ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 1
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล
จักรพันธ ภวังคะรัตน
chakrapan_pw@eec.co.th
วิศวกรเครื่องกลอาวุโส บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
กรรมการบริหาร สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแหงประเทศไทย 2544-2545
กรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมเครื่องกล สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย 2545-2546
Member ASHRAE
1. บทนํา
พื้นฐานที่แตกตางกันระหวางระบบปรับอากาศของโรงพยาบาลกับอาคารอื่นๆไดแก
1. ตองควบคุมการเคลื่อนที่ของอากาศภายในและระหวางแผนก
2. มีความตองการพิเศษในการควบคุมอัตราการระบายอากาศ, การกรองอากาศเพื่อเจือจางสิ่งปนเปอนใน
อากาศซึ่งอาจอยูในรูป กลิ่น, จุลชีพ, ไวรัส, สารเคมี, สารกัมมันตรังสี
3. มีความตองการอุณหภูมิและความชื้นแตกตางกันในแตละพื้นที่
4. มีความตองการระบบควบคุมที่แมนยําเพื่อควบคุมสภาวะแวดลอมที่ละเอียดออนภายในโรงพยาบาล
2. แหลงของการติดเชื้อและวิธีการควบคุม
การติดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial Infection)
ตัวอยางของเชื้อแบคทีเรียที่แพรเชื้อผานอากาศไดแก เชื้อวัณโรค (Mycobacterium Tuberculosis) และ Legionella
pneumophila (Legionaire's Disease) จากการศึกษาของ Wells (1934) แสดงใหเห็นวาละอองขนาด 5 ไมครอนและเล็ก
กวาจะแขวนลอยอยูในอากาศไดตลอดโดยไมตกลงสูดานลาง จากการศึกษาของ Isoard et al. (1980) และ Luciano
(1984) แสดงวา 99.4% ของแบคทีเรียในโรงพยาบาลจะถูกกรองไดโดยแผงกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพ 90-95%
(ASHRAE Standard 52.1) ทั้งนี้เนื่องจากแบคทีเรียมักรวมตัวอยูดวยกันซึ่งจะมีขนาดใหญกวา 1 ไมครอน หนวยงานบาง
แหงแนะนําใหใชแผงกรองอากาศชนิด HEPA (High Efficiency Particulate Air Filter) ซึ่งจะมีประสิทธิภาพในการกรอง
อนุภาคขนาด 0.3 ไมครอนไดถึง 99.97%
การติดเชื้อไวรัส (Viral Infection)
ตัวอยางของเชื้อไวรัสที่แพรเชื้อผานอากาศไดแก Varicella (อีสุกอีใส/งูสวัด), Rubella (หัดเยอรมัน), Rubeola (หัด) หลัก
ฐานทางระบาดวิทยาแสดงใหเห็นวาเชื้อไวรัสที่แพรผานอากาศสวนใหญมีขนาดเล็กมากในระดับ Submicron จึงไมมีวิธีใด
ที่กําจัดไวรัสในอากาศได 100% การใชแผงกรองอากาศชนิด HEPA (High Efficiency Particulate Air Filter) และ/หรือ
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 2
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
ULPA (Ultra Low Penetration Air Filter) เปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในขณะนี้ การหยุดยั้งเชื้อไวรัสดวยแสงอุล
ตราไวโอเล็ตหรือการฉีดสารเคมียังไมสามารถพิสูจนไดวามีประสิทธิผลเพียงพอ จึงยังไมแนะนําใหใชเปนวิธีการหลักในการ
ปองกันการติดเชื้อ (Primary Infection Control Measure) ดังนั้นวิธีการหลักที่ใชในการปองกันการแพรเชื้อในโรงพยาบาล
คือ การควบคุมความสัมพันธระหวางหองใหเหมาะสม (Appropriate Pressure Relationship)
เชื้อรา (Molds)
มีหลักฐานแสดงวาเชื้อราบางชนิดเชน Aspergillis จะสงผลรายกับผูปวยมะเร็งเม็ดเลือดขาวระยะรุนแรง (Advanced
Leukemia), ผูปวยที่ไดรับการปลูกถายไขกระดูก (Bone Marrow Transplant) และผูปวยที่ภูมิตานทานเชื้อโรคของรางกาย
ตํ่าผิดปกติ (Immunocompromised) อื่นๆ
การเติมอากาศจากภายนอก (Outdoor Air Ventilation)
หากจุดที่นําอากาศเขามาจากภายนอกเปนจุดที่เหมาะสม อากาศจากภายนอกเกือบจะไมมีเชื้อแบคทีเรียและไวรัสเลย
ปญหาของเชื้อแบคทีเรียและไวรัสสวนใหญจะมีแหลงของเชื้ออยูภายในตัวอาคารโรงพยาบาล อากาศจากภายนอกที่เติม
เขามาจะชวยเจือจางปริมาณเชื้อแบคทีเรียและไวรัส ถาระบบระบายอากาศไดรับการออกแบบ, ติดตั้ง และมีการสรางความ
ดันแตกตางระหวางพื้นที่อยางถูกตอง จะชวยกําจัดเชื้อโรคในอากาศออกไปจากโรงพยาบาลได
อุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity)
สภาวะอุณหภูมิและความชื้นในโรงพยาบาลจะมีสวนชวยในการสงเสริมหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียและไว
รัส แบคทีเรียบางชนิดเชน Legionella Pneumophila จะแพรกระจายไดดีในละอองนํ้า และสามารถมีชีวิตอยูไดในสภาวะ
อากาศชื้น
3. คุณภาพอากาศ
ระบบปรับอากาศมีหนาที่จายอากาศที่ปราศจากฝุน, กลิ่น, สารเคมี, สารกัมมันตรังสี ในบางกรณีอากาศจากภายนอกอาจ
