เมทิลโบรไมด ทั้งนี้ถาไดมีการประทับตราสัญญลักษณแลว สําหรับบางประเทศ
ก็อาจจะไมตองใชใบประกาศนียบัตรรับรองก็ได กรุณาดูตัวอยางของตราสัญลักษณทางดานลาง
TH ? เปนตัวบอกถึงรหัสประเทศนั้นๆ
0240 เปนตัวบอกเลขทะเบียนที่ไดรับการรับรองจากหนวยงานตรวจสอบ
MB-DB-DOA ? เปนตัวบอกวา ผานกรรมวิธีดวยความรอน HT หรือ ใชสารเคมี MT
พาเลทไม (Wooden Pallets)
ขอดีพาเลทไม
- เปนสินคาที่หาใชไดงายระยะเวลาในการผลิตรวดเร็ว
- ราคาไมแพง แข็งแรง ทนทาน สามารถนํากลับมาใชใหมได
- รับน้ําหนักสินคาไดมากถึง 2 ตัน
- สามารถซอมแซมและเก็บรักษาดูแลงาย
ขอเสียพาเลทไม
- ปญหาสิ่งแวดลอม และภาวะโลกรอน
- ปญหาเรื่องเชื้อราในเนื้อไม แมลง ปลวก มอด เสี้ยนไม ความชื้น
- อาจแตกหรือหักไดเมื่อบรรจุสินคาที่มีน้ําหนักเกินไป
- ไมอาจเกิดการบิด โกง หรือโคงงอ
พาเลทโฟม (Foam Pallets)
ขอดีพาเลทโฟม
- น้ําหนักเบา สามารถลดตนทุนในการขนสง เชน การขนสงทางอากาศ
- หมดปญหาเรื่องปลวก มอด แมลง
- ไมขึ้นรา แมจะเก็บในที่ชื้น
- ทําความสะอาดไดงาย
- ไมตองผานมาตรฐาน ISPM15
ขอเสียพาเลทโฟม
- ไมยอยสลาย ไมเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
- ความแข็งแรงทนทานนอย
พาเลทเหล็ก (Steel Pallets)
ขอดีพาเลทเหล็ก
- แข็งแรง ทนทาน
- อายุการใชงานยาวนาน
- หมดกังวลเรื่อง ปลวก มอด แมลงกินเนื้อไม
- เปนวัสดุที่ไมเปนเชื้อไฟ
ขอเสียพาเลทเหล็ก
- น้ําหนักมาก ไมเหมาะกับการสงออก เหมาะกับการใชหมุนเวียนภายในโรงงาน
- ราคาสูง (ราคาขึ้น-ลง ตามราคาเหล็ก)
พาเลทพลาสติก (Plastic Pallets)
ขอดีพาเลทพลาสติก
- มีน้ําหนักเบา ราคาไมแพง
- ไมมีปญหาเรื่องความชื้น เรื่องแมลง ปลวก มอด โกง บิด หรืองอ
- เก็บรักษางาย ซอมแซมได
- มีความคงทน ทนความรอน
- สามารถนําไปขายเปนพาเลทมือสองหรือนํากลับมาใชใหมได
- ลดปญหาเรื่องการตัดไมและวิ่งแวดลอม
ขอเสียพาเลทพลาสติก
- สามารถใชงานไดประมาณ 3?5 ป
- ราคาของพาเลทพลาสติก จะขึ้น?ลง ตามราคาของวัตถุดิบที่นํามาใชในการผลิตเปนพาเลท
- อาจจะชํารุดไดถามีการใชงานมากเกินไป
พาเลทกระดาษ (Papar Pallets)
ขอดีพาเลทกระดาษ
- น้ําหนักเบา สะดวกตอการใชงาน และลดน้ําหนักในการขนสงสินคา เหมาะตอการขนสงทางอากาศ
- สามารถสงออกไปยังตางประเทศไดทั่วโลก ไมตองประทับตรา IPPC
ขอเสียพาเลทกระดาษ
- หากถูกน้ํา จะทําใหเปอยยุยไดงาย
- อาจขึ้นราได หากเก็บอยูในพื้นที่จัดเก็บที่มีความรอนชื้
- ความแข็งแรง ทนทาน อาจนอยกวาพาเลทชนิดอื่นๆ

More Related Content

ข้อดีและข้อเสียྺองพา๶ลทแต่ละชȨด

