ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การเขียนแผ่นคลี่กรวย๶ยื้องศูนย์
80
สาระการเรียนรู
การเขียนแบบแผนคลี่โดยใชวิธีเสนรัศมี มีความสําคัญในการออกแบบงานโลหะแผน
ที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปกรวย ปรามิด
จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
1. เพื่อใหเขาใจวิธีการเขียนและอานแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมี
2. จําแนกรูปที่ใชการเขียนแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมี
3. อธิบายวิธีการหาความยาวสูงจริงได
4. สามารถเขียนและอานแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมีได
81
1. หลักการเขียนแบบแผนคลี่โดยใชวิธีเสนรัศมี
การเขียนแบบแผนคลี่ดวยรัศมี ใหหาแผนคลี่ของงานประเภทกรวยหรือปรามิด ซึ่งเปนงาน
ที่เสนขอบรูปทั้งสองดาน เมื่อตอออกไปแลวจะไปบรรจบหรือพบกัน เรียกวา จุดยอด (Apex) ซึ่ง
จะมีจุดเดียวไมวาฐานจะเปนอยางไร เราจะตองใชจุดยอดนี้เปนจุดเริ่มเขียน
1. ปรามิด 2.ปรามิด 3. ปรามิด 4. ปรามิด
ฐานสามเหลี่ยม ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานสี่เหลี่ยมผืนผา ฐานหาเหลี่ยม
5. ปรามิด 6. ปรามิด 7. กรวย
ฐานหกเหลี่ยม ฐานแปดเหลี่ยม
รูปที่ 3.1 ลักษณะของกรวยและปรามิดชนิดตาง ๆ
82
รูปที่ 3.2 แสดงสวนตางๆ ของการเขียนแบบแผนคลี่ใชวิธีเสนรัศมี
รูปกรวยหรือปรามิด แบงออกเปน 2ประเภท คือ
1. กรวยหรือปรามิด มุมฉาก (Right Cone or Pyramid)
2. กรวยหรือปรามิด มุมเอียง (Oblique Cone or Pyramid)
กรวยหรือปรามิดมุมฉาก
หมายถึง เสนแกนของรูปตั้งฉาก และแบงครึ่งฐานของรูป หรืออยูบนจุดกึ่งกลางของรูป
ดานบน
รูปที่ 3.3 แสดงกรวยหรือปรามิด มุมฉาก (Right Cone or Pyramid)
83
ภาพ3มิติ
ภาพดานหนา
ภาพดานบน
ปลายตัด
รูปที่ 3.4 กรวยตัดปลายขนานกับฐาน
รูปที่ 3.5 กรวยตัดปลายไมขนานกับฐาน (Oblique Cone or Pyramid)
ปลายตัด
ภาพ3มิติ
ภาพดานหนา
ภาพดานบน
84
กรวยหรือปรามิดมุมเอียง
หมายถึง เสนแกนของรูปทํามุม และแบงครึ่งของฐานแตละยอดจะเยื้องจากศูนยกลางของ
รูปดานบน จะทํามุมมากหรือนอยขึ้นอยูกับการออกแบบไปใชในงาน
รูปที่ 3.6 แสดงรูปกรวยหรือปรามิด มุมเอียง (Oblique Cone or Pyramid)
ถาตัดรูปขนานกับเสนฐานที่ใด ๆ บนรูปดานหนารูปที่ตัดตรงนั้นจะเปนรูป เชนเดียวกับฐาน
หรือรูปดานบน ถาเปนรูปกรวยกลมจะตัดมาเปนรูปกลม แตถาตัดไมขนาดเสนฐานรูปที่ตัดจะ
กลายเปนวงรี เปนตน
รูปที่ 3.7 แสดงรูปกรวยเอียงตัดปลายขนานกับฐาน
ภาพ3มิติ
ดานหนา
ดานบน
85
รูปที่ 3.8 แสดงรูปกรวยเอียงตัดปลายไมขนานกับฐาน
การเขียนแบบแผนคลี่ มีขั้นตอนสําคัญอยู 3 ขั้นตอน คือ
1. การเขียนรูปดานหนาและดานบน
2. การหาเสนความยาวสูงจริง