เปนอันตรายกับผูปวยโรคทางเดินหายใจ หรือ ปอด ได
จุดที่นําอากาศเขา (Outdoor Air Intake)
จุดนําอากาศเขาควรอยูหางใหมากที่สุดเทาที่เปนได(อยางนอย 10 เมตร)จาก ทอไอเสียของอุปกรณที่มีการเผาไหม, จุด
ปลอยอากาศเสียของโรงพยาบาลและอาคารขางเคียง, ระบบดูดของเสียทางการแพทย (Medical-Surgical Vacuum
System), หอระบายความรอน (Cooling Tower), จุดที่มีควันไอเสียรถยนต จุดนําอากาศเขาควรอยูสูงจากพื้นดินอยางนอย
1.5 เมตร หากอยูบนหลังคา ควรอยูสูงกวาหลังคาอยางนอย 1 เมตร
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 3
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
จุดระบายอากาศทิ้ง (Exhaust Air Outlet)
จุดระบายอากาศทิ้งควรอยูสูงจากพื้นดินอยางนอย 3 เมตร และอยูหางจากบริเวณที่มีคนใชงาน, ประตู, หนาตาง จุดที่ดีที่
สุดของการระบายอากาศทิ้งคือ ปลอยขึ้นดานบนเหนือหลังคา หรือ มีทิศทางตรงขามกับจุดนําอากาศเขา ควรใหความ
สําคัญเปนพิเศษกับอากาศเสียที่เขมขนมากเชน ไอเสียจากเครื่องยนตหรือหมอไอนํ้า, สารเคมีจากหองปฏิบัติการ, อากาศที่
มีเชื้อโรค, อากาศระบายทิ้งจากหองครัว และควรพิจารณาผลของทิศทางลมดวย
แผงกรองอากาศ (Air Filter)
ระบบปรับอากาศควรติดตั้งแผงกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพไมตํ่ากวาที่กําหนดในตารางที่ 1 หากในตารางระบุใหมีแผง
กรองอากาศสองชั้น ชั้นที่หนึ่งควรอยูดานกอนลมเขาคอยลทําความเย็น และชั้นที่สองควรอยูดานลมออกจากพัดลม หากใน
ระบบมีอุปกรณเพิ่มความชื้น ตองระวังไมใหแผงกรองอากาศเปยกจากละอองนํ้าที่พนเขาไปในกระแสอากาศ หากในตาราง
ระบุใหมีแผงกรองอากาศชั้นเดียว แผงกรองอากาศควรอยูดานกอนลมเขาคอยล ประสิทธิภาพของแผงกรองอากาศในตา
รางอางอิงจาก ASHRAE Standard 52.1
4. แนวปฏิบัติในการติดตั้งแผงกรองอากาศ
1. ควรติดตั้งแผงกรองอากาศแบบ HEPA ที่ทดสอบดวยวิธี DOP มีประสิทธิภาพ 99.97% ทางดานลมจายของหองรักษา
ผูปวยที่มีความเสี่ยงตอการติดเชื้อสูง เชน ผูปวยมะเร็งในเม็ดเลือดขาว (Leukemia), ผูปวยบาดแผลไหม (Burn), ผู
ปวยที่ไดรับการปลูกถายไขกระดูก (Bone marrow transplant), ผูปวยที่ไดรับการเปลี่ยนถายอวัยวะ (Organ
transplant), หรือผูปวยโรคภูมิคุมกันบกพรอง (Acquired immunodeficiency syndrome, AIDS) และควรติดตั้งแผง
กรองอากาศแบบ HEPA กรองอากาศทิ้งที่ดูดมาจาก Fume Hood หรือ Safety Cabinet ที่มีการใชงานที่มีเชื้อโรคหรือ
สารกัมมันตรังสี ระบบกรองอากาศควรติดตั้งใหสะดวกและปลอดภัยในการเขาไปบํารุงรักษาหรือเปลี่ยนแผงกรอง
อากาศใหม
2. การติดตั้งแผงกรองอากาศจะตองไมใหมีรอยรั่วใหอากาศผานระหวางชิ้นของแผงกรองอากาศได แผงกรองอากาศประ
สิทธิภาพสูงจะไมมีประโยชนเลยหากปลอยใหมีอากาศที่ยังไมไดกรองรั่วเขาสูระบบแมแตเพียงปริมาณไมมากนัก
3. ควรติดตังมาโนมิเตอรวัดความดันครอมแผงกรองอากาศ เพื่อใชในการตรวจสภาพแผงกรองอากาศวาถึงเวลาเปลี่ยน
แลวหรือยัง ซึ่งถูกตองและแมนยํากวาการตรวจดวยสายตา
4. การติดตั้งแผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูง จะตองมีพื้นที่อยางเพียงพอในการบํารุงรักษาโดยไมทําใหสิ่งสกปรกหลุด
เขาไปในระบบได
5. เนื่องจากแผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูงมีราคาแพง ดังนั้นโรงพยาบาลจึงควรจัดงบประมาณลวงหนาอยางเพียงพอ
สําหรับการเปลี่ยนเมื่อแผงกรองอากาศหมดสภาพ
6. ในระหวางการกอสรางหรือติดตั้งระบบทอลม จะตองมีวิธีการปองกันฝุนหรือสิ่งสกปรกเขาไปอยูในระบบทอ ซึ่งจะเปน
แหลงเพาะเชื้อโรคภายในระบบ และจะทําใหแผงกรองอากาศอุดตันอยางรวดเร็ว
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 4
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของแผงกรองอากาศสําหรับระบบปรับอากาศใȨรงพยาบาล
Filter Efficiency, %Minimum Number
of Filter Beds
Area Designation
No. 1a
No. 2a
No. 3b
3 Orthopedic operating room,
Bone marrow transplant operating room,
Organ transplant operating room
25% 90% 99.97%c
2 General procedure operating rooms
Delivery rooms
Nurseries
Intensive care units
Patient care rooms
Treatment rooms
Diagnostic and related areas
25% 90%
1 Laboratories
Sterile storage
80%
1 Food preparation areas
Laundries
Administrative areas
Bulk storage
Soiled holding areas
25%
Source: 1999 ASHRAE Handbook – Application
Note :
a : Based on ASHRAE Standard 52.1