  • 1. ขอดีและขอเสียของพาเลทแตละชนิด IPPC: เปนกฎบัตรที่ออกมาเพื่อใชควบคุมและคุมครองปาไมและพืชไมใหไดรับผลกระทบจากการขนสงระหวาง ประเทศ ซึ่งอาจนําผลกระทบมาสูประเทศที่เปนจุดหมายปลายทาง ISPM15: คือสวนหนึ่งของ IPPC ที่กําหนดมาตรฐานสุขอนามัยของพืชโดยมีวัตถุประสงคในการลดความเสี่ยง ในการแพรกระจายของแมลงที่ไมพึงประสงคที่อาจติดมากับบรรจุภัณฑประเภทไมในการขนสงสินคาระหวางประเทศ ทั้งที่เปนไมเนื้อออน และไมชนิดอื่น ๆ แมลงดังกลาวโดยเฉพาะ pinewood nematode (พบในสหรัฐอเมริการ, แคนาดา เม็กซิโกและญี่ปุน ซึ่งในประเทศเหลานี้ไมมีผูลาตามระบบนิเวศน) และแมลง Asian long horned beetle (พบในประเทศจีนและในอีกหลายประเทศซึ่งแมลงชนิดนี้กําลังเปนภัยคุกคามปาไม ในประเทศสหรัฐอเมริกา)         ทําไมตองบังคับใช? จุดประสงคของการใช IPPC เพื่อคุมครองปาไมและพืชโดยไมใหมีการแพรกระจายของแมลง ที่อาจติดมากับสินคานําเขาที่ใชบรรจุภัณฑประเภทไมที่ไมไดมาตรฐาน ใครเปนผูออกมาตรฐาน? มาตรฐาน ISPM15 เริ่มไดรับความเห็นชอบจากประเทศสหรัฐอเมริการและคูคารวม 118 ประเทศ ในปจจุบันมีประเทศตาง ๆ ใหสัตยาบรรณแลวรวม 134 ประเทศแมแตประเทศจีนซึ่งไมอยูในกลุม ประเทศสมาชิก ก็ไดแสดงความประสงคที่จะบังคับใชเชนกัน เริ่มมีผลบังคับใชเมื่อไร? มาตรฐาน ISPM15 ไดผานความเห็นชอบแลวตั้งแตเดือนมีนาคม 2002 แตไดถูกชะลอ ในเดือนมิถุนายน 2002 เนื่องจากปญหาในเรื่องตราสัญญาลักษณ FAO จึงไดกําหนดตราสัญญาลักษณขึ้นใหม และไดมีหลายประเทศเริ่มทยอยใช แตมีเพียงบราซิล แคนาดา และนิวซีแลนด ที่สามารถบังคับใชไดอยางสมบูรณ ทําอยางไรใหผานมาตรฐาน? มาตรฐาน IPPC ไดกําหนดวิธีปฎิบัติสําหรับบรรจุภัณฑไมไว 2 วิธี คือ
  • 2. 1. Methyl Bromide (MB) Fumigation : ในวิธีนี้บรรจุภัณฑไมจะตองผานการรมยาดวยสาร Methyl Bromide ซึ่ง APHIS ไดมอบหมายให NWPCA เปนผูดูแล 2. Heat Treatment (HT) : ในวิธีนี้บรรจุภัณฑไมจะตองผานการอบโดยใหอุณภูมิที่แกนกลางของไม ไมนอยกวา 56 องศาเซลเซียส เปนเวลาไมนอยกวา 30 นาที ซึ่ง APHIS ไดมอบหมายให American Lumber Standards Committee (ALSC) เปนผูดูแล หมายเหตุ : มาตรฐานตาม ISPM15 บังคับใชกับไมทุกชนิด ในขณะที่บางมาตรฐานจะบังคับใชกับไมเนื้อออน เทานั้น ขอกําหนดระหวางประเทศคืออะไร สําหรับวัสดุบรรจุภัณฑที่ทําจากไม (เชน พาเลทไม ลังไมโปรง ลังไมทึบ ไมแปรรูป เปนตน) ในหลายๆประเทศทางทวีปยุโรป เอเชีย อเมริกา และออสเตรเลีย ไดออกกฎขอบังคับสําหรับวัสุดใดๆก็ตามที่ทําจากไมตองไดรับการผานกรรมวิธี การฆาเชื้อโรค หรือ การรมยาดวยสารเคมีที่ชื่อเมทิลโบรไมด พรอมกับตองประทับตราสัญญลักษณ IPPC (International Plant Protection Convention) ลงบนเนื้อไมดวย กรรมวิธีการฆาเชื้อโรคนี้สามารถทําได 2 วิธี คือ - การฆาเชื้อโรคดวยความรอนที่อุณหภูมิไมนอยกวา 56 ? องศาเซลเซียส เปนระยะเวลาไมนอยกวา 30 นาที?หรือ - การรมยาโดยใชสารเคมี เมทิลโบรไมด เปนระยะเวลาอยางนอย 24 ชั่วโมง หรือ 48 ชั่วโมง ตามแตขอกําหนดของแตละทาเรือปลายทาง ในกรณีวัสดุบรรจุภัณฑไมไดผานกรรมวิธีการฆาเชื้อ และประทับตราสัญลักษณ IPPC?เจาหนาที่ตรวจสอบ ณ ทาเรือปลายทางอาจมีคําสั่งใหสงสินคาคืนทั้งตูกลับไปยังประเทศตนทาง หรือถาวัสดุบรรจุภัณฑนั้นไมไดรับการประทับตราสัญญลักษณ IPPC สินคาเหลานั้นกออาจจะตองถูกสงกลับคืนเชนกัน?