3. การเขียนแผนคลี่
การขึ้นรูป
รูปที่ 3.9 แสดงขั้นตอนการเขียนแผนคลี่และการขึ้นรูป
ปรามิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ภาพ3มิติ
ดานหนา
ดานบน
86
รูปที่ 3.10 แสดงขั้นตอนการเขียนแบบแผนคลี่และการขึ้นรูปกรวย
การเขียนรูปดานบน (Plane View) และรูปดานหนา (Front View) กรวยหรือปรามิดมุมฉาก
การเริ่มตนจะตองเริ่มตนเขียนฉายดานบนและดานหนาขึ้นมากอนเพื่อหาจุดยอด (Apex)
1. เขียนรูปดานบน (Plane View)
รูปที่ 3.11 แสดงภาพที่มองเห็นดานบนของกรวยหรือปรามิด
การขึ้นรูป
87
2. ฉายแรงจากรูปดานบนไปยังเสนฐานของภาพดานหนา (Front View)
รูปที่ 3.12 แสดงการฉายภาพที่มองเห็นดานบนของกรวยหรือปรามิดไปฐานภาพดานหนา
3. จากจุดตัดที่เสนฐานลากเขาหาจุดยอด (Apex)
รูปที่ 3.13 แสดงภาพจากฐานไปยังจุดยอดของรูปกรวยแบบตาง ๆ
จุดยอด จุดยอด จุดยอด จุดยอด จุดยอด
88
เมื่อรูปทรงที่ออกแบบเปนรูปทรงปรามิดหรือกรวยตัดเอียง
รูปกรวยฐานวงกลมถูกตัดยอด กรวยเอียงติดกับฐาน กรวยยอดตัดฐานเอียง
รูปที่ 3.14 แสดงรูปกรวยแบบตาง ๆ
การเขียนรูปดานหนาและดานบนก็จะเริ่มจาก
1. สรางกรวยเต็มกอน
2. ลากเสนตัดรูปดานหนากอนตามมุมและขนาดที่กําหนด
3. ฉายเสนจากขอบรูปกรวยตัดใหขนานกับเสนแกนกลาง ลงมายังรูปดานบน (Plane)
4. เขียน Section รอยตัดบนรูปดานบน
1 2 3
รูปที่ 3.15 แสดงขั้นตอนการหาภาพดานหนาและดานบน
Front View
Plane View
A
B
D
C
Plane View
Front View
3 2
4 1
3 2
89
1
การหาเสนความยาวสูงจริงของกรวยหรือปรามิด
การเขียนแบบแผนคลี่โดยใชวิธีเสนรัศมี จะตองอาศัยความยาวสูงจริง (TL : True Length)
มาเขียนแบบ ซึ่งจะทําใหไดรูปรางที่ถูกตองของงาน รูปดานหนาหรือดานขาง บางรูปไมเปนไป
ตามความยาวสูงจริงที่จะนําไปเขียนแบบแผนคลี่ได จะตองหาขึ้นมาใหมหรือตองสรางรูปชวย
(Auxiliary View)
รูปที่ 3.16 แสดงการหาความยาวสูงจริงจากการสรางภาพชวย (TL : True Length)
การหาความยาวสูงจริงจะตองหมุนเสนฐานซึ่งไดจากรูปดานบน(ToporPlaneView)ใหยาวเทา
ความยาวสูงจริงและใหตั้งฉากกับเสนแกนกลางในรูปดานหนา ( Front View )
รูปที่ 3.17 การหาความยาวสูงจริง (TL : True Length)
3
1
2
2
3
True Length
Front View
Plane View
2
1
x
2
True Length
x
1
90
ความยาวสูงจริง
(True Length)
ดานหนา
ดานบน
หรืออาจจะใชเขียนงานใหทุกดานที่จะไดความยาวสูงจริง
รูปที่ 3.18 วิธีการหาความยาวสูงจริงจากรูปดาน
ในกรณีเปนรูปกรวยตัดเฉียง จะตองฉายเสน จากจุดตัดใหขนานกับเสนฐานมายังเสนรัศมีใหม
ที่หาได จะไดความยาวสูงจริงของสวนตางๆ เชน ในรูป จะไดเสน 9 2 เปนรัศมีของฐานรูป
รูปที่ 3.19 แสดงการหาความยาวสูงจริงของรูปกรวยตัดเฉียงดวยรัศมี
87
65
34 21
4 1
3 2
7 6
58
8
7
5
6
9
ภาพชวย
(Auxiluirly )
91
2
3