b : Based on DOP test
c : HEPA Filters at air outlets
5. การเคลื่อนที่ของอากาศ
ในตารางที่ 2 แสดงใหเห็นถึงระดับของสิ่งปนเปอนที่แพรกระจายอยูในโรงพยาบาลซึ่งเกิดจากหนึ่งในกกิจกรรมปกติที่ตอง
ปฏิบัติทุกวันในโรงพยาบาล จํานวนของแบคทีเรียในทางเดินแสดงใหเห็นวาสิ่งปนเปอนสามารถแพรกระจายจากจุดหนึ่งไป
ยังจุดหนึ่งได
เนื่องจากการแพรกระจายของแบคทีเรียเกิดจากกิจกรรมที่จําเปนตองทําทุกๆวันในโรงพยาบาล ระบบปรับอากาศจึงมีหนาที่
ทําใหการเคลื่อนที่ของอากาศชวยจํากัดการแพรของสิ่งปนเปอน กระแสอากาศในทิศทางที่ไมพึงประสงคเปนสิ่งที่ควบคุมได
ยากเนื่องจากมีชองเปด, มีการเปดประตู, มีการเคลื่อนที่ของเจาหนาที่และคนไข, มีอุณหภูมิแตกตางซึ่งกอใหเกิดการเคลื่อน
ที่ของอากาศตามธรรมชาติ และยังมีชองเปดในแนวตั้งเชน ปลองลิฟต, ชองสงของระหวางชั้น, ชองทอ(Mechanical Shaft)
ซึ่งเสริมใหมีการเคลื่อนที่ของอากาศระหวางชั้นอีกดวย ถึงแมวาบางปจจัยจะไมสามารถควบคุมได แตก็มีบางปจจัยที่ชวย
จํากัดการเคลื่อนที่ของอากาศได โดยการออกแบบและปรับสมดุลระบบจายลมเพื่อใหเกิดความดันเปนบวกและลบตาม
ความตองการของแตละพื้นที่
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 5
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
ตารางที่ 2 ผลจากการทําเตียงตอปริมาณแบคทีเรียในอากาศในโรงพยาบาล
Count per Cubic MeterItem
Inside Patient Room Hallway near Patient Room
Background 1200 1060
During bedmaking 4940 2260
10 min after 2120 1470
30 min after 1270 950
Background 560
Normal bedmaking 3520
Vigorous bedmaking 6070
Source : Greene et al. (1960)
ระบบสําหรับหองที่มีความเขมขนของสิ่งปนเปอนสูง เชน หองชันสูตรศพ (Autopsy) และหองแยกผูปวย (Isolation Room)
สําหรับผูปวยโรคติดตอ ควรไดรับการออกแบบใหมีความดันเปนลบเมื่อเทียบกับพื้นที่รอบๆ(มีความดันตํ่ากวาพื้นที่รอบๆ)
ความดันเปนลบทําไดโดยจายลมเขาไปในหองนอยกวาการระบายลมออก (CDC 1994) เมื่อมีความดันเปนลบจะมีกระแส
อากาศถูกดูดผานกรอบประตูหรือชองเปดอื่นๆเขาไปในหองซึ่งจะปองกันไมใหมีสิ่งปนเปอนภายในหองไหลสวนทางออกไป
ได
สําหรับหองผาตัดซึ่งตองการใหปลอดเชื้อจะตองมีความดันเปนบวกเมื่อเทียบกับบริเวณรอบๆ(ความดันมากกวาบริเวณ
รอบๆ) เพื่อปองกันไมใหกระแสอากาศที่มีสิ่งปนเปอนไหลเขาไปในหองผาตัดได อยางไรก็ตาม หากเปนหองผาตัดซึ่งใชกับผู
ปวยที่เปนโรคติดตอ เชน โรคเกี่ยวกับหลอดลม หรือ โรคปอด อาจจําเปนตองทําใหหองมีความดันเปนลบเพื่อปองกันไมใหมี
การแพรเชื้อออกจากหองผาตัด
ระหวางหองผาตัดหรือหองแยกผูปวยกับทางเดินภายนอกควรมีหองอยูระหวางกลาง (Anteroom) โดยหองนี้อาจมีความ
เปนบวกเมื่อเทียบกับหองและทางเดินภายนอก หรือเปนลบเมื่อเทียบกับหองและทางเดินภายนอก ก็ได การมีหองนี้อยู
ระหวางกลางจะชวยปองกันการแพรเชื้อไดดียิ่งขึ้น
การสรางความดันแตกตางระหวางหองนั้น สามารถทําไดเฉพาะกับหองที่ปดสนิทเทานั้น ดังนั้นกรอบประตูจะตองไมมีรอย
รั่วมากเกินไป และตองไมมีชองเปดอื่นๆ การเปดประตูหองหรือชองเปดใดๆจะทําใหสูญเสียความดันทั้งหมดไปได และเมื่อ
มีการเปดประตูอาจจะมีอากาศสวนหนึ่งใหลเขาและออกจากหองตามธรรมชาติเนื่องมากจากอุณหภูมิที่แตกตางกัน
ระหวางหอง สําหรับหองที่ตองการรักษาความดันในขณะที่มีคนเขาออกจากหอง ควรจะตองมีประตูสองชั้นเพื่อปดกัน
อากาศ (Air lock)
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 6
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
รูปที่ 1 แสดงใหเห็นถึงจํานวนแบคทีเรียในหองผาตัดและหองขางเคียงในระหวางการผาตัด การนับจํานวนแบคทีเรียทํา
พรอมๆกันทุกหอง จํานวนแบคทีเรียในหองผาตัดที่นอยกวาหองขางเคียงเปนเพราะใหหองผาตัดมีกิจกรรมนอยกวา และมี
ความดันสูงกวาหองขางเคียง
โดยทั่วไป สําหรับหองที่ตองการความสะอาดมากเปนพิเศษควรติดตั้งหัวจายลมที่เพดาน และมีชองลมกลับหรือชองระบาย
ลมทิ้งอยูรอบๆหอง ที่ระดับใกลๆพื้นหอง การจัดหัวจายลมและชองลมกลับในลักษณะนี้จะทําใหกระแสอากาศสะอาดไหล
จากดานบนซึ่งใชหายใจ (Breathing Zone) ลงสูดานลาง สําหรับหองแยกผูปวยติดเชื้อ (Infectious Isolation Room) ควร
จายลมจากเพดานทางดานประตูทางเขาหอง และติดตั้งชองลมกลับที่ระดับใกลพื้นทางดานหลังเตียงผูปวย เพื่อใหอากาศ
สะอาดไหลจากทางดานผูเขาเยี่ยมหรือเจาหนาที่ผานตัวผูปวยและถูกระบายอออกไป (CDC 1994) ขอบดานลางของชอง
ลมกลับควรอยูสูงจากพื้นอยางนอย 75 มม.