วัสดุบรรจุภัณฑจะตัองมี ตราสัญญลักษณ IPPC ประทับไว ซี่ง อักษรสองตัวแรกจะเปนตัวยอของประเทศที่ไดผานกรรมวิธีการฆาเชื้อ เครื่องหมายจะประกอบไปดวย หมายเลขทะเบียนที่ไดรับการรับรองจากประเทศที่ผานกรรมวิธีการฆาเชื้อ ที่ออกใหกับบริษัทที่รับผิดชอบในการจัดการฆาเชื้ออยางเหมาะสม สําหรับตัวยอ HT หมายถึงการผานกรรมวิธีการฆาเชื้อดวยความรอน หรือ MB หมายถึงการผานกรรมวิธีฆาเชื้อดวยสารเคมี เมทิลโบรไมด ทั้งนี้ถาไดมีการประทับตราสัญญลักษณแลว สําหรับบางประเทศ ก็อาจจะไมตองใชใบประกาศนียบัตรรับรองก็ได กรุณาดูตัวอยางของตราสัญลักษณทางดานลาง TH ? เปนตัวบอกถึงรหัสประเทศนั้นๆ 0240 เปนตัวบอกเลขทะเบียนที่ไดรับการรับรองจากหนวยงานตรวจสอบ MB-DB-DOA ? เปนตัวบอกวา ผานกรรมวิธีดวยความรอน HT หรือ ใชสารเคมี MT พาเลทไม (Wooden Pallets) ขอดีพาเลทไม - เปนสินคาที่หาใชไดงายระยะเวลาในการผลิตรวดเร็ว - ราคาไมแพง แข็งแรง ทนทาน สามารถนํากลับมาใชใหมได - รับน้ําหนักสินคาไดมากถึง 2 ตัน
  • 3. - สามารถซอมแซมและเก็บรักษาดูแลงาย ขอเสียพาเลทไม - ปญหาสิ่งแวดลอม และภาวะโลกรอน - ปญหาเรื่องเชื้อราในเนื้อไม แมลง ปลวก มอด เสี้ยนไม ความชื้น - อาจแตกหรือหักไดเมื่อบรรจุสินคาที่มีน้ําหนักเกินไป - ไมอาจเกิดการบิด โกง หรือโคงงอ พาเลทโฟม (Foam Pallets) ขอดีพาเลทโฟม - น้ําหนักเบา สามารถลดตนทุนในการขนสง เชน การขนสงทางอากาศ - หมดปญหาเรื่องปลวก มอด แมลง - ไมขึ้นรา แมจะเก็บในที่ชื้น - ทําความสะอาดไดงาย - ไมตองผานมาตรฐาน ISPM15 ขอเสียพาเลทโฟม - ไมยอยสลาย ไมเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม - ความแข็งแรงทนทานนอย พาเลทเหล็ก (Steel Pallets) ขอดีพาเลทเหล็ก - แข็งแรง ทนทาน - อายุการใชงานยาวนาน - หมดกังวลเรื่อง ปลวก มอด แมลงกินเนื้อไม - เปนวัสดุที่ไมเปนเชื้อไฟ ขอเสียพาเลทเหล็ก - น้ําหนักมาก ไมเหมาะกับการสงออก เหมาะกับการใชหมุนเวียนภายในโรงงาน - ราคาสูง (ราคาขึ้น-ลง ตามราคาเหล็ก) พาเลทพลาสติก (Plastic Pallets) ขอดีพาเลทพลาสติก - มีน้ําหนักเบา ราคาไมแพง - ไมมีปญหาเรื่องความชื้น เรื่องแมลง ปลวก มอด โกง บิด หรืองอ - เก็บรักษางาย ซอมแซมได - มีความคงทน ทนความรอน - สามารถนําไปขายเปนพาเลทมือสองหรือนํากลับมาใชใหมได - ลดปญหาเรื่องการตัดไมและวิ่งแวดลอม ขอเสียพาเลทพลาสติก - สามารถใชงานไดประมาณ 3?5 ป - ราคาของพาเลทพลาสติก จะขึ้น?ลง ตามราคาของวัตถุดิบที่นํามาใชในการผลิตเปนพาเลท - อาจจะชํารุดไดถามีการใชงานมากเกินไป
  • 4. พาเลทกระดาษ (Papar Pallets) ขอดีพาเลทกระดาษ - น้ําหนักเบา สะดวกตอการใชงาน และลดน้ําหนักในการขนสงสินคา เหมาะตอการขนสงทางอากาศ - สามารถสงออกไปยังตางประเทศไดทั่วโลก ไมตองประทับตรา IPPC ขอเสียพาเลทกระดาษ - หากถูกน้ํา จะทําใหเปอยยุยไดงาย - อาจขึ้นราได หากเก็บอยูในพื้นที่จัดเก็บที่มีความรอนชื้ - ความแข็งแรง ทนทาน อาจนอยกวาพาเลทชนิดอื่นๆ