4
5
6
7
A B
C
O
D
1
การหาเสนรัศมีจริงของกรวยปลายและปากตัดเฉียง
จะตองลากเสนจากจุดตัดของสวนแบงเขาหาจุดยอดกับรอยตัดในรูปดานหนา( Front View )
ใหขนานกับฐานมายังเสนรอบรูปนอกสุด จึงจะใชจุดยอดเปนที่ตั้งวงเวียนเขียนรัศมีจริงได
รูปที่ 3.20 แสดงการหาเสนรัศมีจริงของกรวยปลายตัดเฉียง
รูปที่ 3.21 แสดงการหาเสนรัศมีจริงของกรวยปากตัดเฉียง
O
10
A
F
Elevation
สูง
D
B
C
119
8
7
6
5
4
12
1
2
3
92
การหาเสนความยาวบนเสนฐานรัศมี
ความยาวเสนรอบฐานรัศมี หาไดโดยเอาสวนบงของรูปดานบน (Top or Plane View) มาถาย
ระยะลงบนเสนฐาน เมื่อครบสวนแบงก็ลากเขาหาจุดยอด (Apex) ก็จะไดแผนคลี่
รูปที่ 3.22 แสดงการหาความยาวรอบฐานกรวยกลมดวยการแบงสวน
ความยาวของเสนรอบฐานของกรวยสี่เหลี่ยมก็จะใชรูปแตละดานเขียนตัดเสนฐานรัศมี และ
ลากเขาหาจุดยอด(Apex) ก็จะไดรูปดานแตละดาน
93
รูปที่ 3.23 แสดงการหาความยาวรอบฐานกรวยสี่เหลี่ยมดวยการแบงสวนของฐาน
การเขียนรูปดานบน (Plane View) และรูปดานหนา (Front View) กรวยหรือปรามิดมุมเฉียง
การเขียนภาพจะตองเขียนภาพดานบนและดานหนากอนเชนกัน โดย
1. เขียนรูปดานบน (Plane View) และระยะหางจากจุดศูนยกลาง(Center) ถึงจุดยอด
(Apex) ตามขนาดกําหนดลากเสนจากจุดยอด (Apex) ไปที่ผิวหรือจุดพับของกรวย
รูปที่ 3.24 แสดงรูปดานบนและระยะหางจุดศูนยกลาง(Center) ถึงจุดยอด (Apex)
94
2. ลากเสนจากรูปดานบนไปยังเสนพื้นฐานของรูปดานหนา(Front View) และฉายเสนจาก
ระยะหางของจุดยอด(Apex) กับฐานที่ตั้งฉากขึ้นไป จากนั้นก็ใชระยะความสูงจากฐาน
ถึงกับจุดยอดตัดกับเสนฉายนี้ก็จะไดความสูงของจุดยอด(Apex) และลากเสนผาศูนยกลาง
(Center) จากเสนฐานถึงจุดยอด
รูปที่ 3.25 แสดงการหาจุดยอด (Apex) ของกรวยหรือปรามิดมุมเอียง
3. ลากเสนจากจุดตัดเสนฐานไปยังจุดยอด(Apex)ก็จะไดรูปดานหนา ( Front View )
รูปที่ 3.26 แสดงรูปดานหนา ( Front View )ของกรวยแบบตางๆ
95
ถากรวยหรือปรามิดมุมเอียงออกแบบใหตัดปลายหรือตัดที่ฐานเปนมุมใด ๆ วิธีการเขียนก็จะ
เริ่มตนเชนเดียวกัน เมื่อไดรูปดานบน(Plane) และรูปดานหนาแลวก็ทําการเขียนรูปตัดตามมุม
กําหนดจากรูปดานหนา(Front View) จากนั้นก็ฉายเสนมายังรูปแปลนและเขียนรอยตัดในรูปแปลน
รูปที่ 3.27 การหาจุดตัดปลายของกรวยหรือปรามิดมุมเอียง
การเขียนแบบแผนคลี่ดวยเสนรัศมี ไมวาจะเปนกรวยตรง กรวยเอียง จะตัดฐานกรวยหรือ
ปลายกรวยที่ใดๆ ของรูปแปลน ก็จะเขียนแปลนเปนรูปตรงแรงจะเขียนเต็มรูปหรือครึ่งรูปแปลนก็
ได สวนแบงรูปตรงไปตั้งฉากกับฐานกรวย แลวจึงลากเสนฉายเขาหาจุดยอด (Apex) เสนจะไป
สัมผัสกับสวนลายตัดหรือฐานตัด จากนั้นก็หาเสนรัศมีจริงเขียนแผนคลี่
96
รูปที่ 3.28 แสดงการหาเสนรัศมีจริงที่ใชเขียนแผนคลี่ของกรวยแบบตาง ๆ