แนวคิดการใชการไหลแบบลามินาร (Laminar Airflow) ของหองสะอาดในอุตสาหกรรม ทั้งแบบแนวตั้งและแนวนอน ก็เปน
อีกรูปแบบหนึ่งของการกระจายลมที่นาสนใจสําหรับหองสะอาดในโรงพยาบาล
คําจํากัดความของการไหลแบบลามินาร คือ การไหลของอากาศไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อมีความเร็วลม
ประมาณ 0.45 +/-0.1 เมตรตอวินาที (90 +/-20 ฟุตตอนาที)
รูปที่ 1 จํานวนแบคทีเรียในหองผาตัดและหองขางเคียง
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 7
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
ระบบการไหลแบบลามินารจะมีประโยชนสําหรับหองผูปวยที่มีโอกาสติดเชื้อสูง เชน ผูปวยแผลไหมอยางรุนแรง, ผูปวยที่ได
รับการรักษาดวยรังสี, ผูปวยที่ไดรับการเปลี่ยนถายอวัยวะ, ผูปวยที่ไดรับการตัดอวัยวะ และผูปวยที่ไดรับการเปลี่ยนไขขอ
6. ความสัมพันธของความดันและการระบายอากาศ (Pressure Relationship and Ventilation)
ตารางที่ 3 แสดงมาตรฐานการระบายอากาศสําหรับความสบาย, ความสะอาด และการควบคุมกลิ่นในพื้นที่สําคัญๆของโรง
พยาบาลที่มีผลกระทบตอผูปวย ขอมูลในตารางที่ 3 เปนขอมูลของ American Society of Heating, Refrigerating and
Air-conditioning Engineers (ASHRAE) ซึ่งอาจไมตรงกับขอมูลของ American Institute of Architect (AIA) ถาหากแตละ
โรงพยาบาลมีขอกําหนดเฉพาะเจาะจงลงไปอีกใหยึดถือตามขอกําหนดนั้นๆ สําหรับพื้นที่ที่ไมไดระบุไวใหใชอัตราการ
ระบายอากาศตามมาตรฐาน ASHRAE Standard 62 : Ventilation for Acceptable Indoor Air Quality ในบริเวณที่มีผู
ปวยที่ตองการการดูแลเปนพิเศษ รวมถึง ผูปวยเปลี่ยนถายอวัยวะ, หนวยผูปวยแผลไฟไหม ควรมีการควบคุมคุณภาพ
อากาศเพิ่มเติมใหเหมาะสม
การออกแบบระบบปรับอากาศและระบายอากาศจะตองทําใหอากาศไหลจากบริเวณที่สะอาดมากไปสูบริเวณที่สะอาดนอย
ใหมากที่สุด ในพื้นที่ที่มีความสําคัญควรใชระบบปริมาณอากาศคงที่ (Constant Air Volume) เพื่อใหแนใจวาสามารถรักษา
ความสัมพันธของความดันที่ถูกตองไวได สําหรับพื้นที่ที่ไมมีความสําคัญหรือหัองของเจาหนาที่สามารถใชระบบปริมาณ
อากาศแปรเปลี่ยน (Variable Air Volume)เพื่อชวยในการประหยัดพลังงานได การใชระบบปริมาณอากาศแปรเปลี่ยนใน
โรงพยาบาลจะตองระมัดระวังวามีอัตราการเติมอากาศจากภายนอก (Outdoor Air) เพียงพอตามมาตรฐานกําหนด และ
ตองรักษาความสัมพันธของความดันระหวางพื้นที่หรือแผนกตางๆไดในระดับที่เหมาะสม ในตารางที่ 3 พื้นที่ทําตองการการ
ควบคุมความดันอยางตอเนื่องจะแสดงดวยสัญลักษณ P, N และ E โดยมีความหมายวา ความดันเปนบวก(Positive
Pressure), ความดันเปนลบ (Negative Pressure) และ ความดันเทากัน (Equal Pressure) ตามลําดับ สวนหองที่ไม
ตองการการควบคุมความดันอยางตอเนื่องจะแสดงดวยสัญลักษณ ±
อัตราการหมุนเวียนของลมอาจลดลงเหลือ 25% ของปริมาตรหองตอชั่วโมง (Air Change per Hour) ที่ระบุในตารางไดเมื่อ
หองไมไดใชงาน (Unoccupied) หากมีการเตรียมให (1) สามารถปรับไปใชอัตราการหมุนเวียนตามที่ระบุในตารางไดเมื่อมี
การใชงานหอง (2) สามารถรักษาความสัมพันธของความดันกับหองขางเคียงไดตามที่ตองการ
ในพื้นที่ที่ไมตองการควบคุมทิศทางการระบายอากาศอยางตอเนื่อง (±) สามารถปดระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
เมื่อไมมีการใชงานหองได
เพื่อการประหยัดพลังงานใหมากที่สุด ควรใชระบบอากาศหมุนเวียน (Recirculating Air System) มากกวาระบบอากาศ
จากภายนอกทั้งหมด (All Outdoor Air System) ในกรณีที่ใชระบบอากาศจากภายนอกทั้งหมดควรพิจารณาติดตั้งอุปกรณ
แลกเปลี่ยนความรอนอากาศ (Air-to-Air Heat Exchanger)
ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 8
บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด
7. ระบบควบคุมควัน
ระบบควบคุมควันควรไดรับการพิจารณาออกแบบไปพรอมๆกับระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ระบบควบคุมควัน
แบบ Passive ใชออกแบบใหมีการระบบปดกั้นไฟและควันไฟ รวมกับระบบสั่งหยุดพัดลมโดยอัตโนมัติ
ระบบควบคุมควันแบบ Active ใชระบบปรับอากาศและระบายอากาศสรางความดันเปนบวกและลบ รวมกับผนังกันไฟและ
ควันไฟซึ่งทําหนาที่จํากัดการแพรของไฟและควันไฟ
การออกแบบระบบควบคุมควันควรอางอิงจาก NFPA (National Fire Protection Association) Standard 90A, 92A,
92B, 99 และ 101
เอกสารอางอิง
1999 ASHRAE Application Handbook, American Society of Heating, Refrigerating and Air-conditioning
Engineers
แหลงขอมูลเพิ่มเติม
www.cdc.gov : Center for Disease Control and Prevention, USA
www.osha.gov : Occupational Safety and Health Administration, USA
www.infectioncontroltoday.com : Online magazine, USA
www.ashrae.org : American Society of Heating, Refrigerating, and Air-conditioning Engineers, USA
www.nfpa.org : National Fire Protection Association, USA.
