ݺߣ
Submit Search
การแยกตัวประกอบྺองพหุนามึϸกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ป็Ȩำนวนต็ม
•
2 likes
•
1,154 views
Somporn Amornwech
การแยกตัวประกอบྺองพหุนามึϸกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ป็Ȩำนวนต็ม
Read less
Read more
1 of 14
More Related Content
การแยกตัวประกอบྺองพหุนามึϸกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ป็Ȩำนวนต็ม
1.
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง เมื่อเรียนจบบทนี้แล้วนักเรียนจะสามารถ 1.
แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสามที่อยู่ในรูปผลบวกกาลังสามและผลต่างกาลังสาม โดยใช้สูตร 2. แยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม ที่สามารถจัดให้อยู่ในรูปผลต่างของ กาลังสอง กาลังสองสมบูรณ์ ผลบวกของกาลังสาม หรือผลต่างของกาลังสาม โดยใช้ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการสลับที่ หรือสมบัติการแจกแจง จุดประสงค์ของบทเรียน
2.
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง •
สมบัติของเลขยกกาลัง (am)n = amn เมื่อ a เป็นจานวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m และ n เป็นเลขชี้กาลังที่เป็นจานวนเต็ม เช่น (103)2 = 103 2 = 106 210 = 25 2 = (25)2 (ab)n = an bn เมื่อ a, b เป็นจานวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นเลขชี้กาลังที่เป็นจานวนเต็ม เช่น (2 x 5)3 = 23 53 = 1,000 • พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป x2 + bx + c แยกตัวประกอบเป็น (x + m)(x + n) ได้ เมื่อ mn = c และ m + n = b โดยที่ b, c, m และ n เป็นจานวนเต็ม เช่น x + 5x +6 = (x + 2)(x + 3) • พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c แยกตัวประกอบเป็น (px + r)(qx + s) ได้ เมื่อ pq = a, rs = c และ ps + qr = b โดยที่ a, b, c, d, q, r, s เป็นจานวนเต็ม และ a 0 เช่น 6x2 – 7x – 3 = (2x – 3)(3x + 1) ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
3.
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง •
ถ้า A และ B เป็นพหุนาม จะแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้ตามสูตร ดังนี้ A2 + 2AB + B2 = (A + B)2 A2 – 2AB + B2 = (A – B)2 • ถ้า A และ B เป็นพหุนาม จะแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลต่างของกาลังสองได้ตามสูตร ดังนี้ A2 – B2 = (A + B)(A – B) ทบทวนความรู้ก่อนเรียน นักเรียนเคยทราบมาแล้วเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจานวนเต็ม และ a 0 ให้ได้เป็นตัวประกอบที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็ม ในบทนี้จะกล่าวถึงการแยกตัวประกอบ ของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็มให้ได้เป็นตัวประกอบที่มีสัมประสิทธิ์ของ แต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็มเท่านั้น ทักษะในการแยกตัวประกอบของพหุนามนี้ จะเป็นพื้นฐานการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ ได้มากขึ้น
4.
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็น จานวนเต็ม และตัวประกอบที่ได้มามีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็นจานวนเต็มด้วย 1. (x
+ 5) (x2 – 5x + 25) = x3 – 5x2 + 25x + 5x2 – 25x + 125 = x3 + 125 = x3 + 53 2. (2x + 3) (4x2 – 6x + 9) = 8x3 – 12x2 + 18x + 12x2 – 18x + 27 = 8x3 + 27 = (2x)3 + 33 พิจารณาการหาผลคูณของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
5.