การหาเสนรัศมีความยาวสูงจริงของกรวยหรือปรามิดเอียง (Oblique Cone)
ใชจุดยอด (Apex) ในรูปแปลน 0 ํ เปนจุดตั้งวงเวียนและกางวงเวียนออกใหยาวไปที่จุดสวน
แบงของรูป คือ 0 → 4 เขียนสวนโคงใหไปสัมผัสกับเสนผาศูนยกลางของรูปแปลน จากนั้นก็ฉาย
เสนตั้งฉากไปยังเสนฐานของรูปดานหนา (Front View) ลากเสนเขาหาจุดยอดก็ไดความยาวรัศมีจริง
ซึ่งใชเสนฉาย
รูปที่ 3.29 แสดงการหาเสนรัศมีความยาวสูงจริงของกรวย จากรูปรัศมีของสวนแบงจุด คือ 0 → 4
97
ในกรณีปากกรวยตัดเฉียงก็ทําเชนเดียวกัน แตตองลากเสนจากจุดตัดใหขนานกับเสนฐานมา
พบเสนรัศมีใหม จึงจะเปนเสนรัศมีจริงได
รูปที่ 3.30 แสดงการหาเสนรัศมีความยาวสูงจริงของกรวยตัดเฉียง
ตัวอยาง การสรางแผนคลี่รูปชิ้นงานทรงกรวยถูกตัดเฉียง
รูปที่ 3.31 วิธีการสรางแผนคลี่รูปชิ้นงานกรวยถูกตัดเฉียง
98
วิธีการสรางดวยวิธีเสนรัศมี
1. เขียนวงรีที่ตัดภาพดานบนพื้นที่ที่ถูกตัดเฉียงแลวแบงสวนออกเปน 12 สวน
2. ฉายจุดตัดที่วงรีภาพดานบนไปที่ภาพดานหนาบนเสนเอียงแลวสมมุติตัดตรงจะไดจุด 0
ํ, 1 ํ, 2 ํ, 3 ํ, 4 ํ, 5 ํ, 6 ํ,
3. จากนั้นไปเขียนแบบแผนคลี่ โดยใช A เปนจุดศูนยกลาง กางวงเวียนรัศมี A0 หรือ A6
ก็ได เขียนสวนโคง
4. ใชวงเวียนถายระยะที่จุด 0 – 1 ที่ภาพดานบนแลวไปแบงสวนโคง 12 สวน
5. ใชวงเวียนเขียนสวนโคงตัดเสนสวนที่แบง โดยใชรัศมีA5 จะไดจุดตัด5’,7’ที่เสนA5และA7
6. เสนตัดที่เหลือทําเหมือนจุดแรกจะไดจุดตัด 12 จุด แลวเขียนสวนโคงจะไดแผนคลี่ตาม
ตองการ
ตัวอยาง การเขียนแผนคลี่ ดวยวิธีเสนรัศมีรูปทรงกรวย
รูปที่ 3.32 แสดงการเขียนแผนคลี่ ดวยวิธีเสนรัศมีรูปทรงกรวย
ตัวอยาง การเขียนแผนคลี่ปรามิดฐาน 5 เหลี่ยม โดยวิธีเสนรัศมี
99
รูปที่ 3.33 แสดง การเขียนแผนคลี่ปรามิดฐาน 5 เหลี่ยม โดยวิธีเสนรัศมี
100
ตัวอยาง การเขียนแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมีขอตอทอกลม
รูปที่ 3.34 แสึϸการเขียนแผȊนคลี่ขอตȊอทอกลม
101
ตัวอยาง การเขียนแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมี ขอตอทอกลมกับทอทรงกรวย
รูปที่ 3.35 แสดงการเขียนแผนคลี่วิธีเสนรัศมีขอตอแบบผสม
102
แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
การเขียนแบบแผนคลี่ โดยใชวิธีเสนรัศมี
คําสั่ง ใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท ( X ) ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ชิ้นงานเมื่อตอเสนขอบรูปทั้งสองดานออกไปจะพบกันที่จุดๆหนึ่งไมวาฐานจะเปนรูปใดคือ
ก. Prism ข. Pyramid
ค. Cylinder ง. Sphere
2. จากขอที่ 1 จุดที่พบกันเรียกวา
ก. Apex ข. Vertex
ค. Center ง. Apex และ Vertex
3. การเขียนแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมีจะตองหาอะไรกอน
ก. จุดยอด ข. เสนรัศมีสูงจริง