www.acat.or.th : Air-conditioning Engineering Association of Thailand
www.ashraethailand.org : ASHRAE Thailand Chapter
www.thaihvac.com : HVAC engineering information website

More Related Content

ระบบปรับอากาศใȨรงพยาบาล

  • 1. ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 1 บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล จักรพันธ ภวังคะรัตน chakrapan_pw@eec.co.th วิศวกรเครื่องกลอาวุโส บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด กรรมการบริหาร สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแหงประเทศไทย 2544-2545 กรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมเครื่องกล สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย 2545-2546 Member ASHRAE 1. บทนํา พื้นฐานที่แตกตางกันระหวางระบบปรับอากาศของโรงพยาบาลกับอาคารอื่นๆไดแก 1. ตองควบคุมการเคลื่อนที่ของอากาศภายในและระหวางแผนก 2. มีความตองการพิเศษในการควบคุมอัตราการระบายอากาศ, การกรองอากาศเพื่อเจือจางสิ่งปนเปอนใน อากาศซึ่งอาจอยูในรูป กลิ่น, จุลชีพ, ไวรัส, สารเคมี, สารกัมมันตรังสี 3. มีความตองการอุณหภูมิและความชื้นแตกตางกันในแตละพื้นที่ 4. มีความตองการระบบควบคุมที่แมนยําเพื่อควบคุมสภาวะแวดลอมที่ละเอียดออนภายในโรงพยาบาล 2. แหลงของการติดเชื้อและวิธีการควบคุม การติดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial Infection) ตัวอยางของเชื้อแบคทีเรียที่แพรเชื้อผานอากาศไดแก เชื้อวัณโรค (Mycobacterium Tuberculosis) และ Legionella pneumophila (Legionaire's Disease) จากการศึกษาของ Wells (1934) แสดงใหเห็นวาละอองขนาด 5 ไมครอนและเล็ก กวาจะแขวนลอยอยูในอากาศไดตลอดโดยไมตกลงสูดานลาง จากการศึกษาของ Isoard et al. (1980) และ Luciano (1984) แสดงวา 99.4% ของแบคทีเรียในโรงพยาบาลจะถูกกรองไดโดยแผงกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพ 90-95% (ASHRAE Standard 52.1) ทั้งนี้เนื่องจากแบคทีเรียมักรวมตัวอยูดวยกันซึ่งจะมีขนาดใหญกวา 1 ไมครอน หนวยงานบาง แหงแนะนําใหใชแผงกรองอากาศชนิด HEPA (High Efficiency Particulate Air Filter) ซึ่งจะมีประสิทธิภาพในการกรอง อนุภาคขนาด 0.3 ไมครอนไดถึง 99.97% การติดเชื้อไวรัส (Viral Infection) ตัวอยางของเชื้อไวรัสที่แพรเชื้อผานอากาศไดแก Varicella (อีสุกอีใส/งูสวัด), Rubella (หัดเยอรมัน), Rubeola (หัด) หลัก ฐานทางระบาดวิทยาแสดงใหเห็นวาเชื้อไวรัสที่แพรผานอากาศสวนใหญมีขนาดเล็กมากในระดับ Submicron จึงไมมีวิธีใด ที่กําจัดไวรัสในอากาศได 100% การใชแผงกรองอากาศชนิด HEPA (High Efficiency Particulate Air Filter) และ/หรือ
  • 2. ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 2 บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด ULPA (Ultra Low Penetration Air Filter) เปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในขณะนี้ การหยุดยั้งเชื้อไวรัสดวยแสงอุล ตราไวโอเล็ตหรือการฉีดสารเคมียังไมสามารถพิสูจนไดวามีประสิทธิผลเพียงพอ จึงยังไมแนะนําใหใชเปนวิธีการหลักในการ ปองกันการติดเชื้อ (Primary Infection Control Measure) ดังนั้นวิธีการหลักที่ใชในการปองกันการแพรเชื้อในโรงพยาบาล คือ การควบคุมความสัมพันธระหวางหองใหเหมาะสม (Appropriate Pressure Relationship) เชื้อรา (Molds) มีหลักฐานแสดงวาเชื้อราบางชนิดเชน Aspergillis จะสงผลรายกับผูปวยมะเร็งเม็ดเลือดขาวระยะรุนแรง (Advanced Leukemia), ผูปวยที่ไดรับการปลูกถายไขกระดูก (Bone Marrow Transplant) และผูปวยที่ภูมิตานทานเชื้อโรคของรางกาย ตํ่าผิดปกติ (Immunocompromised) อื่นๆ การเติมอากาศจากภายนอก (Outdoor Air Ventilation) หากจุดที่นําอากาศเขามาจากภายนอกเปนจุดที่เหมาะสม อากาศจากภายนอกเกือบจะไมมีเชื้อแบคทีเรียและไวรัสเลย ปญหาของเชื้อแบคทีเรียและไวรัสสวนใหญจะมีแหลงของเชื้ออยูภายในตัวอาคารโรงพยาบาล อากาศจากภายนอกที่เติม เขามาจะชวยเจือจางปริมาณเชื้อแบคทีเรียและไวรัส ถาระบบระบายอากาศไดรับการออกแบบ, ติดตั้ง และมีการสรางความ ดันแตกตางระหวางพื้นที่อยางถูกตอง จะชวยกําจัดเชื้อโรคในอากาศออกไปจากโรงพยาบาลได อุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity) สภาวะอุณหภูมิและความชื้นในโรงพยาบาลจะมีสวนชวยในการสงเสริมหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียและไว รัส แบคทีเรียบางชนิดเชน Legionella Pneumophila จะแพรกระจายไดดีในละอองนํ้า และสามารถมีชีวิตอยูไดในสภาวะ อากาศชื้น 3. คุณภาพอากาศ ระบบปรับอากาศมีหนาที่จายอากาศที่ปราศจากฝุน, กลิ่น, สารเคมี, สารกัมมันตรังสี ในบางกรณีอากาศจากภายนอกอาจ เปนอันตรายกับผูปวยโรคทางเดินหายใจ หรือ ปอด ได จุดที่นําอากาศเขา (Outdoor Air Intake) จุดนําอากาศเขาควรอยูหางใหมากที่สุดเทาที่เปนได(อยางนอย 10 เมตร)จาก ทอไอเสียของอุปกรณที่มีการเผาไหม, จุด ปลอยอากาศเสียของโรงพยาบาลและอาคารขางเคียง, ระบบดูดของเสียทางการแพทย (Medical-Surgical Vacuum System), หอระบายความรอน (Cooling Tower), จุดที่มีควันไอเสียรถยนต จุดนําอากาศเขาควรอยูสูงจากพื้นดินอยางนอย 1.5 เมตร หากอยูบนหลังคา ควรอยูสูงกวาหลังคาอยางนอย 1 เมตร