จากผลคูณในข้อที่ 1 ถึงข้อ
4 ข้างต้น จะเห็นว่าเมื่อมีผลคูณเป็นพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกของกาลังสามหรือ ผลต่างของกาลังสาม สามารถใช้สมบัติของการเท่ากันเขียนพหุนามที่เป็นผลคูณนั้นในรูปการคูณของพหุนามได้ นั่นคือ จะได้การแยกตัวประกอบของ x3 + 53 , (2x)3 + 33 , x3 – 53 และ (2x)3 – 33 เป็นดังนี้ 1. x3 + 53 = (x + 5) (x2 – 5x + 25) 2. (2x)3 + 33 = (2x + 3) (4x2 – 6x + 9) 3. x3 – 53 = (x – 5) (x2 + 5x + 25) 4 .(2x)3 – 33 = (2x – 3) (4x2 + 6x + 9) 3. (x – 5) (x2 + 5x + 25) = x3 + 5x2 + 25x – 5x2 – 25x – 125 = x3 – 125 = x3 – 53 4. (2x – 3) (4x2 + 6x + 9) = 8x3 + 12x2 + 18x – 12x2 – 18x – 27 = 8x3 – 27 = (2x)3 – 33 เรียกพหุนาม เช่น x3 + 53 และ (2x)3 + 33 ว่า ผลบวกของกาลังสาม และ เรียกพหุนาม เช่น x3 – 53 และ (2x)3 – 33 ว่า ผลต่างของกาลังสาม 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
6.
พิจารณา x3 –
53 = (x – 5)(x2 + 5x + 25) หรือ x3 – 53 = (x – 5)[x2 + (x)(5) + 52] และพิจารณา (2x)3 – 33 = (2x – 3)(4x2 + 6x + 9) หรือ (2x)3 – 33 = (2x – 3)[(2x)2 + (2x)(3) + 32] จะเห็นว่า การแยกตัวประกอบของพหุนามข้างต้นมีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ดังนี้ (พจน์หน้า)3 – (พจน์หลัง)3 = (พจน์หน้า – พจน์หลัง)[(พจน์หน้า)2 + (พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2] พิจารณา x3 + 53 = (x + 5)(x2 – 5x + 25) หรือ x3 + 53 = (x + 5)[x2 – (x)(5) + 52] และพิจารณา (2x)3 + 33 = (2x + 3)(4x2 – 6x + 9) หรือ (2x)3 + 33 = (2x + 3)[(2x)2 – (2x)(3) + 32] จะเห็นว่า การแยกตัวประกอบของพหุนามข้างต้นมีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ดังนี้ (พจน์หน้า)3 + (พจน์หลัง)3 = (พจน์หน้า + พจน์หลัง)[(พจน์หน้า)2 – (พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2] พจน์หน้าคือ x พจน์หลังคือ 5 พจน์หน้าคือ 2x พจน์หลังคือ 3 พจน์หน้าคือ x พจน์หลังคือ 5 พจน์หน้าคือ 2x พจน์หลังคือ 3 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
7.
ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ
x3 + 125 วิธีทา x3 + 125 = x3 + 53 = (x + 5) [x2 – (x)(5) + 52] = (x + 5) (x2 – 5x + 25) ดังนั้น x3 + 125 = (x + 5) (x2 – 5x + 25) ในกรณีทั่วไป เมื่อ A และ B เป็นพหุนาม เรียกพหุนามที่อยู่ในรูป A3 + B3 ว่าผลบวกของกาลังสาม และ เรียกพหุนามที่อยู่ในรูป A3 – B3 ว่าผลต่างของกาลังสาม การแยก ตัวประกอบของพหุนามทาได้ตามสูตรดังนี้ A3 + B3 = (A + B)(A2 – AB + B2) A3 – B3 = (A – B)(A2 + AB + B2) ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 27x3 + 64 วิธีทา 27x3 + 64 = (3x)3 + 43 = (3x + 4) [(3x)2 – (3x)(4) + 42] = (3x + 4) (9x2 – 12x + 16) ดังนั้น 27x3 + 64 = (3x + 4) (9x2 – 12x + 16) 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
8.
ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของ
(2x + 1)3 + (x – 3)3 วิธีทา (2x + 1)3 + (x – 3)3 = [(2x + 1) + (x – 3)][(2x + 1)2 – (2x + 1)(x – 3) + (x – 3)2] = (2x + 1 + x – 3)[(4x2 + 4x + 1) – (2x2 – 6x+x – 3) + (x2 – 6x + 9)] = (3x – 2) (4x2 + 4x + 1 – 2x2 + 5x + 3 + x2 – 6x + 9) = (3x – 2) (3x2 + 3x + 13) ดังนั้น (2x + 1)3 + (x – 3)3 = (3x – 2) (3x2 + 3x + 13) ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของ 1,000 – x3 วิธีทา 1,000 – x3 = 103 – x3 = (10 – x)[102 + (10)(x) + x2] = (10 – x)[100 + 10x + x2] ดังนั้น 1,000 – x3 = (10 – x)[100 + 10x + x2] ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ x3 – 126 วิธีทา x3 – 126 = x3 – 63 = (x – 6) [x2 + (x)(6) + 62] = (x – 6) (x2 + 6x + 36) ดังนั้น x3 – 126 = (x – 6) (x2 + 6x + 36) 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
9.
ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของ
8x3 – 27y3 วิธีทา 8x3 – 27y3 = (2x)3 – (3y)3 = (2x – 3y)[(2x)2 + (2x)(3y) + (3y)2] = (2x – 3y) (4x2 + 6xy +9y2) ดังนั้น 8x3 – 27y3 = (2x – 3y) (4x2 + 6xy +9y2) ตัวอย่างที่ 7 จงแยกตัวประกอบของ (x – 3)3 – (3x + 2)3 วิธีทา (x – 3)3 – (3x + 2)3 = [(x – 3) – (3x + 2)][(x – 3)2 + (x – 3)(3x + 2) + (3x + 2)2] = (x – 3 – 3x – 2)(x2 – 6x + 9 + 3x2 + 2x – 9x – 6 + 9x2 + 12x + 4) = (– 2x – 5)(13x2 – x + 7) ดังนั้น (x – 3)3 – (3x + 2)3 = (– 2x – 5)(13x2 – x + 7) 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
10.
จากสูตร A3 +
B3 = (A + B)(A2 – AB + B2) A3 – B3 = (A – B)(A2 + AB + B2) เพื่อให้ง่ายต่อการจดจาและนาไปใช้ อาจจาโดยย่อ ดังนี้ (หน้า)3 + (หลัง)3 = (หน้า + หลัง)[(หน้า)2 – (หน้า)(หลัง) + (หลัง)2 ] (หน้า)3 – (หลัง)3 = (หน้า – หลัง)[(หน้า)2 + (หน้า)(หลัง) + (หลัง)2] จาไว้ใช้ ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 1.1 ก 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
11.
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง บางครั้งอาจทาได้โดยจัดพหุนามนั้นให้อยู่ในรูป ผลต่างของกาลังสอง กาลังสองสมบูรณ์
ผลบวกของกาลังสาม ผลต่างของกาลังสาม หรือนาแนวคิดใน การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ ในรูปอื่น ๆ มาใช้ จากนั้นนักเรียนสามารถนาความรู้ที่เคย เรียนมาแล้วมาใช้ในการแยกตัวประกอบต่อได้ ดังต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 8 จงแยกตัวประกอบของ 16x4 – 812 วิธีทา 16x4 – 812 = (4x)2 – 92 = (4x2 + 9)(4x2 – 9) = (4x2 + 9)[(2x)2 – 3] = (4x2 + 9)(2x + 3)(2x – 3) ดังนั้น 16x4 – 812 = (4x2 + 9)(2x + 3)(2x – 3) ตัวอย่างที่ 9 จงแยกตัวประกอบของ x4 + x2 + 1 วิธีทา x4 + x2 + 1 = (x4 + 2x2 + 1) – x2 = (x2 + 1)2 – x2 = [(x2 + 1) + x][(x2 + 1) – x] = (x2 + x + 1)(x2 – x + 1) ดังนั้น x4 + x2 + 1 = (x2 + x + 1)(x2 – x + 1) เพื่อให้ได้ (x2 + 1)2 จะต้องมีพจน์ 2x2 แต่ เนื่องจากพจน์กลางของพหุนาม x4 + x2 + 1 ไม่มีพจน์ 2x2 แต่มีพจน์ x2 จึงต้องเพิ่มอีก x2 แล้วลบออกด้วย x2 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
12.