ค. รูปดานหนา ง. รูปแปลน
4. ชิ้นงานรูปกรวยปลายแหลมชนิดใดที่ไมตองหาสูงจริง
ก. ฐานสี่เหลี่ยม ข. ฐานหกเหลี่ยม
ค. ฐานแปดเหลี่ยม ง. ฐานกลม
5. Base Line หมายถึง
ก. เสนรัศมีเปนเสนฐานของรูปแผนคลี่ปรามิดมุมฉาก
ข. เสนฐานรูปสามเหลี่ยม
ค. เสนตนขางรูปสามเหลี่ยม
ง. เสนแกนกลางรูปสามเหลี่ยม
6. เสนแกนกลางที่ทํามุมกับเสนแบงฐานและครึ่งเสนฐาน แตจุดมียอดเยื้องศูนยกลาง
ก. Right Cone ข. Square Pyramid
ค. Oblique Cone ง. Vertex Cone
7. 2πr เปนสูตรในการคํานวณหาเสนใด
ก. เสนรอบวงรี ข. เสนทแยงมุม
ค. เสนรอบวงกลม ง. เสนผาศูนยกลาง
103
8. รอยตอระหวางชิ้นงานจําเปนตองเขียน เชน ทอแยก ( ตัว Y) ตองหา Curve รอยตอเพราะ
ก. ทําใหรูจุดตอระหวางชิ้นงานทั้ง 2 ชิ้น
ข. ทําใหรูจุดตอระหวางชิ้นงานนําไปหาเสนความยาวสูงจริง นําไปเขียนแบบแผนคลี่ได
ค. จะไดตัวแผนคลี่ไดถูกตอง
ง. ใช Curve รอยตอเขียนแผนคลี่
9. การเขียนเสน Curve โดยใชกระดูกงู หรือ Set Square Curve ควรใหผานจุดตัดอยางนอยกี่จุด
ก. 2 จุด ข. 3 จุด
ค. 4 จุด ง. 5 จุด
10. Base Curve หมายถึง
ก. เสนรัศมีซึ่งเปนเสนฐานของรูปแผนคลี่ปรามิดมุมฉาก
ข. เสนโคงฐานรูปแผนคลี่กรวยเอียง
ค. เสนแกนกลางกรวยเอียง
ง. เสนแกนกลางมุมฉาก
11. การเขียนแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมีจะเกิดจากเสนอะไร
ก. เสนรัศมีตัดเสนถายระยะสวนแบงเสนรอบรูป วิ่งเขาจุดศูนยกลาง
ข. เสนรัศมีตัดกับเสนฐาน
ค. เสนรัศมีตัดกับเสนสวนโคงรอบรูป
ง. ถูกทุกขอ
12. การเขียนแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมีใชจุดใดเปนจุดตั้งวงเวียนเขียนรูปแผนคลี่
ก. จุดยอด ข. จุดฐานของสามเหลี่ยม
ค. จุดกึ่งกลางของรูปดานหนา ง. จุดกึ่งกลางรูปดานบน
13. การเขียนแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมี จะถายรูปมาจากรูปใด
ก. รูปดานบน ข. รูปดานขาง
ค. รูปดานหนา ง. รูปดานบนและดานหนา
104
ใบงานที่ 6
การเขียนแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมี
1. จงเขียนแบบแผนคลี่กรวยถูกตัดยอดเฉียงดวยวิธีเสนรัศมีใหสมบูรณ มาตราสวน 1:1
รูปที่ 3.36 กรวยกลมปลายตัดเอียง
2. จงเขียนแผนคลี่กรวยฐานตัดเฉียงดวยวิธีเสนรัศมีใหสมบูรณ มาตราสวน 1:1
รูปที่ 3.37 กรวยฐานตัดเฉียง
ใบงานที่ 7
105
การเขียนแบบแผนคลี่ ดวยวิธีเสนรัศมี
จงเขียนแบบแผนคลี่กรวยน้ํามันดวยวิธีเสนรัศมีใหสมบูรณ มาตราสวน 1:1
รูปที่ 3.38 กรวยน้ํามัน
106
ใบงานที่ 8
การเขียนแบบแผนคลี่ดวยวิธีเสนรัศมี
จงเขียนแบบแผนคลี่กรวยเยื้องศูนยดวยวิธีเสนรัศมีใหสมบูรณ มาตราสวน 1:1
รูปที่ 3.39 กรวยเยื้องศูนย
107
แบบประเมินใบงานที่ 6
ชื่อ ...............................................................