  • 3. ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 3 บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด จุดระบายอากาศทิ้ง (Exhaust Air Outlet) จุดระบายอากาศทิ้งควรอยูสูงจากพื้นดินอยางนอย 3 เมตร และอยูหางจากบริเวณที่มีคนใชงาน, ประตู, หนาตาง จุดที่ดีที่ สุดของการระบายอากาศทิ้งคือ ปลอยขึ้นดานบนเหนือหลังคา หรือ มีทิศทางตรงขามกับจุดนําอากาศเขา ควรใหความ สําคัญเปนพิเศษกับอากาศเสียที่เขมขนมากเชน ไอเสียจากเครื่องยนตหรือหมอไอนํ้า, สารเคมีจากหองปฏิบัติการ, อากาศที่ มีเชื้อโรค, อากาศระบายทิ้งจากหองครัว และควรพิจารณาผลของทิศทางลมดวย แผงกรองอากาศ (Air Filter) ระบบปรับอากาศควรติดตั้งแผงกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพไมตํ่ากวาที่กําหนดในตารางที่ 1 หากในตารางระบุใหมีแผง กรองอากาศสองชั้น ชั้นที่หนึ่งควรอยูดานกอนลมเขาคอยลทําความเย็น และชั้นที่สองควรอยูดานลมออกจากพัดลม หากใน ระบบมีอุปกรณเพิ่มความชื้น ตองระวังไมใหแผงกรองอากาศเปยกจากละอองนํ้าที่พนเขาไปในกระแสอากาศ หากในตาราง ระบุใหมีแผงกรองอากาศชั้นเดียว แผงกรองอากาศควรอยูดานกอนลมเขาคอยล ประสิทธิภาพของแผงกรองอากาศในตา รางอางอิงจาก ASHRAE Standard 52.1 4. แนวปฏิบัติในการติดตั้งแผงกรองอากาศ 1. ควรติดตั้งแผงกรองอากาศแบบ HEPA ที่ทดสอบดวยวิธี DOP มีประสิทธิภาพ 99.97% ทางดานลมจายของหองรักษา ผูปวยที่มีความเสี่ยงตอการติดเชื้อสูง เชน ผูปวยมะเร็งในเม็ดเลือดขาว (Leukemia), ผูปวยบาดแผลไหม (Burn), ผู ปวยที่ไดรับการปลูกถายไขกระดูก (Bone marrow transplant), ผูปวยที่ไดรับการเปลี่ยนถายอวัยวะ (Organ transplant), หรือผูปวยโรคภูมิคุมกันบกพรอง (Acquired immunodeficiency syndrome, AIDS) และควรติดตั้งแผง กรองอากาศแบบ HEPA กรองอากาศทิ้งที่ดูดมาจาก Fume Hood หรือ Safety Cabinet ที่มีการใชงานที่มีเชื้อโรคหรือ สารกัมมันตรังสี ระบบกรองอากาศควรติดตั้งใหสะดวกและปลอดภัยในการเขาไปบํารุงรักษาหรือเปลี่ยนแผงกรอง อากาศใหม 2. การติดตั้งแผงกรองอากาศจะตองไมใหมีรอยรั่วใหอากาศผานระหวางชิ้นของแผงกรองอากาศได แผงกรองอากาศประ สิทธิภาพสูงจะไมมีประโยชนเลยหากปลอยใหมีอากาศที่ยังไมไดกรองรั่วเขาสูระบบแมแตเพียงปริมาณไมมากนัก 3. ควรติดตังมาโนมิเตอรวัดความดันครอมแผงกรองอากาศ เพื่อใชในการตรวจสภาพแผงกรองอากาศวาถึงเวลาเปลี่ยน แลวหรือยัง ซึ่งถูกตองและแมนยํากวาการตรวจดวยสายตา 4. การติดตั้งแผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูง จะตองมีพื้นที่อยางเพียงพอในการบํารุงรักษาโดยไมทําใหสิ่งสกปรกหลุด เขาไปในระบบได 5. เนื่องจากแผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูงมีราคาแพง ดังนั้นโรงพยาบาลจึงควรจัดงบประมาณลวงหนาอยางเพียงพอ สําหรับการเปลี่ยนเมื่อแผงกรองอากาศหมดสภาพ 6. ในระหวางการกอสรางหรือติดตั้งระบบทอลม จะตองมีวิธีการปองกันฝุนหรือสิ่งสกปรกเขาไปอยูในระบบทอ ซึ่งจะเปน แหลงเพาะเชื้อโรคภายในระบบ และจะทําใหแผงกรองอากาศอุดตันอยางรวดเร็ว
  • 4. ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 4 บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของแผงกรองอากาศสําหรับระบบปรับอากาศใȨรงพยาบาล Filter Efficiency, %Minimum Number of Filter Beds Area Designation No. 1a No. 2a No. 3b 3 Orthopedic operating room, Bone marrow transplant operating room, Organ transplant operating room 25% 90% 99.97%c 2 General procedure operating rooms Delivery rooms Nurseries Intensive care units Patient care rooms Treatment rooms Diagnostic and related areas 25% 90% 1 Laboratories Sterile storage 80% 1 Food preparation areas Laundries Administrative areas Bulk storage Soiled holding areas 25% Source: 1999 ASHRAE Handbook – Application Note : a : Based on ASHRAE Standard 52.1 b : Based on DOP test c : HEPA Filters at air outlets 5. การเคลื่อนที่ของอากาศ ในตารางที่ 2 แสดงใหเห็นถึงระดับของสิ่งปนเปอนที่แพรกระจายอยูในโรงพยาบาลซึ่งเกิดจากหนึ่งในกกิจกรรมปกติที่ตอง