ตัวอย่างที่ 10 จงแยกตัวประกอบของ
x4 + 4 วิธีทาx4 + 4 = (x2)2 + 22 = [(x2)2 + 2(2)x2 + 22] – 2(2)x2 = (x2 + 2)2 – 4x2 = (x2 + 2)2 – (2x)2 = [(x2 + 2) + 2x][ (x2 + 2) – 2x] = (x2 + 2x + 2) (x2 – 2x + 2) ดังนั้น x4 + 4 = (x2 + 2x + 2) (x2 – 2x + 2) เพื่อให้ได้ (x2 + 2)2 จะต้องมีพจน์ 2(2)x2 แต่เนื่องจากไม่มีพจน์ 2(2)x2 ของพหุนาม x4 + 4 จึงต้องเพิ่ม พจน์ 2(2)x2 เข้าไปแล้วลบออกด้วย 2(2)x2 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
13.
ตัวอย่างที่ 11 จงแยกตัวประกอบของ
x6 – 64 วิธีทา วิธีที่ 1 แยกตัวประกอบโดยจัดพหุนาม x6 – 64 ให้อยู่ในรูปของ ผลต่างกาลังสองก่อน x6 – 64 = (x3)2 – 82 = (x3 + 8)(x3 – 8) = (x3 + 23)(x3 – 23) = (x + 2)(x2 – 2x + 4)(x – 2)(x2 + 2x + 4) = (x + 2)(x – 2)(x2 – 2x + 4)(x2 + 2x + 4) ดังนั้น x6 – 64 = (x + 2)(x – 2)(x2 – 2x + 4)(x2 + 2x + 4) วิธีที่ 2 แยกตัวประกอบโดยจัดพหุนาม x6 – 64 ให้อยู่ในรูปของ ผลต่างกาลังสามก่อน x6 – 64 = (x2)3 – 43 = (x2 – 4)(x4 + 4x2 + 16) = (x + 2)(x – 2)[(x4 + 8x2 + 16) – 4x2] = (x + 2)(x – 2)[(x2 + 4)2 – (2x)2] = (x + 2)(x – 2)[(x2 + 4) + 2x][(x2 + 4) – 2x] = (x + 2)(x – 2)(x2 – 2x + 4)(x2 + 2x + 4) ดังนั้น x6 – 64 = (x + 2)(x – 2)(x2 – 2x + 4)(x2 + 2x + 4) ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 1.1 ข 1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
14.
1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม ตัวอย่างที่ 12
จงแยกตัวประกอบของ x3 – 6x2 + 12x – 8 วิธีทา x3 – 6x2 + 12x – 8 = (x3 – 8) – (6x2 – 12x) = (x3 – 22) – 6x(x – 2) = (x – 2)(x2 + 2x +4) – 6x(x – 2) = (x – 2)[(x2 + 2x +4) – 6x] = (x – 2)(x2 – 4x +4) = (x – 2)(x – 2)(x – 2) ดังนั้น x3 – 6x2 + 12x – 8 = (x – 2)(x – 2)(x – 2) หรือ x3 – 6x2 + 12x – 8 = (x – 2)3 ในบางครั้งการแยกตัวประกอบของพหุนาม อาจต้องจัดพจน์ใหม่โดยใช้สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการสลับที่ และสมบัติการแจกแจง ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 13 จงแยกตัวประกอบของ 16x4 – y2 + 2y – 1 วิธีทา 16x4 – y2 + 2y – 1 = 16x4 – (y2 – 2y + 1) = 16x4 – (y2 – 1)2 = (4x2)2 – (y2 – 1)2 = [4x2 + (y – 1)][4x2 – (y – 1)] = (4x2 + y – 1)(4x2 – y – 1) ดังนั้น 16x4 – y2 + 2y – 1 = (4x2 + y – 1)(4x2 – y – 1) ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 1.1 ค