รหัสประจําตัว................................................
วัน........................เดือน.................................. พ.ศ..............
ชื่อชิ้นงาน กรวยถูกตัดยอดเฉียงและกรวยฐานตัดเฉียง ดวยวิธีเสนรัศมีใหสมบูรณ
รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได หมายเหตุ
ความสมบูรณของแบบ 1
การวางแบบไดเหมาะสมถูกตอง 2
การเขียนแบบแผนคลี่ไดถูกตอง 4
ขนาดหัวลูกศร การกําหนดขนาด น้ําหนักเสน 2
ความสะอาดของแบบ 1
รวม 10
รายการที่ตองปรับปรุง
น้ําหนักของเสน การกําหนดขนาด
หัวลูกศร การวางแบบ
ความสะอาด อื่น ๆ.....................................................
ลงชื่อ ............................................................................
(................................................................)
ผูประเมิน
..................../.............................../................
108
แบบประเมินใบงานที่ 7
ชื่อ ...............................................................
รหัสประจําตัว................................................
วัน........................เดือน.................................. พ.ศ. .............
ชื่อชิ้นงาน กรวยน้ํามัน
รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได หมายเหตุ
ความสมบูรณของแบบ 1
การวางแบบไดเหมาะสมถูกตอง 2
การเขียนแบบแผนคลี่ไดถูกตอง 4
ขนาดหัวลูกศร การกําหนดขนาด น้ําหนักเสน 2
ความสะอาดของแบบ 1
รวม 10
รายการที่ตองปรับปรุง
น้ําหนักของเสน การกําหนดขนาด
หัวลูกศร การวางแบบ
ความสะอาด อื่น ๆ.....................................................
ลงชื่อ ............................................................................
(................................................................)
ผูประเมิน
..................../.............................../................
109
แบบประเมินใบงานที่ 8
ชื่อ ...............................................................
รหัสประจําตัว................................................
วัน........................เดือน.................................. พ.ศ. .............
ชื่อชิ้นงาน กรวยเยื้องศูนย
รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได หมายเหตุ
ความสมบูรณของแบบ 1
การวางแบบไดเหมาะสมถูกตอง 2
การเขียนแบบแผนคลี่ไดถูกตอง 4
ขนาดหัวลูกศร การกําหนดขนาด น้ําหนักเสน 2
ความสะอาดของแบบ 1
รวม 10
รายการที่ตองปรับปรุง
น้ําหนักของเสน การกําหนดขนาด
หัวลูกศร การวางแบบ
ความสะอาด อื่น ๆ.....................................................
ลงชื่อ ............................................................................
(................................................................)
ผูประเมิน
..................../.............................../................
110
ที่ รหัสประจําตัว ชื่อ - สกุล
คะแนน 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 20
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
ครูผูสอน .................................. หัวหนาแผนก ........................................
(..................................... ) (.....................................)
ความมีระเบียบวินัย
การแตงกายถูกตองตามระเบียบวิทยาลัย
การตรงตอเวลา
แบบประเมิน ดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค
รหัสวิชา 21032102 วิชา เขียนแบบชางเชื่อมโลหะ2 ภาคเรียนที่ .......... ปการศึกษา.............
แผนกวิชาชางเชื่อมโลหะ ระดับชั้น .................... กลุมที่ ..........
ความรับผิดชอบ
ใฝเรียนรู
มีความซื่อสัตยในการทํางาน
มีความสนใจในการชักถามขอสงสัย
รวม
มีความสามัคคี
กลาแสดงความคิดเห็น
มีสัมมาคารวะตอครู

More Related Content

การเขียนแผ่นคลี่กรวย๶ยื้องศูนย์