ปฏิบัติทุกวันในโรงพยาบาล จํานวนของแบคทีเรียในทางเดินแสดงใหเห็นวาสิ่งปนเปอนสามารถแพรกระจายจากจุดหนึ่งไป ยังจุดหนึ่งได เนื่องจากการแพรกระจายของแบคทีเรียเกิดจากกิจกรรมที่จําเปนตองทําทุกๆวันในโรงพยาบาล ระบบปรับอากาศจึงมีหนาที่ ทําใหการเคลื่อนที่ของอากาศชวยจํากัดการแพรของสิ่งปนเปอน กระแสอากาศในทิศทางที่ไมพึงประสงคเปนสิ่งที่ควบคุมได ยากเนื่องจากมีชองเปด, มีการเปดประตู, มีการเคลื่อนที่ของเจาหนาที่และคนไข, มีอุณหภูมิแตกตางซึ่งกอใหเกิดการเคลื่อน ที่ของอากาศตามธรรมชาติ และยังมีชองเปดในแนวตั้งเชน ปลองลิฟต, ชองสงของระหวางชั้น, ชองทอ(Mechanical Shaft) ซึ่งเสริมใหมีการเคลื่อนที่ของอากาศระหวางชั้นอีกดวย ถึงแมวาบางปจจัยจะไมสามารถควบคุมได แตก็มีบางปจจัยที่ชวย จํากัดการเคลื่อนที่ของอากาศได โดยการออกแบบและปรับสมดุลระบบจายลมเพื่อใหเกิดความดันเปนบวกและลบตาม ความตองการของแตละพื้นที่
  • 5. ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 5 บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด ตารางที่ 2 ผลจากการทําเตียงตอปริมาณแบคทีเรียในอากาศในโรงพยาบาล Count per Cubic MeterItem Inside Patient Room Hallway near Patient Room Background 1200 1060 During bedmaking 4940 2260 10 min after 2120 1470 30 min after 1270 950 Background 560 Normal bedmaking 3520 Vigorous bedmaking 6070 Source : Greene et al. (1960) ระบบสําหรับหองที่มีความเขมขนของสิ่งปนเปอนสูง เชน หองชันสูตรศพ (Autopsy) และหองแยกผูปวย (Isolation Room) สําหรับผูปวยโรคติดตอ ควรไดรับการออกแบบใหมีความดันเปนลบเมื่อเทียบกับพื้นที่รอบๆ(มีความดันตํ่ากวาพื้นที่รอบๆ) ความดันเปนลบทําไดโดยจายลมเขาไปในหองนอยกวาการระบายลมออก (CDC 1994) เมื่อมีความดันเปนลบจะมีกระแส อากาศถูกดูดผานกรอบประตูหรือชองเปดอื่นๆเขาไปในหองซึ่งจะปองกันไมใหมีสิ่งปนเปอนภายในหองไหลสวนทางออกไป ได สําหรับหองผาตัดซึ่งตองการใหปลอดเชื้อจะตองมีความดันเปนบวกเมื่อเทียบกับบริเวณรอบๆ(ความดันมากกวาบริเวณ รอบๆ) เพื่อปองกันไมใหกระแสอากาศที่มีสิ่งปนเปอนไหลเขาไปในหองผาตัดได อยางไรก็ตาม หากเปนหองผาตัดซึ่งใชกับผู ปวยที่เปนโรคติดตอ เชน โรคเกี่ยวกับหลอดลม หรือ โรคปอด อาจจําเปนตองทําใหหองมีความดันเปนลบเพื่อปองกันไมใหมี การแพรเชื้อออกจากหองผาตัด ระหวางหองผาตัดหรือหองแยกผูปวยกับทางเดินภายนอกควรมีหองอยูระหวางกลาง (Anteroom) โดยหองนี้อาจมีความ เปนบวกเมื่อเทียบกับหองและทางเดินภายนอก หรือเปนลบเมื่อเทียบกับหองและทางเดินภายนอก ก็ได การมีหองนี้อยู ระหวางกลางจะชวยปองกันการแพรเชื้อไดดียิ่งขึ้น การสรางความดันแตกตางระหวางหองนั้น สามารถทําไดเฉพาะกับหองที่ปดสนิทเทานั้น ดังนั้นกรอบประตูจะตองไมมีรอย รั่วมากเกินไป และตองไมมีชองเปดอื่นๆ การเปดประตูหองหรือชองเปดใดๆจะทําใหสูญเสียความดันทั้งหมดไปได และเมื่อ มีการเปดประตูอาจจะมีอากาศสวนหนึ่งใหลเขาและออกจากหองตามธรรมชาติเนื่องมากจากอุณหภูมิที่แตกตางกัน ระหวางหอง สําหรับหองที่ตองการรักษาความดันในขณะที่มีคนเขาออกจากหอง ควรจะตองมีประตูสองชั้นเพื่อปดกัน อากาศ (Air lock)
  • 6. ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 6 บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด รูปที่ 1 แสดงใหเห็นถึงจํานวนแบคทีเรียในหองผาตัดและหองขางเคียงในระหวางการผาตัด การนับจํานวนแบคทีเรียทํา พรอมๆกันทุกหอง จํานวนแบคทีเรียในหองผาตัดที่นอยกวาหองขางเคียงเปนเพราะใหหองผาตัดมีกิจกรรมนอยกวา และมี ความดันสูงกวาหองขางเคียง โดยทั่วไป สําหรับหองที่ตองการความสะอาดมากเปนพิเศษควรติดตั้งหัวจายลมที่เพดาน และมีชองลมกลับหรือชองระบาย ลมทิ้งอยูรอบๆหอง ที่ระดับใกลๆพื้นหอง การจัดหัวจายลมและชองลมกลับในลักษณะนี้จะทําใหกระแสอากาศสะอาดไหล จากดานบนซึ่งใชหายใจ (Breathing Zone) ลงสูดานลาง สําหรับหองแยกผูปวยติดเชื้อ (Infectious Isolation Room) ควร จายลมจากเพดานทางดานประตูทางเขาหอง และติดตั้งชองลมกลับที่ระดับใกลพื้นทางดานหลังเตียงผูปวย เพื่อใหอากาศ สะอาดไหลจากทางดานผูเขาเยี่ยมหรือเจาหนาที่ผานตัวผูปวยและถูกระบายอออกไป (CDC 1994) ขอบดานลางของชอง ลมกลับควรอยูสูงจากพื้นอยางนอย 75 มม. แนวคิดการใชการไหลแบบลามินาร (Laminar Airflow) ของหองสะอาดในอุตสาหกรรม ทั้งแบบแนวตั้งและแนวนอน ก็เปน อีกรูปแบบหนึ่งของการกระจายลมที่นาสนใจสําหรับหองสะอาดในโรงพยาบาล คําจํากัดความของการไหลแบบลามินาร คือ การไหลของอากาศไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อมีความเร็วลม ประมาณ 0.45 +/-0.1 เมตรตอวินาที (90 +/-20 ฟุตตอนาที) รูปที่ 1 จํานวนแบคทีเรียในหองผาตัดและหองขางเคียง
  • 7. ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 7 บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด ระบบการไหลแบบลามินารจะมีประโยชนสําหรับหองผูปวยที่มีโอกาสติดเชื้อสูง เชน ผูปวยแผลไหมอยางรุนแรง, ผูปวยที่ได รับการรักษาดวยรังสี, ผูปวยที่ไดรับการเปลี่ยนถายอวัยวะ, ผูปวยที่ไดรับการตัดอวัยวะ และผูปวยที่ไดรับการเปลี่ยนไขขอ 6. ความสัมพันธของความดันและการระบายอากาศ (Pressure Relationship and Ventilation) ตารางที่ 3 แสดงมาตรฐานการระบายอากาศสําหรับความสบาย, ความสะอาด และการควบคุมกลิ่นในพื้นที่สําคัญๆของโรง พยาบาลที่มีผลกระทบตอผูปวย ขอมูลในตารางที่ 3 เปนขอมูลของ American Society of Heating, Refrigerating and Air-conditioning Engineers (ASHRAE) ซึ่งอาจไมตรงกับขอมูลของ American Institute of Architect (AIA) ถาหากแตละ โรงพยาบาลมีขอกําหนดเฉพาะเจาะจงลงไปอีกใหยึดถือตามขอกําหนดนั้นๆ สําหรับพื้นที่ที่ไมไดระบุไวใหใชอัตราการ ระบายอากาศตามมาตรฐาน ASHRAE Standard 62 : Ventilation for Acceptable Indoor Air Quality ในบริเวณที่มีผู ปวยที่ตองการการดูแลเปนพิเศษ รวมถึง ผูปวยเปลี่ยนถายอวัยวะ, หนวยผูปวยแผลไฟไหม ควรมีการควบคุมคุณภาพ อากาศเพิ่มเติมใหเหมาะสม การออกแบบระบบปรับอากาศและระบายอากาศจะตองทําใหอากาศไหลจากบริเวณที่สะอาดมากไปสูบริเวณที่สะอาดนอย ใหมากที่สุด ในพื้นที่ที่มีความสําคัญควรใชระบบปริมาณอากาศคงที่ (Constant Air Volume) เพื่อใหแนใจวาสามารถรักษา ความสัมพันธของความดันที่ถูกตองไวได สําหรับพื้นที่ที่ไมมีความสําคัญหรือหัองของเจาหนาที่สามารถใชระบบปริมาณ อากาศแปรเปลี่ยน (Variable Air Volume)เพื่อชวยในการประหยัดพลังงานได การใชระบบปริมาณอากาศแปรเปลี่ยนใน โรงพยาบาลจะตองระมัดระวังวามีอัตราการเติมอากาศจากภายนอก (Outdoor Air) เพียงพอตามมาตรฐานกําหนด และ ตองรักษาความสัมพันธของความดันระหวางพื้นที่หรือแผนกตางๆไดในระดับที่เหมาะสม ในตารางที่ 3 พื้นที่ทําตองการการ ควบคุมความดันอยางตอเนื่องจะแสดงดวยสัญลักษณ P, N และ E โดยมีความหมายวา ความดันเปนบวก(Positive Pressure), ความดันเปนลบ (Negative Pressure) และ ความดันเทากัน (Equal Pressure) ตามลําดับ สวนหองที่ไม ตองการการควบคุมความดันอยางตอเนื่องจะแสดงดวยสัญลักษณ ± อัตราการหมุนเวียนของลมอาจลดลงเหลือ 25% ของปริมาตรหองตอชั่วโมง (Air Change per Hour) ที่ระบุในตารางไดเมื่อ หองไมไดใชงาน (Unoccupied) หากมีการเตรียมให (1) สามารถปรับไปใชอัตราการหมุนเวียนตามที่ระบุในตารางไดเมื่อมี การใชงานหอง (2) สามารถรักษาความสัมพันธของความดันกับหองขางเคียงไดตามที่ตองการ ในพื้นที่ที่ไมตองการควบคุมทิศทางการระบายอากาศอยางตอเนื่อง (±) สามารถปดระบบปรับอากาศและระบายอากาศ เมื่อไมมีการใชงานหองได เพื่อการประหยัดพลังงานใหมากที่สุด ควรใชระบบอากาศหมุนเวียน (Recirculating Air System) มากกวาระบบอากาศ จากภายนอกทั้งหมด (All Outdoor Air System) ในกรณีที่ใชระบบอากาศจากภายนอกทั้งหมดควรพิจารณาติดตั้งอุปกรณ แลกเปลี่ยนความรอนอากาศ (Air-to-Air Heat Exchanger)
  • 8. ระบบปรับอากาศสําหรับโรงพยาบาล หนา 8 บริษัท เอ็นไวรอนเมนตอล เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนส จํากัด 7. ระบบควบคุมควัน ระบบควบคุมควันควรไดรับการพิจารณาออกแบบไปพรอมๆกับระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ระบบควบคุมควัน แบบ Passive ใชออกแบบใหมีการระบบปดกั้นไฟและควันไฟ รวมกับระบบสั่งหยุดพัดลมโดยอัตโนมัติ ระบบควบคุมควันแบบ Active ใชระบบปรับอากาศและระบายอากาศสรางความดันเปนบวกและลบ รวมกับผนังกันไฟและ ควันไฟซึ่งทําหนาที่จํากัดการแพรของไฟและควันไฟ การออกแบบระบบควบคุมควันควรอางอิงจาก NFPA (National Fire Protection Association) Standard 90A, 92A, 92B, 99 และ 101 เอกสารอางอิง 1999 ASHRAE Application Handbook, American Society of Heating, Refrigerating and Air-conditioning Engineers แหลงขอมูลเพิ่มเติม www.cdc.gov : Center for Disease Control and Prevention, USA www.osha.gov : Occupational Safety and Health Administration, USA www.infectioncontroltoday.com : Online magazine, USA www.ashrae.org : American Society of Heating, Refrigerating, and Air-conditioning Engineers, USA www.nfpa.org : National Fire Protection Association, USA. www.acat.or.th : Air-conditioning Engineering Association of Thailand www.ashraethailand.org : ASHRAE Thailand Chapter www.thaihvac.com : HVAC engineering information website